ยง ๑ | ว. อร่ามเรือง, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น โฉมยง ยุพยง. |
เกรียง ๑ | (เกฺรียง) น. เครื่องมือสำหรับใช้ในการถือปูน ทำด้วยไม้หรือเหล็กเป็นรูปแบน ๆ. |
เกลี้ยง ๑ | (เกฺลี้ยง) ว. เรียบ ๆ ไม่ขรุขระหรือไม่มีลวดลาย |
เกลี้ยง ๑ | หมดไม่มีเหลือไม่มีอะไรติดอยู่ เช่น หมดเกลี้ยง กินเสียเกลี้ยง. |
เกาเหลียง ๑ | (-เหฺลียง) น. ชื่อเหล้าจีนชนิดหนึ่ง. |
เกี๋ยง ๑ | น. เดือนแรกของปีนับทางจันทรคติ คือ เดือนอ้าย. |
แขยง ๑ | (ขะแหฺยง) น. ชื่อปลานํ้าจืดแทบทุกชนิดในวงศ์ Bagridae มีตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ ยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร ไม่มีเกล็ด มีหนวดยาว ๔ คู่ ส่วนหน้าสุดของครีบหลังตอนแรกและครีบอกมีก้านครีบแข็ง ๑ ก้าน หยักเป็นหนามคม ถัดไปเป็นก้านครีบอ่อน ส่วนครีบท้องตอนที่ ๒ เป็นครีบไขมันลักษณะเป็นแผ่นเนื้อขนาดเล็กหรือใหญ่ขึ้นกับชนิดของปลา ครีบก้นสั้น รูปร่างคล้ายปลากดแต่มีขนาดเล็กกว่า เช่น แขยงหินหรือกดหิน ( Pseudomystus siamensis Regan) แขยงใบข้าว [ Mystus cavasius (Hamilton-Buchanan) ] แขยงธงหรือแขยงหมู ( M. bocourti Bleeker) แขยงวังหรือแขยงหนู ( Bagrichthys obscures Bleeker). |
เงี่ยง ๑ | น. กระดูกแหลมของปลาบางชนิด เช่น ปลากระเบนมีเงี่ยงที่โคนหาง หรือปลาดุกมีเงี่ยงที่ครีบอก, แง่ของสิ่งของบางอย่าง มีรูปหยักตอนปลายเช่นเบ็ดหรือลูกศร. |
เฉียง ๑ | ว. เฉหรือเบี่ยงจากแนวไปทางใดทางหนึ่ง เช่น เฉียงเหนือ เฉียงใต้ ห่มสไบเฉียง. |
เดียง ๑ | ก. รู้ เช่น ผู้ยิ่งญาติอยู่กลใด มากูจะไปให้ดลเดียงถนัด น่อยหนึ่งเทอญ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). |
ตะเกียง ๑ | น. เครื่องใช้สำหรับตามไฟ มีไส้ซึ่งหล่อน้ำมันก๊าดหรือน้ำมันมะพร้าว มีรูปร่างต่าง ๆ ส่วนมากมีหลอดหรือโป๊ะบังลม, ลักษณนามว่า ดวง. |
เถียง ๑ | ก. พูดโต้, พูดแย้ง, พูดโต้แย้ง |
เถียง ๑ | ขัดกัน เช่น เรื่องนี้ความตอนต้นกับตอนปลายเถียงกัน. |
เนียง ๑ | น. นาง (ออกเสียงตามเขมรที่เขียนว่า นาง). |
เปรียง ๑ | (เปฺรียง) น. นมส้มผสมนํ้าแล้วเจียวให้แตกมัน จัดเป็นโครสอย่างหนึ่งในจำนวน ๕ อย่าง. |
