ปัฏ | (ปัด) น. ผืนผ้า, แผ่นผ้า. |
ปัฏนะ | (ปัดตะนะ) น. ท่าเรือ. |
สติปัฏฐาน | น. ชื่อธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งสติ ๔ อย่าง คือ กาย เวทนา จิต ธรรม. |
อุปัฏฐาก | (อุปัดถาก, อุบปัดถาก) น. ผู้อุปถัมภ์บำรุงพระภิกษุสามเณร, ถ้าเป็นหญิงใช้ อุปัฏฐายิกา. |
อุปัฏฐานะ | (อุปัด-, อุบปัด-) น. การบำรุง, การรับใช้. |
จิตตานุปัสสนา | น. การพิจารณาจิตเป็นอารมณ์เป็นข้อ ๑ ในสติปัฏฐาน ๔. |
ฐายี | ว. ตั้งอยู่, ดำรงอยู่, มักประกอบท้ายศัพท์ เช่น กัปปัฏฐายี ว่า ตั้งอยู่กัปหนึ่ง. |
นิยยานิก- | (นิยะยานิกะ-) ว. ที่นำออกไปจากทุกข์ เช่น มหาสติปัฏฐานสูตรเป็นนิยยานิกธรรม คือ ธรรมที่นำสัตว์ออกจากทุกข์. |
โยม | เรียกผู้ที่แสดงตนเป็นผู้อุปการะพระภิกษุสามเณรโดยเจาะจง ว่า โยมอุปัฏฐาก |
อภิธรรม | (อะพิทำ) น. ชื่อธรรมะชั้นสูง มี ๗ คัมภีร์ ได้แก่ ๑. สังคณี ๒. วิภังค์ ๓. ธาตุกถา ๔. ปุคคลบัญญัติ ๕. กถาวัตถุ ๖. ยมก ๗. ปัฏฐาน นิยมใช้สวดในงานศพ. |
อิริยาบถ | น. อาการที่ร่างกายอยู่ในท่าใดท่าหนึ่ง เช่น วิ่ง กระโดด เดิน ยืน นั่ง นอน, ถ้าตามมหาสติปัฏฐานสูตร กำหนดไว้ ๔ อย่าง คือ เดิน ยืน นั่ง นอน. |
ปัฏ | (ปัด) น. ผืนผ้า, แผ่นผ้า. |
ปัฏนะ | (ปัดตะนะ) น. ท่าเรือ. |
สติปัฏฐาน | น. ชื่อธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งสติ ๔ อย่าง คือ กาย เวทนา จิต ธรรม. |
อุปัฏฐาก | (อุปัดถาก, อุบปัดถาก) น. ผู้อุปถัมภ์บำรุงพระภิกษุสามเณร, ถ้าเป็นหญิงใช้ อุปัฏฐายิกา. |
อุปัฏฐานะ | (อุปัด-, อุบปัด-) น. การบำรุง, การรับใช้. |
จิตตานุปัสสนา | น. การพิจารณาจิตเป็นอารมณ์เป็นข้อ ๑ ในสติปัฏฐาน ๔. |
ฐายี | ว. ตั้งอยู่, ดำรงอยู่, มักประกอบท้ายศัพท์ เช่น กัปปัฏฐายี ว่า ตั้งอยู่กัปหนึ่ง. |
นิยยานิก- | (นิยะยานิกะ-) ว. ที่นำออกไปจากทุกข์ เช่น มหาสติปัฏฐานสูตรเป็นนิยยานิกธรรม คือ ธรรมที่นำสัตว์ออกจากทุกข์. |
โยม | เรียกผู้ที่แสดงตนเป็นผู้อุปการะพระภิกษุสามเณรโดยเจาะจง ว่า โยมอุปัฏฐาก |
อภิธรรม | (อะพิทำ) น. ชื่อธรรมะชั้นสูง มี ๗ คัมภีร์ ได้แก่ ๑. สังคณี ๒. วิภังค์ ๓. ธาตุกถา ๔. ปุคคลบัญญัติ ๕. กถาวัตถุ ๖. ยมก ๗. ปัฏฐาน นิยมใช้สวดในงานศพ. |
อิริยาบถ | น. อาการที่ร่างกายอยู่ในท่าใดท่าหนึ่ง เช่น วิ่ง กระโดด เดิน ยืน นั่ง นอน, ถ้าตามมหาสติปัฏฐานสูตร กำหนดไว้ ๔ อย่าง คือ เดิน ยืน นั่ง นอน. |