สินธุ์ | น. ลำน้ำ, แม่น้ำ, สายน้ำ, น้ำ, ทะเล, มหาสมุทร, เช่น เหาะข้ามสินธุ์ไปยังขุนยุคุนธร (สมบัติอัมรินทร์), สุวรรณหงส์เหินเห็จฟ้า ชมสินธุ์ (พยุหยาตรา), ใช้ว่า สินธุ หรือ สินธู ก็มี. |
ชลาสินธุ์ | น. ห้วงน้ำ เช่น ข้าเป็นไรแทรกขนสุบรรณบิน เร็วรีบยิ่งมหาวายุพัด กวักกวัดปีกข้ามชลาสินธุ์ (กากี), สายน้ำ เช่น พระเหลือบเล็งชลาสินธุ์ ในวารินทะเลวน ก็เห็นรูปอสุรกล ซึ่งกลายแกล้งเป็นสีดา (พากย์นางลอย). |
ชลาสินธุ์ | ดู ชล, ชล-. |
นภสินธุ์ | (นบพะ-) น. แม่นํ้าคงคา, แม่นํ้าในฟ้า คือ ทางช้างเผือกในตำราดาว. |
กราว ๑ | (กฺราว) น. ตะพาบนํ้า เช่น ตัวกราวมีกริวพ่นชลสินธุ์. (ดู ตะพาบ ๑, ตะพาบนํ้า). |
ฉ่า ๑ | เสียงนํ้าดังเช่นนั้น เช่น พรายสายชลฉ่าเพียง สินธุ์สวรรค์ (เฉลิมพระเกียรติพระนารายณ์). |
เตือนตา | ก. ชวนดู เช่น สุวรรณหงส์ทรงภู่ห้อย งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์ เพียงหงส์ทรงพรหมินทร์ ลินลาศเลื่อนเตือนตาชม (กาพย์เห่เรือ). |
เรือพิฆาต ๑ | น. เรือหลวงสมัยโบราณ ทำหน้าที่ลาดตระเวนนำไปข้างหน้ากระบวนเรือเสด็จพระราชดำเนินทางชลมารค และอยู่ท้ายกระบวนคอยถวายอารักขา กระบวนหนึ่งมีหลายลำ เช่น เรือมังกรจำแลง เรือมังกรแผลงฤทธิ์ เรือเหราล่องลอยสินธุ์. |
สินธุ | น. ลำนํ้า, แม่นํ้า, สายนํ้า, นํ้า, ทะเล, มหาสมุทร, ใช้ว่า สินธุ์ หรือ สินธู ก็มี |
สินธู | น. ลำน้ำ, แม่น้ำ, สายน้ำ, น้ำ, ทะเล, มหาสมุทร, เช่น มังกรเกี่ยวเลี้ยวล่องท้องสินธู เป็นคู่คู่เคียงมาในวารี (อภัย), สินสมุทรสุดรักพระธิดา เอาใส่บ่าแบกวายสายสินธู (อภัย), ใช้ว่า สินธุ หรือ สินธุ์ ก็มี. |
ชลาสินธุ์ | น. ห้วงน้ำ เช่น ข้าเป็นไรแทรกขนสุบรรณบิน เร็วรีบยิ่งมหาวายุพัด กวักกวัดปีกข้ามชลาสินธุ์ (กากี), สายน้ำ เช่น พระเหลือบเล็งชลาสินธุ์ ในวารินทะเลวน ก็เห็นรูปอสุรกล ซึ่งกลายแกล้งเป็นสีดา (พากย์นางลอย). |
ชลาสินธุ์ | ดู ชล, ชล-. |
นภสินธุ์ | (นบพะ-) น. แม่นํ้าคงคา, แม่นํ้าในฟ้า คือ ทางช้างเผือกในตำราดาว. |
สินธุ์ | น. ลำน้ำ, แม่น้ำ, สายน้ำ, น้ำ, ทะเล, มหาสมุทร, เช่น เหาะข้ามสินธุ์ไปยังขุนยุคุนธร (สมบัติอัมรินทร์), สุวรรณหงส์เหินเห็จฟ้า ชมสินธุ์ (พยุหยาตรา), ใช้ว่า สินธุ หรือ สินธู ก็มี. |
กราว ๑ | (กฺราว) น. ตะพาบนํ้า เช่น ตัวกราวมีกริวพ่นชลสินธุ์. (ดู ตะพาบ ๑, ตะพาบนํ้า). |
ฉ่า ๑ | เสียงนํ้าดังเช่นนั้น เช่น พรายสายชลฉ่าเพียง สินธุ์สวรรค์ (เฉลิมพระเกียรติพระนารายณ์). |
เตือนตา | ก. ชวนดู เช่น สุวรรณหงส์ทรงภู่ห้อย งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์ เพียงหงส์ทรงพรหมินทร์ ลินลาศเลื่อนเตือนตาชม (กาพย์เห่เรือ). |
เรือพิฆาต ๑ | น. เรือหลวงสมัยโบราณ ทำหน้าที่ลาดตระเวนนำไปข้างหน้ากระบวนเรือเสด็จพระราชดำเนินทางชลมารค และอยู่ท้ายกระบวนคอยถวายอารักขา กระบวนหนึ่งมีหลายลำ เช่น เรือมังกรจำแลง เรือมังกรแผลงฤทธิ์ เรือเหราล่องลอยสินธุ์. |
สินธุ | น. ลำนํ้า, แม่นํ้า, สายนํ้า, นํ้า, ทะเล, มหาสมุทร, ใช้ว่า สินธุ์ หรือ สินธู ก็มี |
สินธู | น. ลำน้ำ, แม่น้ำ, สายน้ำ, น้ำ, ทะเล, มหาสมุทร, เช่น มังกรเกี่ยวเลี้ยวล่องท้องสินธู เป็นคู่คู่เคียงมาในวารี (อภัย), สินสมุทรสุดรักพระธิดา เอาใส่บ่าแบกวายสายสินธู (อภัย), ใช้ว่า สินธุ หรือ สินธุ์ ก็มี. |