alma mater | (อาล' มะมา' เทอะ, แอล' มาเม' เทอะ) n. โรงเรียนเดิมที่เคยศึกษามาก่อน, เพลงประจำโรงเรียน |
anaplasty | (แอน' นะพลาสที) n. ศัยกรรมย้ายปะปลูกเนื้อเยื่อ, ภาวะการกลับไปสู่รูปแบบเดิมที่ด้อยกว่า, ภาวะที่เป็นมะเร็งมาก |
bank switching | การสลับชิปไปมาหมายถึง การสลับไปมาของการใช้ชิปในหน่วยความจำเดิมที่ติดมากับเครื่อง กับหน่วยความจำที่เพิ่มภายหลัง ที่สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว จนกระทั่งทำให้รู้สึกเสมือนว่า หน่วยความจำทั้งสองนั้นเป็นหน่วยความจำเดียวกัน เช่น บริษัทไอบีเอ็มผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกมาขายในตลาดโดยมีหน่วยความจำติดมาภายในตัวเครื่องเพียง 640 เคไบต์ แต่เรานำไปเพิ่มหน่วยความจำเป็นถึง 16 เมกกะไบต์ การที่จะทำให้หน่วยความจำเดิมกับหน่วยความจำที่เพิ่มมาใหม่ทำงานสลับกันไปมาได้ ก็จะต้องอาศัยการสลับชิปไปมานี้ อย่างไรก็ตาม หากเราเป็นเพียงผู้ใช้เครื่อง (user) ก็ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องนี้เท่าไรนัก เป็นหน้าที่ของช่างฝ่ายเทคนิคที่จะต้องติดตั้งหรือจัดการทำให้ |
cobol | (โคบอล) ย่อมาจาก Common Business Oriented Language เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง แรกเริ่มเดิมที นิยมใช้ในการเขียนโปรแกรมสำหรับงานด้านธุรกิจ ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (mainframe) แต่ปัจจุบัน ได้รับการดัดแปลงให้ใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ภาษาโคบอลนี้ออกจะละม้ายคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษธรรมดาอยู่ค่อนข้างมาก ภาษานี้เป็นภาษาสากล ที่ยังมีคนนิยมใช้กันแพร่หลายจนถึงปัจจุบัน |
hot spot | จุดร้อนหมายถึง เนื้อที่บางส่วนบนจอภาพ ที่เมื่อกดเมาส์ลงไปแล้ว จะทำให้เกิดรายการอื่นขึ้นมา แทนที่จะเป็นเรื่องเดิมที่ทำอยู่ ตัวอย่าง เช่นในโปรแกรมประเภทใช้สื่อหลายแบบ (multimedia) หรือการเรียกเมนู Help หรือกดเรียกลูกโป่ง (balloon) มาให้คำอธิบายในเครื่องแมคอินทอช |
pentium | (เพนเทียม) หมายถึง ชิป (chip) แบบใหม่ล่าสุดที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์พีซี ผลิตโดยบริษัท Intel ชิปรุ่นนี้ทำงานได้เร็วกว่า และมีสมรรถนะสูงกว่ารุ่น 80486 มากมาย เดิมทีเดียว เขาจะใช้ชื่อ Intel 586 แต่เกี่ยวเนื่องด้วยเรื่องลิขสิทธิ์ ทำให้มิอาจใช้ชื่อนั้นได้จึงต้องตั้งชื่อใหม่ว่า pentium |
pristine | (พริส'ทีน) adj. เดิมที, แรกเริ่ม, เก่าแก่, ดึกดำบรรพ์, บริสุทธิ. |
structured programming | หมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีการแบ่งเป็นโปรแกรมย่อย (subprogram) หรือ โมดุล (module) หลาย ๆ อัน ทำให้เข้าใจได้ง่าย หลักการเขียนก็คือ แต่ละส่วนจะประกอบด้วยข้อคำสั่ง 3 ประเภท คือ กำหนดคำสั่งให้เรียงไปตามลำดับการทำงาน ที่เรียกว่า sequential มีคำสั่งให้เลือกทิศทางที่เรียกว่า conditional คือ มี IF-THEN-ELSE และมีการวนไปทำคำสั่งเดิมที่เรียกว่า loop คือมีคำสั่ง DO WHLE อย่างไรก็ตาม ถ้าไม่คิดจะเป็นนักเขียนโปรแกรม ก็อาจจะไม่รู้จักคำสั่งประเภทนี้ และก็ไม่จำเป็นต้องรู้จักโปรแกรมโครงสร้างด้วย |