ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: กลไก, -กลไก- |
|
| กลไก | (n) mechanism, See also: machinery, device, Example: นาฬิกาเรือนนี้มีกลไกทำงานซับซ้อนมาก, Thai Definition: ตัวจักรต่างๆ | เครื่องกลไก | (n) machinery, See also: machine, engine, motor, mechanical device, Syn. เครื่องกล, เครื่องจักร, เครื่องยนต์, เครื่องจักรกล, Example: ลักษณะพิเศษอย่างหนึ่งของละครดึกดำบรรพ์คือการจัดฉากให้สมจริงและใช้เครื่องกลไกประกอบการจัดฉากนั้น, Count Unit: เครื่อง | กลไกทางการเมือง | (n) political machinery, Syn. กลยุทธ์ทางการเมือง, Example: แผนการนี้คือกลไกทางการเมืองของสภารสช. | เครื่องยนต์กลไก | (n) machinery, See also: machine, engine, motor, Example: มนุษย์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปผลิตเครื่องยนต์กลไกที่จะให้ความสะดวกสบายกับตัวเอง |
| กลไก | (กน-) น. ตัวจักรต่าง ๆ, โดยปริยายหมายความว่าบุคคลผู้เป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในระดับต่าง ๆ, ระบบหรือองค์การที่บุคคลผู้เป็นเจ้าหน้าที่ในระดับต่าง ๆ ปฏิบัติงานร่วมกันดุจเครื่องจักร, ระบบที่จะให้งานสำเร็จตามประสงค์, เช่น กลไกการปกครอง | กลไก | กระบวนการต่อเนื่องที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยา เช่น กลไกการย่อยอาหาร กลไกของการสร้างอาหารของพืชโดยการสังเคราะห์ด้วยแสง. | กล, กล- | เครื่องกลไก, เครื่องจักร, เครื่องยนต์, เช่น ช่างกล. | การเปิดอภิปรายทั่วไป | น. กลไกที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมฝ่ายบริหาร เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี หรือฝ่ายบริหารจะรับฟังความคิดเห็นของฝ่ายนิติบัญญัติ เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปที่คณะรัฐมนตรีร้องขอให้มีขึ้นเพื่อรับฟังความคิดเห็นเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากสมาชิกสภา. | ดับเครื่อง | ก. ทำให้เครื่องยนต์เครื่องกลไกเป็นต้นหยุด, ถ้าเครื่องยนต์เครื่องกลไกเป็นต้นหยุดเอง เรียกว่า เครื่องดับ. | ปอดเหล็ก | น. เครื่องกลไกสร้างด้วยโลหะ ใช้ทำให้เกิดการบีบและขยายของทรวงอกในการหายใจแทนการเคลื่อนไหวตามธรรมชาติในเมื่อมีอัมพาตของกล้ามเนื้อ เช่นในโรคโปลิโอ. | ปืนกล | น. ปืนที่มีกลไกยิงได้เร็วมาก. | เปิด | ก. ทำให้สิ่งที่ปิดอยู่เผยออก เช่น เปิดประตู, ทำให้เครื่องยนต์กลไกทำงาน เช่น เปิดวิทยุ เปิดพัดลม, ตรงข้ามกับ ปิด | พรรคกลิน | (พักกะลิน) น. เหล่าของทหารเรือที่ทำหน้าที่ดูแลรักษาซ่อมบำรุงเครื่องยนต์กลไกประเภทต่าง ๆ ที่มีใช้ในกองทัพเรือ. | ยนต์, ยนตร์ | น. เครื่องกลไก, เครื่องจักรที่ให้กำเนิดพลังงานหรือทำให้วัตถุเคลื่อนที่. | สิ่งตีพิมพ์ | น. ไปรษณียภัณฑ์ประเภทข้อความ รูป หรือรอยประดิษฐ์บนกระดาษ กระดาษแข็ง หรือวัสดุที่ใช้กันทั่วไปในกิจการพิมพ์ ซึ่งทำขึ้นเป็นหลายสำเนาเหมือนกันทุกประการ ด้วยกระบวนการทางเครื่องกลไก หรือการถ่ายภาพอันเกี่ยวข้องกับการใช้แม่พิมพ์ต้นแบบ กระดาษไข เนกาทีฟ หรือสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้กันโดยทั่วไปในกิจการพิมพ์. | หุ่นยนต์ | น. หุ่นที่ทำเป็นรูปคนมีเครื่องกลไกภายใน สามารถทำงานหลายอย่างแทนมนุษย์ได้, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่ทำงานตามที่ถูกสั่งโดยไม่ต้องใช้สมองและไม่มีชีวิตจิตใจดุจเป็นเครื่องจักรกล. | อัตโนมัติ | (อัดตะ-) ว. เป็นไปได้ในตัวเอง, ทำหน้าที่ได้ในตัวเอง, มีกลไกทำหน้าที่ได้เอง, เช่น นาฬิกาอัตโนมัติ. |
