8 ผลลัพธ์ สำหรับ -freeze drying-
/ฟรี สึ ดร๊าย หยิ่ง/     /frˈiːz drˈaɪɪŋ/
หรือค้นหา: -freeze drying-, *freeze drying*, freeze dry
เนื่องจากผลลัพธ์มีน้อย ระบบจึงเปลี่ยนคำค้นเป็น *freeze dry*

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Freeze Dryingการแซ่แข็ง, ฟรีซดรายอิง, การระเหิดแห้ง, การทำให้เย็นจนแข็งก่อนแล้วจึงทำแห้ง [การแพทย์]
Freeze Dryระเหิดแห้ง [การแพทย์]
Freeze Dryชนิดแห้ง [การแพทย์]
Vaccuum Freeze Dryingการอบแห้งแบบเยือกแข็งภายใต้สภาพสุญญากาศ, Example: <b>การอบแห้งแบบเยือกแข็งภายใต้สภาพสุญญากาศ (Vaccuum Freeze Drying)</b> หมายถึง กระบวนการการอนุรักษ์ทรัพยากรสารสนเทศโดยนำหนังสือที่เปียกโชกไปด้วยน้ำมาแช่แข็งและทำให้แห้ง โดยวางไว้ในห้องที่อยู่ในสภาพสุญญากาศจะทำให้เกิดเกล็ดน้ำแข็งและกลายเป็นไอโดยไม่ต้องละลาย (กระบวนการที่เรียกว่าการระเหิด) เพื่อให้ได้ผลที่ดีที่สุดในการอนุรักษ์ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์อนุรักษ์เอกสาร (Northeast Document Conservation Center หรือ NEDCC) แนะนำให้แช่แข็งวัสดุให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้หลังจากวัสดุนั้นเปียกน้ำ วิธีนี้จะเป็นวิธีการที่ช่วยลดอาการบวมและการบิดเบี้ยวของโครงสร้างของหนังสือได้ แต่กระบวนการนี้ไม่แนะนำให้ใช้กับฟิล์มถ่ายรูปหรือกระดาษอัดรูป (Photographic materials) หนังสัตว์ และแผ่นหนังสัตว์ที่ใช้เขียนหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Freeze Dryระเหิดแห้ง [การแพทย์]
Freeze Dryชนิดแห้ง [การแพทย์]
Freeze Dryingการแซ่แข็ง, ฟรีซดรายอิง, การระเหิดแห้ง, การทำให้เย็นจนแข็งก่อนแล้วจึงทำแห้ง [การแพทย์]
Vaccuum Freeze Dryingการอบแห้งแบบเยือกแข็งภายใต้สภาพสุญญากาศ, Example: <b>การอบแห้งแบบเยือกแข็งภายใต้สภาพสุญญากาศ (Vaccuum Freeze Drying)</b> หมายถึง กระบวนการการอนุรักษ์ทรัพยากรสารสนเทศโดยนำหนังสือที่เปียกโชกไปด้วยน้ำมาแช่แข็งและทำให้แห้ง โดยวางไว้ในห้องที่อยู่ในสภาพสุญญากาศจะทำให้เกิดเกล็ดน้ำแข็งและกลายเป็นไอโดยไม่ต้องละลาย (กระบวนการที่เรียกว่าการระเหิด) เพื่อให้ได้ผลที่ดีที่สุดในการอนุรักษ์ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์อนุรักษ์เอกสาร (Northeast Document Conservation Center หรือ NEDCC) แนะนำให้แช่แข็งวัสดุให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้หลังจากวัสดุนั้นเปียกน้ำ วิธีนี้จะเป็นวิธีการที่ช่วยลดอาการบวมและการบิดเบี้ยวของโครงสร้างของหนังสือได้ แต่กระบวนการนี้ไม่แนะนำให้ใช้กับฟิล์มถ่ายรูปหรือกระดาษอัดรูป (Photographic materials) หนังสัตว์ และแผ่นหนังสัตว์ที่ใช้เขียนหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

Time: 2.7379 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/