พะเนียง ๑ | น. ดอกไม้ไฟชนิดหนึ่ง ทำด้วยกระบอกไม้ไผ่บรรจุดินดำ ใช้ตั้งจุดไฟให้ลุกเป็นช่องาม เรียกว่า ไฟพะเนียง. |
เพรียง ๑ | (เพฺรียง) น. ส่วนร่างกายที่นูนอยู่หลังหู, มักใช้ว่า เพรียงหู |
เพรียง ๑ | เรียกผิวหนังที่ขรุขระอย่างหน้าออกฝี ว่า มีลักษณะเป็นเพรียง. |
เพรียง ๑ | (เพฺรียง) ว. พร้อม, มักใช้คู่กันว่า พร้อมเพรียง. |
เมี่ยง ๑ | น. ชื่อต้นไม้ขนาดเล็กชนิด Camellia sinensis (L.) Kuntze var. assamica (Mast.) Kitam ในวงศ์ Theaceae ขึ้นตามเขาในภาคเหนือเขตร้อน ใบนำมาหมักใช้เคี้ยวหรืออม. |
แยง ๑ | ก. แหย่เข้าไปในช่องหรือในรู เช่น เอาขนไก่แยงหู, สอดดู, แลดู. |
โยง ๑ | ก. ผูกให้ต่อเนื่องกัน เช่น โยงมงคลคู่แต่งงาน, ผูกให้ต่อเนื่องกันเพื่อลากหรือจูงไป เช่น โยงเรือ, แขวนให้ห้อยอยู่เหนือพื้น เช่น โยงแป้งขนมจีน |
โยง ๑ | เกี่ยวเนื่อง เช่น ให้การโยงไปถึงอีกคนหนึ่ง. |
โยง ๑ | ว. เรียกอาการที่มัดมือ ๒ ข้างแขวนขึ้นไปให้เท้าเรี่ย ๆ พื้น ว่า มัดมือโยง, เรียกอาการที่อยู่ประจำแต่ผู้เดียว ผู้อื่นไม่ต้องอยู่ ว่า อยู่โยง, เรียกเรือสำหรับลากจูงเรืออื่น ว่า เรือโยง และเรียกเรือที่ผูกลากตามเรือโยงที่ลากจูงไปนั้น ว่า เรือพ่วง. |
เลียง ๑ | น. ชื่อแกงชนิดหนึ่ง ใส่ผักต่าง ๆ เช่น ตำลึง บวบ น้ำเต้า หัวปลี ยอดฟักทอง ปรุงด้วยหัวหอม พริกไทย กะปิ ตำกับกุ้งแห้งหรือปลาย่าง บางทีก็มีกระชายด้วย ใส่ใบแมงลักให้มีกลิ่นหอม. |
เลียง ๑ | ก. กิริยาที่แกงเช่นนั้น เช่น วันนี้จะเลียงน้ำเต้า. |
เวียง ๑ | น. เมืองที่มีกำแพงล้อม. |
เสี่ยง ๑ | น. ส่วนย่อยที่แตกออกจากส่วนใหญ่ เช่น เขาทำแจกันตกแตกเป็นหลายเสี่ยง. |
กระไร | ว. อะไร เช่น เขาไม่ว่ากระไร, อย่างไร เช่น จะทำกระไรดี, เท่าไร เช่น ถูกปรับเพียง ๑๐๐ บาทก็ไม่กระไรนัก, ทำไม, ไฉน, เช่น ข้าแต่นเรศูรสมเด็จพระบิดาเจ้าข้าเอ่ย กระไรเลยไม่ปรานี (ม. ร่ายยาว กุมาร). |
กลียุค | (กะลี-) น. ชื่อยุคที่ ๔ ของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้ธรรมะของมนุษย์ลดลงเหลือเพียง ๑ ใน ๔ ส่วน เมื่อเทียบกับในสมัยกฤดายุค และอายุของมนุษย์ก็สั้นลงโดยไม่มีกำหนดเวลาแน่นอน (ดู จตุรยุค), ช่วงเวลาที่มีแต่ความรุนแรงเลวร้ายเกิดขึ้น . |
