สมาทาน | (สะมา-) ก. รับเอาถือเอาเป็นข้อปฏิบัติ เช่น สมาทานศีล. |
ธุดงคสมาทาน | (ทุดงคะสะมาทาน) น. การถือธุดงค์. |
ปัจเจกสมาทาน | (ปัดเจกะสะมาทาน, ปัดเจกสะมาทาน) น. การสมาทานศีลทีละสิกขาบท เรียกว่า ปัจเจก-สมาทาน, ถ้าสมาทานรวบท้าย เช่นว่า พุทฺธปญฺตฺตํ อุโปสถํ สมาทิยามิ หรือ อฏฺ สีลานิ สมาทิยามิ เรียกว่า เอกัชฌสมาทาน. |
พรต | มรรยาท, เขตแห่งความประพฤติ, ธรรมเนียม, ประเพณี, การสมาทานหรือประพฤติตามลัทธิศาสนา, การจำศีล (เช่น การเว้นบริโภค เว้นเมถุนธรรม) |
พรต | การสมาทานบริโภคอาหารอย่างเดียวเป็นนิตย์ (เช่น มธุพรต คือ การสมาทานกินแต่นํ้าผึ้ง) |
รับศีล | ก. ถือศีล, สมาทานศีล. |
รุกขมูลิกธุดงค์ | (-มูลิกะ-) น. ธุดงค์อย่าง ๑ ใน ๑๓ อย่าง ที่ภิกษุจะต้องสมาทานว่าจะอยู่โคนต้นไม้เป็นประจำ. |
สามเณร | (สามมะเนน) น. ผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุ แต่สมาทานศีล ๑๐, เรียกสั้น ๆ ว่า เณร. |
ให้ศีล | ก. อาการที่พระภิกษุบอกศีลให้ผู้ศรัทธาสมาทานรับ เช่น ทุกคนควรสำรวมกิริยาเวลาพระให้ศีล. |
อาทาน | น. การถือเอา, การรับ, การยึดถือ, มักใช้เป็นส่วนท้ายศัพท์ เช่น อุปาทาน สมาทาน. |
ธุดงคสมาทาน | (ทุดงคะสะมาทาน) น. การถือธุดงค์. |
ปัจเจกสมาทาน | (ปัดเจกะสะมาทาน, ปัดเจกสะมาทาน) น. การสมาทานศีลทีละสิกขาบท เรียกว่า ปัจเจก-สมาทาน, ถ้าสมาทานรวบท้าย เช่นว่า พุทฺธปญฺตฺตํ อุโปสถํ สมาทิยามิ หรือ อฏฺ สีลานิ สมาทิยามิ เรียกว่า เอกัชฌสมาทาน. |
สมาทาน | (สะมา-) ก. รับเอาถือเอาเป็นข้อปฏิบัติ เช่น สมาทานศีล. |
พรต | มรรยาท, เขตแห่งความประพฤติ, ธรรมเนียม, ประเพณี, การสมาทานหรือประพฤติตามลัทธิศาสนา, การจำศีล (เช่น การเว้นบริโภค เว้นเมถุนธรรม) |
พรต | การสมาทานบริโภคอาหารอย่างเดียวเป็นนิตย์ (เช่น มธุพรต คือ การสมาทานกินแต่นํ้าผึ้ง) |
รับศีล | ก. ถือศีล, สมาทานศีล. |
รุกขมูลิกธุดงค์ | (-มูลิกะ-) น. ธุดงค์อย่าง ๑ ใน ๑๓ อย่าง ที่ภิกษุจะต้องสมาทานว่าจะอยู่โคนต้นไม้เป็นประจำ. |
สามเณร | (สามมะเนน) น. ผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุ แต่สมาทานศีล ๑๐, เรียกสั้น ๆ ว่า เณร. |
ให้ศีล | ก. อาการที่พระภิกษุบอกศีลให้ผู้ศรัทธาสมาทานรับ เช่น ทุกคนควรสำรวมกิริยาเวลาพระให้ศีล. |
อาทาน | น. การถือเอา, การรับ, การยึดถือ, มักใช้เป็นส่วนท้ายศัพท์ เช่น อุปาทาน สมาทาน. |