Nonbook materials | วัสดุไม่ตีพิมพ์ [TU Subject Heading] |
Nonbook material | วัสดุไม่ตีพิมพ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Nonbook material | ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์, Example: <p>นอกจากทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed material) ซึ่งหมายถึงทรัพยากรสารสนเทศที่ผลิตเป็นสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ และจุลสาร เป็นต้น ทรัพยากรสารสนเทศอีกประเภทหนึ่ง คือ ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Nonbook material หรือ Non-printed material) <p>ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ หมายถึง สื่อที่ใช้ในการบันทึกความรู้ที่นำเสนอสาระความรู้ผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตา <p>ประเภทของทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ จำแนกได้ 2 ประเภท ได้แก่ โสตทัศนวัสดุ และ วัสดุย่อส่วน <p>1. โสตทัศนวัสดุ หมายถึง วัสดุสำหรับฟังหรือดู ด้วยการนำเสนอเสียงและภาพมากกว่าตัวหนังสือ ตัวอย่าง โสตทัศนวัสดุ แผนภูมิ หุ่นจำลอง เทปเสียง แผ่นเสียง ภาพยนตร์ และ วีดิทัศน์ เป็นต้น <p>2. วัสดุย่อส่วน เป็นการถ่ายภาพย่อส่วนของเอกสารต้นฉบับลงบนแผ่นฟิล์มหรือกระดาษทึบแสง ซึ่งเป็นการย่อให้มีขนาดเล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่าและต้องมีเครื่องอ่านเฉพาะ ตัวอย่าง วัสดุย่อส่วน เช่น ไมโครฟิล์ม ไมโครฟิช และ ไมโครคาร์ด <p>โสตทัศนวัสดุ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ โสตวัสดุ ทัศนวัสดุ และโสตทัศวัสดุ <p>1. โสตวัสดุ (Audio Materials) คือ สื่อสำหรับฟัง นำเสนอข้อมูล ความรู้ด้วยเสียง เช่น เทปบันทึกเสียง และ แผ่นเสียง เป็นต้น <p>2. ทัศนวัสดุ (Visual Materials) คือ สื่อสำหรับดู นำเสนอข้อมูล ความรู้ด้วยภาพ เช่น วัสดุกราฟิก แผ่นโปร่งใส สไลด์ วัสดุย่อส่วน และ หุ่นจำลอง เป็นต้น <p>3. โสตทัศนวัสดุ (Audio-Visual Materials) คือ สื่อสำหรับฟังและดู นำเสนอข้อมูล ความรู้ด้วยเสียงและภาพ โดยอาศัยอุปกรณ์ในการแปลงสัญญาณ เช่น ภาพยนตร์ โทรทัศน์ วิดีทัศน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cataloging of nonbook materials | การทำบัตรรายการวัสดุไม่ตีพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Nonbook material | วัสดุไม่ตีพิมพ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Nonbook material | ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์, Example: <p>นอกจากทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed material) ซึ่งหมายถึงทรัพยากรสารสนเทศที่ผลิตเป็นสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ และจุลสาร เป็นต้น ทรัพยากรสารสนเทศอีกประเภทหนึ่ง คือ ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Nonbook material หรือ Non-printed material) <p>ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ หมายถึง สื่อที่ใช้ในการบันทึกความรู้ที่นำเสนอสาระความรู้ผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตา <p>ประเภทของทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ จำแนกได้ 2 ประเภท ได้แก่ โสตทัศนวัสดุ และ วัสดุย่อส่วน <p>1. โสตทัศนวัสดุ หมายถึง วัสดุสำหรับฟังหรือดู ด้วยการนำเสนอเสียงและภาพมากกว่าตัวหนังสือ ตัวอย่าง โสตทัศนวัสดุ แผนภูมิ หุ่นจำลอง เทปเสียง แผ่นเสียง ภาพยนตร์ และ วีดิทัศน์ เป็นต้น <p>2. วัสดุย่อส่วน เป็นการถ่ายภาพย่อส่วนของเอกสารต้นฉบับลงบนแผ่นฟิล์มหรือกระดาษทึบแสง ซึ่งเป็นการย่อให้มีขนาดเล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่าและต้องมีเครื่องอ่านเฉพาะ ตัวอย่าง วัสดุย่อส่วน เช่น ไมโครฟิล์ม ไมโครฟิช และ ไมโครคาร์ด <p>โสตทัศนวัสดุ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ โสตวัสดุ ทัศนวัสดุ และโสตทัศวัสดุ <p>1. โสตวัสดุ (Audio Materials) คือ สื่อสำหรับฟัง นำเสนอข้อมูล ความรู้ด้วยเสียง เช่น เทปบันทึกเสียง และ แผ่นเสียง เป็นต้น <p>2. ทัศนวัสดุ (Visual Materials) คือ สื่อสำหรับดู นำเสนอข้อมูล ความรู้ด้วยภาพ เช่น วัสดุกราฟิก แผ่นโปร่งใส สไลด์ วัสดุย่อส่วน และ หุ่นจำลอง เป็นต้น <p>3. โสตทัศนวัสดุ (Audio-Visual Materials) คือ สื่อสำหรับฟังและดู นำเสนอข้อมูล ความรู้ด้วยเสียงและภาพ โดยอาศัยอุปกรณ์ในการแปลงสัญญาณ เช่น ภาพยนตร์ โทรทัศน์ วิดีทัศน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cataloging of nonbook materials | การทำบัตรรายการวัสดุไม่ตีพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Nonbook materials | วัสดุไม่ตีพิมพ์ [TU Subject Heading] |