สุวาน | (n) dog, See also: bowwow, canine, hound, pooch, tyke, Syn. หมา, สุนัข, Count Unit: ตัว, Notes: (บาลี) |
สุวรรณ | (n) gold, Syn. ทอง, กาญจน์ |
สุวิมล | (adj) clear, See also: lucent, lucid, luculent, Syn. กระจ่าง, บริสุทธิ์, แจ่ม, ชัดเจน, Notes: (สันสกฤต) |
สุวินัย | (adj) teachable, See also: obedient, trainable, Thai Definition: ที่ว่านอนสอนง่ายหรือดัดนิสัยได้ง่าย, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
สุว- | (-วะ-) คำอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤตแปลว่า ดี, งาม, ง่าย, สำหรับเติมหน้าคำ เช่น สุวคนธ์. |
สุวภาพ | ว. สุภาพ. |
สุวรรณ, สุวรรณ- | (-วัน, -วันนะ-) น. ทอง. |
สุวรรณกระถอบ, สุวรรณกัญจน์ถอบ | น. แผ่นทองคำฉลุลายเป็นกิ่งต้นเครือวัลย์กระหนก สำหรับเสียบห้อยที่ชายพกลงมาในระหว่างช่องหน้าขาทั้ง ๒. |
สุวรรณภูมิ | (สุวันนะพูม) น. ดินแดนแหลมทองซึ่งเชื่อกันว่ามีอาณาบริเวณครอบคลุมพม่า ไทย ลาว เขมร เวียดนาม มาเลเซีย และสิงคโปร์. |
สุวะ | (-วะ) น. นกแขกเต้า. |
สุวาน | น. หมา. |
สุวินัย | ว. สอนง่าย, ว่าง่าย, ดัดง่าย. |
สุวิมล | ว. กระจ่างหรือบริสุทธิ์แท้. |
Suwannabhumi (Kingdom) | สุวรรณภูมิ (อาณาจักร) [TU Subject Heading] |
Suwannasamajataka | สุวรรณสามชาดก [TU Subject Heading] |
สุวรรณ | [suwan] (n) EN: gold FR: or [ m ] |
สุวรรณ | [suwan] (adj) EN: golden FR: doré ; d'or |
สุวรรณภูมิ | [Suwannaphūm] (n, prop) EN: Suvarnabhumi ; Suwannabhumi FR: Suvarnabhumi |
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |