ปริยัติ | (ปะริยัด) น. การเล่าเรียนพระไตรปิฎก. |
ปริยัติธรรม | (ปะริยัดติทำ) น. ธรรมที่จะต้องเล่าเรียนได้แก่พระไตรปิฎก. |
คันถธุระ | น. การเรียนคัมภีร์ปริยัติ, คู่กับ วิปัสสนาธุระ การเรียนวิปัสสนา. |
เปรียญ | (ปะเรียน) น. ผู้สอบความรู้พระปริยัติธรรมสายบาลีได้ตามหลักสูตรตั้งแต่ ๓ ประโยคขึ้นไป. |
แม่กองธรรมสนามหลวง | น. พระเถระผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการสอบไล่พระปริยัติธรรม แผนกนักธรรมและธรรมศึกษาของคณะสงฆ์. |
แม่กองบาลีสนามหลวง | น. พระเถระผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการสอบไล่พระปริยัติธรรม แผนกบาลีของคณะสงฆ์. |
วิปัสสนาธุระ | น. การเรียนวิปัสสนา, คู่กับ คันถธุระ การเรียนคัมภีร์ปริยัติ. |
สนามวัด | น. สถานที่ที่สำนักเรียนพระปริยัติธรรมแต่ละสำนักได้กำหนดให้เป็นที่ทดสอบบาลีก่อนที่จะส่งเข้าสอบบาลีสนามหลวง. |
สร้อย ๓ | คำที่เติมหรือประกอบคำอื่นเพื่อให้ไพเราะหรือเต็มความ เช่น เสื้อแสง หนังสือหนังหา, คำต่อท้ายราชทินนาม เช่น พระราชปัญญาสุธี ศรีปริยัติธาดา มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี เจ้าพระยาอภัยราชาสยามานุกูลกิจ สกลนิติธรรมศาสตราจารย์ มหิบาลมหาสวามิภักดิ์ ปรมัคราชมนตรีอภัยพิริยปรากรมพาหุ. |
สิกขา | การศึกษา, การเล่าเรียน, เช่น ปริยัติสิกขา ปฏิบัติสิกขา. |
ปริยัติ | (ปะริยัด) น. การเล่าเรียนพระไตรปิฎก. |
ปริยัติธรรม | (ปะริยัดติทำ) น. ธรรมที่จะต้องเล่าเรียนได้แก่พระไตรปิฎก. |
คันถธุระ | น. การเรียนคัมภีร์ปริยัติ, คู่กับ วิปัสสนาธุระ การเรียนวิปัสสนา. |
เปรียญ | (ปะเรียน) น. ผู้สอบความรู้พระปริยัติธรรมสายบาลีได้ตามหลักสูตรตั้งแต่ ๓ ประโยคขึ้นไป. |
แม่กองธรรมสนามหลวง | น. พระเถระผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการสอบไล่พระปริยัติธรรม แผนกนักธรรมและธรรมศึกษาของคณะสงฆ์. |
แม่กองบาลีสนามหลวง | น. พระเถระผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการสอบไล่พระปริยัติธรรม แผนกบาลีของคณะสงฆ์. |
วิปัสสนาธุระ | น. การเรียนวิปัสสนา, คู่กับ คันถธุระ การเรียนคัมภีร์ปริยัติ. |
สนามวัด | น. สถานที่ที่สำนักเรียนพระปริยัติธรรมแต่ละสำนักได้กำหนดให้เป็นที่ทดสอบบาลีก่อนที่จะส่งเข้าสอบบาลีสนามหลวง. |
สร้อย ๓ | คำที่เติมหรือประกอบคำอื่นเพื่อให้ไพเราะหรือเต็มความ เช่น เสื้อแสง หนังสือหนังหา, คำต่อท้ายราชทินนาม เช่น พระราชปัญญาสุธี ศรีปริยัติธาดา มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี เจ้าพระยาอภัยราชาสยามานุกูลกิจ สกลนิติธรรมศาสตราจารย์ มหิบาลมหาสวามิภักดิ์ ปรมัคราชมนตรีอภัยพิริยปรากรมพาหุ. |
สิกขา | การศึกษา, การเล่าเรียน, เช่น ปริยัติสิกขา ปฏิบัติสิกขา. |