แขยงหนู | (ขะแหฺยง-) น. ชื่อปลาแขยงชนิดหนึ่ง, แขยงวัง ก็เรียก. (ดู แขยง ๑). |
คริปทอน | น. ธาตุลำดับที่ ๓๖ สัญลักษณ์ Kr เป็นแก๊สเฉื่อย มีปรากฏเพียง ๑ ใน ๖๗๐, ๐๐๐ ส่วนในบรรยากาศ. |
นีออน | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐ สัญลักษณ์ Ne เป็นแก๊สเฉื่อย มีปรากฏเพียง ๑ ใน ๕๕, ๐๐๐ ส่วนในบรรยากาศ. (อ. neon) |
มาตราพฤติ | น. ฉันท์ที่กำหนดด้วยมาตรา คือ กำหนดคำในฉันท์แต่ละคำเป็นมาตราส่วน เช่น คำครุ กำหนดเป็นความยาวของเสียง ๒ มาตรา คำลหุ กำหนดเป็นความยาวของเสียง ๑ มาตรา. |
ยี่สน | น. ชื่อปลากระเบนทะเลชนิด Aetobatus narinari (Euphrasen) ในวงศ์ Myliobatidae ผิวหนังเรียบ ใกล้โคนหางด้านบนมีเงี่ยง ๑-๔ เงี่ยง เรียงอยู่ชิดกัน ด้านหลังสีดำมีจุดสีขาวกระจายอยู่ส่วนท้าย ด้านท้องสีขาว ขนาดกว้างได้ถึง ๔ เมตร, กระเบนเนื้อดำ ก็เรียก. |
ฮีเลียม | น. ธาตุลำดับที่ ๒ สัญลักษณ์ He เป็นแก๊สเฉื่อย มีปรากฏเพียง ๑ ใน ๒๐๐, ๐๐๐ ส่วนในบรรยากาศ. |
เกรียง ๑ | (เกฺรียง) น. เครื่องมือสำหรับใช้ในการถือปูน ทำด้วยไม้หรือเหล็กเป็นรูปแบน ๆ. |
เกลี้ยง ๑ | (เกฺลี้ยง) ว. เรียบ ๆ ไม่ขรุขระหรือไม่มีลวดลาย |
เกลี้ยง ๑ | หมดไม่มีเหลือไม่มีอะไรติดอยู่ เช่น หมดเกลี้ยง กินเสียเกลี้ยง. |
เกาเหลียง ๑ | (-เหฺลียง) น. ชื่อเหล้าจีนชนิดหนึ่ง. |
เกี๋ยง ๑ | น. เดือนแรกของปีนับทางจันทรคติ คือ เดือนอ้าย. |
แขยง ๑ | (ขะแหฺยง) น. ชื่อปลานํ้าจืดแทบทุกชนิดในวงศ์ Bagridae มีตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ ยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร ไม่มีเกล็ด มีหนวดยาว ๔ คู่ ส่วนหน้าสุดของครีบหลังตอนแรกและครีบอกมีก้านครีบแข็ง ๑ ก้าน หยักเป็นหนามคม ถัดไปเป็นก้านครีบอ่อน ส่วนครีบท้องตอนที่ ๒ เป็นครีบไขมันลักษณะเป็นแผ่นเนื้อขนาดเล็กหรือใหญ่ขึ้นกับชนิดของปลา ครีบก้นสั้น รูปร่างคล้ายปลากดแต่มีขนาดเล็กกว่า เช่น แขยงหินหรือกดหิน ( Pseudomystus siamensis Regan) แขยงใบข้าว [ Mystus cavasius (Hamilton-Buchanan) ] แขยงธงหรือแขยงหมู ( M. bocourti Bleeker) แขยงวังหรือแขยงหนู ( Bagrichthys obscures Bleeker). |