| parallelogram linkage | กลไกก้านต่อแบบขนาน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | pulmonic airstream mechanism | กลไกกระแสลมจากปอด [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | protection mechanism | กลไกการอารักขา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | projection | การโทษผู้อื่น (กลไกทางจิต) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | political machinery | กลไกทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | progressive linkage | กลไกก้านต่อก้าวหน้า [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | repression | การกดเก็บ (กลไกทางจิต) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rationalisation; rationalization | การใช้เหตุผลเข้าข้างตน (กลไกทางจิต) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rationalization; rationalisation | การใช้เหตุผลเข้าข้างตน (กลไกทางจิต) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | Rayleigh mechanism | กลไกเรย์ลี [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | substitution | ๑. การแทนที่๒. การทดแทน (กลไกทางจิต) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | suppression | ๑. การห้ามไหล๒. การกด๓. การพยายามลืม (กลไกทางจิต) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spark advance mechanism; advance mechanism; ignition advance mechanism | กลไกเร่งไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | selector mechanism | กลไกเลือกเกียร์ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | sublimation | ๑. การระเหิด๒. การเปลี่ยนให้เป็นที่ยอมรับ (กลไกทางจิต) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | airstream mechanism | กลไกกระแสลม [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | access mechanism | กลไกการเข้าถึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | advance mechanism; ignition advance mechanism; spark advance mechanism | กลไกเร่งไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | machinery, political | กลไกทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | mechanic form | รูปแบบกลไก [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | mechanical | ด้วยเครื่องจักร, กลไก, เกี่ยวกับเครื่องกล [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | mental mechanism | กลไกทางจิต, กลวิธานจิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | mechanism | กลไก, กลวิธาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | mechanism | กลไก [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | mechanism | กลไก [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | mechanism, defense | กลไกป้องกัน, กลวิธานป้องกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | mechanism, mental | กลไกทางจิต, กลวิธานจิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | market socialism | สังคมนิยมแบบกลไกตลาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | defense mechanism | กลไกป้องกัน, กลวิธานป้องกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | dual diaphragm vacuum advance | กลไกเร่งไฟสุญญากาศไดอะแฟรมคู่ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | glottalic airstream mechanism | กลไกกระแสลมจากเส้นเสียง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | identification | การเลียนแบบ (กลไกทางจิต) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | ignition advance mechanism; advance mechanism; spark advance mechanism | กลไกเร่งไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | velaric airstream mechanism | กลไกกระแสลมจากเพดานอ่อน [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | vacuum advance | ๑. กลไกเร่งไฟสุญญากาศ๒. การเร่งไฟสุญญากาศ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | window regulator | กลไกเลื่อนกระจกขึ้นลง [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Motor ability | ความสามารถทางกลไก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Human mechanics ; Biomechanics | กลไกของมนุษย์ [TU Subject Heading] | Transmission mechanism (Monetary policy) | กลไกการส่งผ่านนโยบายการเงิน [TU Subject Heading] | ASEAN Committee in Beijing | คณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงปักกิ่ง " ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำกรุง ปักกิ่ง มีหน้าที่ในการประสานผลประโยชน์และเป็นกลไกกลางของ อาเซียนในการมีปฏิสัมพันธ์กับสาธารณรัฐประชาชนจีนที่กรุงปักกิ่ง [การทูต] | Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] | ASEAN Committee in Seoul | คณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงโซล ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำ กรุงโซล มีหน้าที่ในการประสานผลประโยชน์และเป็นกลไกกลางของอาเซียนในการมีปฏิ สัมพันธ์กับสาธารณรัฐเกาหลีที่กรุงโซล [การทูต] | Asia-Europe Business Forum | สภาธุรกิจเอเชีย-ยุโรป เป็นกลไกหนึ่งภายใต้ความร่วมมืออาเซม(ASEM) ประกอบด้วยผู้แทนจากภาคเอกชนของประเทศสมาชิกอาเซม เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2540 [การทูต] | Asia-Europe Environmental Technology Centre | ศูนย์เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมเอเชีย-ยุโรป เป็นกลไกหนึ่งภายใต้อาเซม เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิก [การทูต] | African Union | สหภาพแอฟริกา สหภาพแอฟริกาซึ่งเป็นความร่วมมือระดับภูมิภาคที่สำคัญ ของทวีป แอฟริกา ได้ก่อกำเนิดมาจากองค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity ? OAU) เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยได้ปรับปรุงกฎบัตรเดิมขององค์การเอกภาพแอฟริกา ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพและสามารถแทรกแซงกิจการของประเทศ สมาชิกโดยผ่านกองกำลังรักษาสันติภาพ กลไกที่สำคัญของสหภาพ แอฟริกาที่เพิ่มขึ้นอีกประการหนึ่งคือ ธนาคารกลาง นอกจากนี้ นโยบายสำคัญที่สหภาพแอฟริกาเน้น คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน และได้ใช้โครงการ The New Partnership for Africa?s Development หรือ NEPAD เป็นหลักในการดำเนินการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งมุ่งเน้นการขจัดความยากจน [การทูต] | ASEAN-New Delhi Committee | คณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงนิวเดลี " ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำกรุง นิวเดลี มีหน้าที่ในการประสานผลประโยชน์และเป็นกลไกกลางของอาเซียนในการมีปฏิ สัมพันธ์กับอินเดียที่กรุงนิวเดลี " [การทูต] | ASEAN Standing Committee | คณะกรรมการประจำอาเซียน " ประกอบด้วยอธิบดีกรมอาเซียนของทุกประเทศสมาชิก มีหน้าที่ ควบคุม ดูแล ติดตามการดำเนินงานของกลไกและกิจกรรมต่าง ๆ ของอาเซียน ปกติจะประชุมปีละ 6 ครั้ง เป็นการประชุมในนามของ รัฐมนตรีต่างประเทศ ในช่วงกลางระหว่างการประชุมประจำปีของ รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน " [การทูต] | ASEAN Council on Petroleum | คณะมนตรีอาเซียนด้านปิโตรเลียม เป็นกลไกการหารือระหว่างวิสาหกิจแห่งชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนที่ประกอบ กิจการด้านปิโตรเลียม มีการประชุมปีละ 2-3 ครั้ง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและแสวงหาความร่วมมือระหว่างกัน [การทูต] | ASEAN Committees in Third Countries | คณะกรรมการอาเซียนในประเทศที่สาม เป็นกลไกประสานงานของอาเซียนที่จัดตั้งขึ้นในเมืองหลวงของประเทศที่สาม ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นประเทศคู่เจรจาของอาเซียน คณะกรรมการดังกล่าว ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำประเทศนั้น ๆ [การทูต] | ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] | ASEAN - China, Japan and the Republic of Korea Relationship | ความสัมพันธ์อาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และสาธาณรัฐเกาหลี เป็นกลไกความร่วมมือใหม่ที่เริ่มมีขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540 ซึ่งผู้นำของ อาเซียน จีน ญี่ปุ่นและสาธารณรัฐเกาหลี ได้พบกันเป็นครั้งแรกที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยในปี พ.