effluent | (n) ของเสียที่ปล่อยออกมา เช่นจากโรงงาน ออกไปสู่สิ่งแวดล้อม |
environment | (n) สิ่งแวดล้อม |
tributyltin | (n, name) สารประกอบเคมีชนิดหนึ่งที่ใช้ผสมในสีทาใต้ท้องเรือกันเพรียงเรือและสาหร่ายต่างๆมาเกาะ แต่สารนี้เป็นอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม |
UNEP | (abbrev) ย่อมาจาก United Nations Environment Programme หมายถึง องค์การควบคุมสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ |
EPA | (n) องค์การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม, Syn. Environmental Protection Agency |
homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย |
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
adaptation | (แอดแดพเท' เชิน) n. การปรับตัว, การปรับให้เหมาะ, สิ่งที่ได้จากการปรับให้เหมาะ, ภาวะที่เหมาะสม, ฉบับแก้ไขปรับปรุง, สิ่งที่แก้ไขปรับปรุง, การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม, การปรับตัวของรูม่านตา, Syn. version, adjustment, Ant. rigid |
aerobiosis | (แอโรไบโอ' ซิส) n. ชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่มีอากาศหรืออ็อกซิเจน -aerobiotically, adv. (life in an environment, containing air or oxygen) |
ambience | (แอม' บิอันซ) n., (pl. -biences) สิ่งแวดล้อม, สภาพแวดล้อม., Syn. ambience |
americanise | (อะเม' ริคะไนซ) vt., vi. ทำให้หรือกลายเป็นลักษณะของอเมริกา, ปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมหรือประเพณีของอเมริกา. -Americanis (z) ation n., -Americanis (z) er n.. |
americanize | (อะเม' ริคะไนซ) vt., vi. ทำให้หรือกลายเป็นลักษณะของอเมริกา, ปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมหรือประเพณีของอเมริกา. -Americanis (z) ation n., -Americanis (z) er n.. |
autecology | (ออทีคอส'โลจี) n. นิเวศวิทยาที่เกี่ยวกับเฉพาะตัวและสิ่งแวดล้อม. -autecologic (al) adj. (author authorized |
condition | (คันดิช'เชิน) n. เงื่อนไข, สภาพ, สภาวะ, ฐานะ. vt. กำหนด, ตกลง, กำหนดเงื่อนไข, ทำให้ชินกับสิ่งแวดล้อม vi. กำหนดเงื่อนไข |
context | (คอน'เทคซฺทฺ) n. คำอรรถาธิบาย, ตอนต้นหรือตอนต่อจากคำหรือถ้อยคำ, สิ่งแวดล้อม, See also: contextual adj. ดูcontext, Syn. circumstance -Conf. point |
denizen | n. ผู้อาศัย, ผู้พำนัก, ชาวต่างด้าวที่ได้รับสิทธิบางอย่างของพลเมือง, สัตว์หรือพืชที่ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่, Syn. inhabitant, Ant. outsider |
deracinate | (ดิแรส'ซิเนท) vt. ถอนราก, ทำให้หมดสิ้น, แยกออกจากถิ่นเดิมหรือสิ่งแวดล้อมเดิม, See also: deracination n. |