ไม่ชัด | (adv) ambiguously, See also: vaguely, not clearly, indistinctly, Syn. ไม่ชัดเจน, Example: คนไทยบางคนพูดไทยไม่ชัดไม่รู้ว่าจงใจให้เหมือนฝรั่งหรือเปล่า, Thai Definition: ออกเสียงไม่ตรงตามเสียงนั้นเพราะเพี้ยนไป |
ไม่ชัด | (v) be not clear, See also: be indistinct, be vague, be ambiguous, Syn. ไม่ชัดเจน, Example: โทรทัศน์ไม่ชัดเลย เป็นที่เสาอากาศแน่ๆ, Thai Definition: มีภาพไม่แจ่มแจ้งเพราะมีสิ่งรบกวน, ไม่ปรากฏชัด |
ไม่ชัด | (adv) unclear, See also: indistinct, Syn. ไม่ชัดเจน, Example: หลังผ่าตัดตาจะยังมองเห็นไม่ชัดเท่าไหร่, Thai Definition: ไม่แจ่มแจ้ง, ไม่ปรากฏชัดแก่สายตา |
ไม่ชัด | (adv) unclear, See also: indistinct, Syn. ไม่ชัดเจน, Example: หลังผ่าตัดตาจะยังมองเห็นไม่ชัดเท่าไหร่, Thai Definition: ไม่แจ่มแจ้ง, ไม่ปรากฏชัดแก่สายตา |
snail mail | (n, jargon) จดหมายที่ถูกส่งทางไปรษณีย์ปกติ (เพื่อไม่ให้สับสนกับ E-mail ถ้าใช้คำว่า mail เฉยๆ ในยุคนี้อาจไม่ชัดเจนว่าเป็นอันไหน) snail แปลตามตัวคือหอยทาก ซึ่งเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ เป็นการบ่งชี้กลายๆ ว่า ไม่เร็วเหมือน E-mail |
vaguely | (adv) อย่างไม่ชัดเจน, อย่างคลุมเครือ, อย่างกำกวม |
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
bleary | (adj) พร่ามัว, See also: ไม่ชัดเจน, Syn. blurred |
cloudy | (adj) กำกวม, See also: ไม่ชัดเจน, Syn. vague, indistinct, Ant. clear |
cryptic | (adj) กำกวม, See also: ไม่ชัดเจน, Syn. hidden, obscure |
get out of | (phrv) ไม่ชัดเจน, See also: มัว, Syn. go out of |
get out of | (phrv) ไม่ชัดเจน, See also: มัว, Syn. go out of |
hazy | (adj) พร่ามัว, See also: ไม่ชัดเจน, Syn. cloudy, obscure, unclear, Ant. clear, distinct, unclouded |
misty | (adj) ไม่ชัดเจน, See also: คลุมเครือ, Syn. obscure, vague |
muzzy | (adj) เลือนราง, See also: ไม่ชัดเจน, ขุ่นมัว, Syn. blurred, foggy, fuzzy, hazy, dull |
nebulous | (adj) คลุมเครือ, See also: ไม่ชัดเจน, Syn. unclear, vague |
clear as mud | (sl) ไม่กระจ่าง, See also: ไม่ชัดเจน |
ametropia | (แอมมิโทร' เพีย) n. ภาวะผิดปกติของตาที่มีภาพไม่ตกที่เรตินา เนื่องจากตาขาดอำนาจหักเหทำให้สายตาสั้นหรือสายตายาวหรือไม่ชัด. -ametropic adj. -ametrope n. |
babble | (แบบ'เบิล) vt., vi. พูดไม่ชัด, พูดพล่าม, พูดไม่เป็นสาระ, พูดจ้อ, เปิดเผยความลับ n. การพูดพล่ามหรือไม่เป็นสาระ, ถ้อยคำไม่เป็นสาระ |
babbling | (แบบ'บลิง) n. การพูดพล่าม, การพูดไม่เป็นสาระ, การพูดไม่ชัด adj. ซึ่งพูดพล่ามหรือไม่ชัด |
befog | (บิฟอก') vt. ทำให้ไม่ชัด, ทำให้ยุ่งเหยิง, Syn. obscure |
bleak | (บลีค) adj. เปล่าเปลี่ยว, เดียวดาย, มีลมพัด, หนาวเย็น, ไม่ชัด, มืดมัว, เลือนลาง, ไร้ความหวัง, เศร้าระทม., See also: bleakish adj. ดูbleak bleakness n. ดูbleak, Syn. bare |
blear | (เบลียร์) { bleared, blearing, blears } adj. ตาพร่ามัว, ตาฟาง, ตาบวม, พร่ามัว, ไม่ชัด vt. ทำให้มัว, ทำให้ตามัว, See also: blearedness n. ดูblear, Syn. bleary |
bleary | (เบลีย'รี) adj. พร่ามัว, ไม่ชัด, เหนื่อยอ่อน, See also: blearybleariness n. ดูbleary, Syn. hazy |
cloudy | (เคลา'ดี) adj. เต็มไปด้วยก้อนเมฆ, เกี่ยวกับเมฆ, มืดมัว, ไม่ใส, ไม่ชัด, เลือนลาง, ขุ่น, เศร้าซึม., See also: cloudily adv. ดูcloudy cloudiness n. ดูcloudy, Syn. gray, overcast |
confuse | (คันฟิวซ') confused, confusing, confuses } vt. ทำให้ไม่ชัด, ทำให้ยุ่ง, ทำให้สับสน, ทำให้งง, ทำให้ขวยเขิน., See also: confusable adj. ดูconfuse confusably adv. ดูconfuse confusedly adv. ดูconfuse confusedness n. ดูconfuse คำที่มีความหมายเหมือ |
confusing | (คันฟิว'ซิง) adj. ไม่ชัด, ยุ่ง, สับสน, งงงวย., See also: confusingly adv. ดูconfusing, Syn. complex |
befog | (vt) ปกคลุมด้วยหมอก, ทำให้ไม่ชัด |
bleary | (adj) มัว, ตาพร่ามัว, ตาฟาง, ไม่ชัด |
gibber | (n) การพูดพล่อยๆ, การพูดไม่ชัด, การพูดตะกุกตะกัก |
gibber | (vi) พูดพล่อยๆ, พูดไม่ชัด, พูดตะกุกตะกัก |
gibberish | (adj) ซึ่งพูดพล่อยๆ, ซึ่งพูดไม่ชัด, ซึ่งพูดไร้สาระ |
hazy | (adj) มีหมอก, มืดสลัว, ไม่ชัด, สลัว |
indistinct | (adj) ไม่กระจ่างแจ้ง, ไม่ชัด, คลุมเครือ |
mumble | (vi, vt) บ่นพึมพำ, พูดอู้อี้, พูดไม่ชัด, อ้ำอึ้ง, เคี้ยวเอื้อง |
slur | (vi) เขียนติดกัน, พูดไม่ชัด, พูดทอดเสียง |
vague | (adj) คลุมเครือ, เลือน, ไม่แจ่มแจ้ง, ไม่ชัด |