ศ. 2542 ผู้นำอาเซียน+3 ได้ออกแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (Joint Statement on East Asia Cooperation) เป็นหลักการพื้นฐานของการเสริมสร้างความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง [การทูต] | Asia-Europe Foundation | เป็นกลไกหนึ่งภายใต้อาเซม เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ วัฒนธรรม และประชาชนกับประชาชน ระหว่างประเทศสมาชิก [การทูต] | ASEAN Food Security Reserve Board | คณะกรรมการสำรองอาหารเพื่อความมั่นคงแห่งภูมิภาคอาเซียน เป็นกลไกประสานด้านการสำรองอาหารเพื่อความมั่นคงของภูมิภาค จัดตั้งขึ้นตามหลักการของปฏิญญาความสมานฉันท์แห่งอาเซียน 2514 [การทูต] | ASEAN Specialised Meteorology Centre | ศูนย์อุตุนิยมวิทยาอาเซียน ตั้งอยู่ที่สิงคโปร์ ทำหน้าที่เป็นกลไกในการติดตามสภาพภูมิอากาศและสภาวะหมอกควันอันเกิดจากไฟ ไหม้ป่า [การทูต] | Clean Development Mechanism | กลไกการพัฒนาที่สะอาด [การทูต] | Common Effective Preferential Tariff | อัตราภาษีพิเศษที่เท่ากัน " เป็นกลไกหลักในการลดอัตราภาษีศุลกากรระหว่างกันภายใต้กรอบ การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนให้อยู่ในระดับร้อยละ 0-5 โดย ครอบคลุมสินค้าทุกชนิด " [การทูต] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | concert of nations | ความปรองดองระหว่างชาติ หลักการและแนวคิดเรื่องความปรองดองระหว่างชาติเกิดขึ้นในยุโรป ระหว่าง พ.ศ. 2357-2358 ซึ่งเรียกว่า Concert of Europe หรือบางครั้งเรียกว่า Concert of Allies โดยการรวมตัวของกลุ่มรัฐพันธมิตรที่ต่อต้านการขยายอำนาจของฝรั่งเศส คือ รัสเซีย ออสเตรีย ปรัสเซีย และอังกฤษ ได้รวมตัวกันเป็นระบบแห่งยุโรป (European system) หรือระบบแห่งมหาอำนาจในยุโรป ซึ่งต่อมาฝรั่งเศสและสเปนได้เข้าร่วมในระบบความปรองดองแห่งยุโรปด้วย นอกจากนี้การเกิดระบบความปรองดองแห่งยุโรปซึ่งมีระบบการประชุมคองเกรส ระหว่างชาติมหาอำนาจเป็นกลไกสำคัญนั้น ยังเป็นการแสดงถึง "มหาอำนาจแห่งปฐมลำดับ" (The powers of the first order) และยังถือว่าเป็นครั้งแรกที่มีการเรียกชื่อที่ระบุคำว่ามหาอำนาจ (The first expression of the idea of the Great Powers) อย่างไรก็ตาม ระบบความปรองดองแห่งยุโรปได้ล่มสลายลงในปี พ.ศ. 2365 [การทูต] | Council for Security and Cooperation in the Asia-Pacific | ชมรมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในเอเชียแปซิฟิก เป็นสถาบันเอกชนก่อตั้งขึ้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2536 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยมีสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ (Institute of Security and International Studies : ISIS) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันก่อตั้งร่วมกับสถาบันอื่น ๆ จากประเทศอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก CSCAP เป็นกลไกที่ไม่ใช่เป็นทางการ เพื่อให้นักวิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐบาลในฐานะส่วนตัวและบุคคลอื่นได้อภิปรายปัญหาทางการเมืองและ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก [การทูต] | Forum for Comprehensive Development of Indochina | เวทีเพื่อการพัฒนาอย่างสมบูรณ์แบบในอินโดจีน เป็นความริเริ่มโดยกระทรวงการต่างประเทศญี่ปุ่นที่จะให้มีเวทีปรึกษาหารือ เพื่อช่วยพัฒนาประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม กลไกประกอบด้วยคณะทำงานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คณะที่ปรึกษาภาคเอกชนโดยเน้นบทบาทในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการพัฒนาภาค เอกชนตลอดจนการสร้างความเชื่อมโยงกับกรอบความร่วมมือ (GMS) [การทูต] | General Border Committee | คณะกรรมการชายแดนทั่วไป เป็นกลไกความร่วมมือด้านความมั่นคง ชายแดน ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและประเทศเพื่อนบ้านเป็นประธานร่วม กัน ทำหน้าที่กกำหนดแนวทางและมาตรการที่เหมาะสมเกี่ยวกับการส่งเสริมความร่วมมือ รักษาความสงบเรียบร้อยและเสถียรภาพในพื้นที่บริเวณชายแดน