ตรีพิธพรรณ | ชื่อโคลง ๔ ประเภทหนึ่งที่เลื่อนคำรับสัมผัสในบาทที่ ๒ จากคำที่ ๕ มาเป็นคำที่ ๓ ส่วนข้อบังคับอื่น ๆ เหมือนโคลงสี่สุภาพทุกประการ เช่น ข้าขอประณตน้อม กายวจี จิตนา ต่อพระตรีไตรรัตน์ โรจน์เรื้อง เป็นประทีปส่องศรี โลกชัชวาลนา กำจัดมืดมนธ์เปลื้อง สัตว์พ้นสงสาร (หลักภาษาไทยของพระยาอุปกิตศิลปสาร, ในจินดามณีเรียกตรีเพชรทัณฑี). |
สัมผัสอักษร | น. สัมผัสพยัญชนะที่มีเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดียวกัน เช่น จำใจจำจากเจ้า จำจร (ตะเลงพ่าย), คูนแคขิงข่าขึ้น เคียงคาง (หลักภาษาไทยของกำชัย ทองหล่อ). |
สุรางคนา ๒, สุรางคนางค์ | น. ชื่อกาพย์และฉันท์ มี ๒๘ คำ คือ มี ๗ วรรค วรรคละ ๔ คำ เช่น ตัวอย่างกาพย์
| (กฤษณา), | ตัวอย่างฉันท์ | | (หลักภาษาไทย), |
ถ้าเป็นกาพย์ขับไม้มี ๓๖ คำ เช่น
| (กาพย์ขับไม้ กล่อมพระเศวตรัตนกรีฯ). |
|