เงี่ยง ๑ | น. กระดูกแหลมของปลาบางชนิด เช่น ปลากระเบนมีเงี่ยงที่โคนหาง หรือปลาดุกมีเงี่ยงที่ครีบอก, แง่ของสิ่งของบางอย่าง มีรูปหยักตอนปลายเช่นเบ็ดหรือลูกศร. |
เฉียง ๑ | ว. เฉหรือเบี่ยงจากแนวไปทางใดทางหนึ่ง เช่น เฉียงเหนือ เฉียงใต้ ห่มสไบเฉียง. |
เดียง ๑ | ก. รู้ เช่น ผู้ยิ่งญาติอยู่กลใด มากูจะไปให้ดลเดียงถนัด น่อยหนึ่งเทอญ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). |
ตะเกียง ๑ | น. เครื่องใช้สำหรับตามไฟ มีไส้ซึ่งหล่อน้ำมันก๊าดหรือน้ำมันมะพร้าว มีรูปร่างต่าง ๆ ส่วนมากมีหลอดหรือโป๊ะบังลม, ลักษณนามว่า ดวง. |
เถียง ๑ | ก. พูดโต้, พูดแย้ง, พูดโต้แย้ง |
เถียง ๑ | ขัดกัน เช่น เรื่องนี้ความตอนต้นกับตอนปลายเถียงกัน. |
เนียง ๑ | น. นาง (ออกเสียงตามเขมรที่เขียนว่า นาง). |
เปรียง ๑ | (เปฺรียง) น. นมส้มผสมนํ้าแล้วเจียวให้แตกมัน จัดเป็นโครสอย่างหนึ่งในจำนวน ๕ อย่าง. |
พะเนียง ๑ | น. ดอกไม้ไฟชนิดหนึ่ง ทำด้วยกระบอกไม้ไผ่บรรจุดินดำ ใช้ตั้งจุดไฟให้ลุกเป็นช่องาม เรียกว่า ไฟพะเนียง. |
เพรียง ๑ | (เพฺรียง) น. ส่วนร่างกายที่นูนอยู่หลังหู, มักใช้ว่า เพรียงหู |
เพรียง ๑ | เรียกผิวหนังที่ขรุขระอย่างหน้าออกฝี ว่า มีลักษณะเป็นเพรียง. |
เพรียง ๑ | (เพฺรียง) ว. พร้อม, มักใช้คู่กันว่า พร้อมเพรียง. |
เมี่ยง ๑ | น. ชื่อต้นไม้ขนาดเล็กชนิด Camellia sinensis (L.) Kuntze var. assamica (Mast.) Kitam ในวงศ์ Theaceae ขึ้นตามเขาในภาคเหนือเขตร้อน ใบนำมาหมักใช้เคี้ยวหรืออม. |
ยง ๑ | ว. อร่ามเรือง, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น โฉมยง ยุพยง. |
แยง ๑ | ก. แหย่เข้าไปในช่องหรือในรู เช่น เอาขนไก่แยงหู, สอดดู, แลดู. |
โยง ๑ | ก. ผูกให้ต่อเนื่องกัน เช่น โยงมงคลคู่แต่งงาน, ผูกให้ต่อเนื่องกันเพื่อลากหรือจูงไป เช่น โยงเรือ, แขวนให้ห้อยอยู่เหนือพื้น เช่น โยงแป้งขนมจีน |
โยง ๑ | เกี่ยวเนื่อง เช่น ให้การโยงไปถึงอีกคนหนึ่ง. |
โยง ๑ | ว. เรียกอาการที่มัดมือ ๒ ข้างแขวนขึ้นไปให้เท้าเรี่ย ๆ พื้น ว่า มัดมือโยง, เรียกอาการที่อยู่ประจำแต่ผู้เดียว ผู้อื่นไม่ต้องอยู่ ว่า อยู่โยง, เรียกเรือสำหรับลากจูงเรืออื่น ว่า เรือโยง และเรียกเรือที่ผูกลากตามเรือโยงที่ลากจูงไปนั้น ว่า เรือพ่วง. |
เลียง ๑ | น. ชื่อแกงชนิดหนึ่ง ใส่ผักต่าง ๆ เช่น ตำลึง บวบ น้ำเต้า หัวปลี ยอดฟักทอง ปรุงด้วยหัวหอม พริกไทย กะปิ ตำกับกุ้งแห้งหรือปลาย่าง บางทีก็มีกระชายด้วย ใส่ใบแมงลักให้มีกลิ่นหอม. |
เลียง ๑ | ก. กิริยาที่แกงเช่นนั้น เช่น วันนี้จะเลียงน้ำเต้า. |
เวียง ๑ | น. เมืองที่มีกำแพงล้อม. |
เสี่ยง ๑ | น. ส่วนย่อยที่แตกออกจากส่วนใหญ่ เช่น เขาทำแจกันตกแตกเป็นหลายเสี่ยง. |
กระไร | ว. อะไร เช่น เขาไม่ว่ากระไร, อย่างไร เช่น จะทำกระไรดี, เท่าไร เช่น ถูกปรับเพียง ๑๐๐ บาทก็ไม่กระไรนัก, ทำไม, ไฉน, เช่น ข้าแต่นเรศูรสมเด็จพระบิดาเจ้าข้าเอ่ย กระไรเลยไม่ปรานี (ม. ร่ายยาว กุมาร). |
กลียุค | (กะลี-) น. ชื่อยุคที่ ๔ ของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้ธรรมะของมนุษย์ลดลงเหลือเพียง ๑ ใน ๔ ส่วน เมื่อเทียบกับในสมัยกฤดายุค และอายุของมนุษย์ก็สั้นลงโดยไม่มีกำหนดเวลาแน่นอน (ดู จตุรยุค), ช่วงเวลาที่มีแต่ความรุนแรงเลวร้ายเกิดขึ้น . |
แขยงหนู | (ขะแหฺยง-) น. ชื่อปลาแขยงชนิดหนึ่ง, แขยงวัง ก็เรียก. (ดู แขยง ๑). |
คริปทอน | น. ธาตุลำดับที่ ๓๖ สัญลักษณ์ Kr เป็นแก๊สเฉื่อย มีปรากฏเพียง ๑ ใน ๖๗๐, ๐๐๐ ส่วนในบรรยากาศ. |
นีออน | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐ สัญลักษณ์ Ne เป็นแก๊สเฉื่อย มีปรากฏเพียง ๑ ใน ๕๕, ๐๐๐ ส่วนในบรรยากาศ. (อ. neon) |
มาตราพฤติ | น. ฉันท์ที่กำหนดด้วยมาตรา คือ กำหนดคำในฉันท์แต่ละคำเป็นมาตราส่วน เช่น คำครุ กำหนดเป็นความยาวของเสียง ๒ มาตรา คำลหุ กำหนดเป็นความยาวของเสียง ๑ มาตรา. |
ยี่สน | น. ชื่อปลากระเบนทะเลชนิด Aetobatus narinari (Euphrasen) ในวงศ์ Myliobatidae ผิวหนังเรียบ ใกล้โคนหางด้านบนมีเงี่ยง ๑-๔ เงี่ยง เรียงอยู่ชิดกัน ด้านหลังสีดำมีจุดสีขาวกระจายอยู่ส่วนท้าย ด้านท้องสีขาว ขนาดกว้างได้ถึง ๔ เมตร, กระเบนเนื้อดำ ก็เรียก. |
ฮีเลียม | น. ธาตุลำดับที่ ๒ สัญลักษณ์ He เป็นแก๊สเฉื่อย มีปรากฏเพียง ๑ ใน ๒๐๐, ๐๐๐ ส่วนในบรรยากาศ. |