ซึ่งกลไกนี้ไทยมีกับประเทศเพื่อนบ้านที่มีพรมแดนติดต่อกันทั้ง 4 ประเทศ [การทูต] | Greater Mekong Subregion Economic Cooperation | กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง หรือ กรอบความร่วมมือหกเหลี่ยมเศรษฐกิจ " ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน (มณฑล ยูนนาน) มีธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) เป็นกลไกประสานความร่วมมือ โดยริเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 ประกอบด้วยความร่วมมือ 8 สาขา ได้แก่ คมนาคมขนส่ง พลังงาน สื่อสาร โทรคมนาคม พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อม และการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ การค้า และการลงทุน " [การทูต] | Human Rights Committee | คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เป็นกลไกติดตามผลการอนุวัติกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights : ICCPR) [การทูต] | Investment Expert Group | กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการลงทุน เป็นกลไกหนึ่งภายใต้ ASEM [การทูต] | International Maritime Organization | องค์การกิจการทางทะเลระหว่างประเทศ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2502 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเป็นเวทีระหว่างประเทศสมาชิก ในการกำหนดมาตรฐาน และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัย ในการเดินเรือ และการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทางทะเล รวมทั้งเป็นกลไกในการสร้างความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศสมาชิก ปัจจุบัน มีสมาชิก 155 ประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร " [การทูต] | Inter-Governmental Maritime Consultative Organization | องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ [การทูต] | Joint Commission | คณะกรรมาธิการร่วม " เป็นกลไกความร่วมมือในระดับทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก JC มีบทบาทในการดูแลและส่งเสริมความสัมพันธ์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการเมือง เศรษฐกิจ การค้า การลงทุน วัฒนธรรม และสังคม โดยแต่ละฝ่ายจะสลับกันเป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุม ซึ่งอาจมีขึ้นปีละครั้งหรือ 2-3 ปีต่อครั้ง ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและความสะดวกของทั้งสองฝ่าย JC อาจมีกลไกย่อยหรือคณะกรรมการภายใต้ JC เพื่อกำกับดูแลเฉพาะเรื่องหรือมีคณะกรรมการในระดับส่วน ภูมิภาค เช่น ไทยกับมาเลเซียมีคณะกรรมการชายแดนทั่วไป (General Border Committee - GBC) มีบทบาทในการดูแลความร่วมมือด้านการทหารและความมั่นคงบริเวณชายแดน และมีคณะกรรมการจัดทำหลักเขตแดนทางบก (Land Boundary Committee - LBC) เพื่อดูแลการจัดทำหลักเขตแดนระหว่างประเทศทั้งสอง นอกจากนั้น ยังมีคณะกรรมการร่วมทางการค้า (Joint Trade Committee - JTC) ระหว่างไทยกับบางประเทศ เป็นกลไกเพื่อส่งเสริมการค้าและขจัดอุปสรรคทางการค้าระหว่างกัน " [การทูต] | Japan - Thailand Joint Taks Forc on Counter Trafficking in pesons | คณะทำงานเฉพาะกิจร่วมไทย - ญี่ปุ่นว่าด้วยการต่อต้านการค้ามนุษย์ จัดตั้งเมื่อ พ.ศ.2549 เพื่อเป็นกลไกในการประสานความร่วมมือต่อต้านการค้ามนุษย์ระหว่างกัน ระหว่างรัฐบาลกับรัฐบาล ครอบคลุมความร่วมมือใน 3 เรื่อง ได้แก่ (1) การป้องกันการค้ามนุษย์ ( prevention) (2) การบังคับใช้กฎหมาย (law enforcement) และ (3) การคุ้มครองเหยื่อการค้ามนุษย์ (protection) [การทูต] | Leaque of Arab States หรือ Arab Leaque | ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ.2488 มีเป้าหมายทางการเมืองเป็นเป้าหมายหลัก คือ สร้างเอกภาพ รักษาและส่งเสริมผลประโยชน์อาหรับ รวมทั้งเป็นกลไก [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Shanghai Cooperation Organization | พัฒนามาจากเวทีการประชุม Shanghai Five ซึ่งจีนเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2539 เดิมมีสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ จีน รัสเซีย คาซัคสถาน สาธารณรัฐคีร์กีซ และทาจิกิสถาน ต่อมาเมื่อเดือนมิถุนายน 2544 อุซเบกิสถาน ได้เข้าเป็นสมาชิกด้วย จึงมีการเปลี่ยนชื่อกลไกความ ร่วมมือนี้เป็น Shanghai Cooperation Organization เดิมมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจและแก้ไขข้อพิพาทเกี่ยวกับพรมแดนของประเทศสมาชิก และต่อมาได้ขยายขอบเขตความร่วมมือให้ครอบคลุม ทั้งด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจการค้า วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม การศึกษา พลังงาน การคมนาคม [การทูต] | Senior Officials' Meeting on Trade and Investment | การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านการค้าและการลงทุนของเอเชีย-ยุโรป เป็นกลไกหนึ่งภายใต้อาเซม สำหรับความสัมพันธ์ด้านการค้าและการ ลงทุนระหว่างประเทศสมาชิก เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2539 [การทูต] | Treaty of Amity and Cooperation | สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ " [การทูต] | Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] | Clean Development Mechanism | กลไกการพัฒนาที่สะอาด [เศรษฐศาสตร์] | Dispersion | 1.ดิสเพอร์ชันหรือการแตกตัวเป็นขั้นตอนหนึ่งของกลไกการผสมสารตัวเติม เข้าไปในยางแห้ง ซึ่งจะเกิดขึ้นจากแรงเฉือนในการผสมที่ทำให้แอกโกลเมอเรตของอนุภาคสารตัวเติม แตกตัวต่อไปจนได้เป็นแอกกรีเกตซึ่งเป็นหน่วยเล็กที่สุดของสารตัวเติมที่ได้ จากการผสม ขั้นตอนนี้จะเกิดขึ้นพร้อมๆ กับการกระจายตัว เพื่อให้ได้สารตัวเติมที่มีการแตกตัวดีและการกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอในยาง 2.สารเคมีที่กระจายตัวอยู่ในน้ำยาง [เทคโนโลยียาง] | Distribution | การกระจายตัวเป็นขั้นตอนหนึ่งของกลไกการผสมสารตัวเติมเข้าไปในยางแห้ง จะเกิดขึ้นหลังจากที่สารตัวเติมเข้าไปในเนื้อยาง (incorporation) กล่าวคือ การไหลของยางจะทำให้สารตัวเติมที่ถูกโอบล้อมด้วยยางเกิดการกระจายตัวในเนื้อ ยาง ซึ่งกระบวนการนี้จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาของการผสม [เทคโนโลยียาง] | Incorporation | ขั้นตอนหนึ่งของกลไกการผสมสารตัวเติมเข้าไปในยางแห้ง โดยจะเกิดจากการที่สารตัวเติมถูกรวมเข้าไปในเนื้อยางซึ่งเกิดผ่านกลไก 2 แบบ ได้แก่ กลไกที่หนึ่ง แรงเฉือนจะทำให้ยางเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ซึ่งทำให้ยางมีพื้นที่สัมผัสกับสารตัวเติมได้มากขึ้น เมื่อแรงเฉือนหมดไป ยางจะคลายตัวกลับคืนสู่สภาพที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและโอบล้อมเอาสาร ตัวเติมไว้ภายในยาง และกลไกที่สอง ยางชิ้นใหญ่ที่ได้รับแรงเฉือนสูงๆ จะเกิดการฉีกขาดจนได้ยางที่มีขนาดเล็กลง ซึ่งเหล่านี้จะเข้าไปโอบล้อมสารตัวเติมไว้ภายในยางเช่นกัน [เทคโนโลยียาง] | Antibody-Producting Mechanism | กลไกปฎิกิริยาในการสร้างภูมิคุ้มกัน [การแพทย์] | Autoimmune Mechanism | กลไกในระบบอัตตะอิมมิว, การขัดขวางภูมิต่อต้านตัวเอง [การแพทย์] | Autonomic Reflex Mechanisms | ระบบกลไกรีเฟล็กซ์ออโตโนมิค [การแพทย์] | Barriers, Mechanical | กันชนเครื่องกั้นกลไกการต้านเชื้อ [การแพทย์] | Biocatalysis | การเร่งปฏิกิริยาเคมีโดยกลไกทางชีวภาพ [การแพทย์] | Biological Variation | การผันแปรทางชีวภาพ, กลไกทางเมตาบอลิสมของร่างกายในแต่ละบุคคล [การแพทย์] | Body Defence Mechanism | กลไกการต่อต้านเชื้อโรคของร่างกายมนุษย์ [การแพทย์] | Buffering Mechanism, Biological | กลไกบัฟเฟอร์ทางชีวะ [การแพทย์] |
| And if we would have got picked up, they would've worked in a gimmick... where every show I would've told another joke. | และถ้าเราจะได้มีการหยิบขึ้นมาพวกเขาก็จะได้ทำงานในกลไก ... ที่ทุกการแสดงที่ผมจะได้บอกเรื่องตลกอีก Pulp Fiction (1994) | Don't give yourselves to these men, machine men with machine minds and machine hearts. | ไม่ใช่เพื่อคุณเองแต่เพื่อประชาชน กลไกของมนุษย์ประกอบด้วย การทำงานของจิตใจ ผนวกกับหัวใจ The Great Dictator (1940) | The firing mechanism. It's intact, isn't it? | ระบบกลไกยิงยังสมบูรณ์ดีใช่มั้ย Beneath the Planet of the Apes (1970) | -Do you know the range of their city? -Yes. | - รู้จักกลไกหัวรบใช่มั้ย Beneath the Planet of the Apes (1970) | -Set in the mechanism and wait for me. | - รู้ ปรับตั้งกลไกเเล้วรอคอยฉัน Beneath the Planet of the Apes (1970) | It's my defense mechanism. | มันเป็นกลไกการป้องกันของฉัน Clue (1985) | Spare parts with intelligence. | เป็นชิ้นส่วนที่มีปัญญา กลไกที่มีชีวิต *batteries not included (1987) | Which I think would interest the I.R.S., since it technically constitutes fraud. | ผมว่าผมสน I.R.S. ที่เป็นกลไกเปิดโปงการฉ้อฉล American Beauty (1999) | None of your internal mechanisms will be changed. | จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงกลไกภายใน Bicentennial Man (1999) | I need you to fill in the mechanical gaps. | ผมจึงต้องการให้คุณเติมระบบกลไกให้ Bicentennial Man (1999) | The Hive has its own defense mechanisms... all computer-controlled. | เป็นกลไกป้องกันตัวของรังผึ้งเอง ทั้งหมดถูกควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ Resident Evil (2002) | Some kind of dormant defense mechanism. | มีบางอย่างนิดหน่อย กลไกป้องกันการรุกราน Resident Evil (2002) | The upshot of the whole thing was that I was supposed to lead an organization of 500000 men which would be able to take over the functions of government... | บทสรุปของเรื่องทั้งหมดก็คือ ผมได้รับการจ้างวานให้จัดตั้ง องค์กรที่มีสมาชิกราว 500, 000 คน ซึ่งสามารถเข้าควบคุมกลไกของรัฐบาลได้... The Corporation (2003) | Consider all the neuro-med devices the machining cell crammed into that body. | ดูจากสายระบบประสาทและกลไกที่อัดอยู่ตามตัวนั่นสิ Ghost in the Shell (1995) | He's mastered the cable steering system. | ระบบกลไกเวิร์คมากเลยนะ Around the World in 80 Days (2004) | All that stuff you said about mastering... That's-that's exactly what I say. | ไอ้ระบบกลไกอะไรนั่นน่ะ ผมก็พูดแบบเนี๊ยะ Around the World in 80 Days (2004) | We simply follow the laws of physics mastered by the birds millennia ago and combine it with the Wright Brothers' ingenious cable steering system. | กฎฟิสิกส์ที่นกใช้มานับพันปี ร่วมกับระบบกลไกของพี่น้องตระกูลไรท์ Around the World in 80 Days (2004) | I'll start actually taking pieces out of it. It's just a gimmick. | ฉันก็จะแอบแกะเอาชิ้นส่วนออกมาจากกล่อง แค่กลไกสักชิ้น Primer (2004) | Tuesday, 1: 1 8 p.m. | ข้อสำคัญคือ, เป็นกลไกที่เปลี่ยนเรือเฟอร์รี่ทั้งลำให้กลายเป็นระเบิด Deja Vu (2006) | It looks like it works around a swivel, so the centre pieces never move. | กลไกมันเป็นเดือย อย่าให้ตรงกลางขยับ The Pursuit of Happyness (2006) | I just don't know if these gadgets are gonna work until I launch, you know. | ผมแค่ไม่รู้ว่าถ้าเกิดกลไกเล็ก ๆ ไม่ทำงานก่อนผมปล่อยล่ะ The Astronaut Farmer (2006) | Just a talent I have for the way things work... | แค่ปราดเปรื่องเกี่ยวกับกลไกต่างๆ Chapter Ten 'Six Months Ago' (2006) | The mechanism inside it. | กลไกข้างใน Saw IV (2007) | My boner? Well, a lot of times, at this age, | ข้างในกลไกนี้ ฉันใส่พัดลมตัวเล็ก ๆ ลงไป Harold (2008) | Everything you see here, controls the mechanics ofthe Rainbow device. | ทุกอย่างที่พวกคุณเห็น ควบคุมกลไกของ อุปกรณ์สายรุ้ง 100 Million BC (2008) | Allow the Jedi their small victory, my friend for the engines of this war turn in our favor. | ปล่อยให้เจไดลำพองกับชัยชนะเล็กๆ สหายข้า เพราะว่ากลไกแห่งสงครามนี้ จะเข้าข้างพวกเรา Star Wars: The Clone Wars (2008) | People aren't so hot on gimmicks-- zip it, Stewie. | คนไม่ค่อยสนในกลไกแบบนั้น เงียบไปซะ สตู Back in Business (2008) | That is the mechanism of control, the lies that brought us here under false pretenses. | นัั้นเป็นการควบคุมแบบกลไก สิ่งมีชีวิตที่ให้เรามาที่นี้ มันหลอกเรา Dead Space: Downfall (2008) | All this moisture is corroding my servo-motors. | พวกความชื้นนี่กำลังทำลายระบบกลไกข้า Duel of the Droids (2008) | Like clockwork. | อย่างกับกลไกนาฬิกา The Lazarus Project (2008) | Inside this mechanism, I have actually made a little tiny, tiny fan... and some disinfectant powder, OK, it works sort of like a deodorizer... so that anything it expunges smells like Lysol. | ข้างในกลไกนี้ ฉันใส่พัดลมตัวเล็ก ๆ ลงไป แล้วก็ผงยาฆ่าเชื้อ มันก็จะทำงานเหมือนยาดับกลิ่น ซึ่งถ้ามีกลิ่นอะไร มันก็จะถูกทำกลิ่นให้เหมือนกับไลซอล Harold & Kumar Escape from Guantanamo Bay (2008) | I don't want to see the innards of the subway system. | ไม่อยากจะเห็นกลไกของระบบรถไฟใต้ดินเลย New York, I Love You (2008) | -I'II disassemble the trigger mechanism. -It's got an anti-tamper system. | ฉันจะลองพยายามถอดกลไกสลักดู มันมีระบบป้องกันการถอดอยู่ 24: Redemption (2008) | It's a horticultural mechanism. One of our sponsors. | มันคือกลไกการปลูกพืชในเรือนกระจก Frost/Nixon (2008) | Well, our brains come equipped with a self-preservation mechanism to stop us from harmful actions. | สมองของคนเรามาพร้อมกับ กลไกที่ปกป้องตัวเอง เพื่อหยุดเราจากการกระทำที่เป็นอันตราย The Happening (2008) | - "Mechanism clockwise. " - "Clockwise." | กลไก ตามเข็มนาฬิกา City of Ember (2008) | The nanomites join together as a fighting mechanism, first blocking, then expelling the cobra's venom. | นาโนไมต์รวมตัวกันเหมือนกับกลไกการต่อสู้ อย่างแรกสกัดกั้น แล้วขับพิษงูออก G.I. Joe: The Rise of Cobra (2009) | French bassoons are tricky to use in an orchestra. | บาสซูนฝรั่งเศสมันกลไกซับซ้อนแถมไม่นิยมใช้ในออร์เคสตร้านะ Nodame Cantabile: The Movie I (2009) | Trigger mechanism's working. | ระบบกลไกจุดชนวนทำงานแล้ว Day 7: 5:00 a.m.-6:00 a.m. (2009) | The dispersal mechanism is set to go off while the train is stopped at Washington Center. | กลไกปล่อยสารพิษ ถูกตั้งให้ทำงานแล้ว รถไฟนี้จะหยุด ที่สถานีวอชิงตัน เซนเตอร์ Day 7: 5:00 a.m.-6:00 a.m. (2009) | All manner of government vehicle are converging on subjects. | กลไกทุกรูปแบบของรัฐ กำลังมุ่งหน้าเข้าหาเป้าหมาย 2012 (2009) | Engage the support mechanisms. | เปิดใช้กลไกรองรับการกระแทก 2012 (2009) | Is this a genetic thing with you? | มันเป็นความผิด ความผิดของกลไกเครื่องยนต์ 4 Days Out (2009) | It's a start. Look for men who are employed as mechanics, body shops, | นั่นแค่เริ่มต้น มองหาผู้ชายที่ทำงานด้านเครื่องยนต์กลไก หรือทำงานในอู่ซ่อมรถ Roadkill (2009) | Second trimester like clockwork. | ไตรมาสที่สอง .. เหมือนกลไกเวลา บึ้ม ! The God-Why-Don't-You-Love-Me Blues (2009) | When left to his own devices, | เมื่อถูกทิ้งให้อยู่กับกลไกจิตใจของตัวเอง Debate 109 (2009) | Human memory is sensory based. | ความจำของมนุษย์ คือกลไกการรับรู้หลัก Grey Matters (2009) | I mean, it's all quantum mechanics and parallel realities with him. | มันเป็นเรื่องกลไกควอนตั้มฟิสิกส์ เรื่องมิติคู่ขนาน Watchmen (2009) | We all got our coping mechanisms. I'm trying to whup him back into shape. | พวกเราใช้กลไกการรับมือทั้งหมดแล้ว ฉันกำลังพยายามเคี่ยวเข็ญให้เค้ากลับมารูปร่างเหมือนเดิม X-Men Origins: Wolverine (2009) | The machine uses a principle of hydro-genetic mutation. | เครื่องนี้ใช้หลักกลไก... การกลายพันธุ์โมเลกุลของน้ำ Cloudy with a Chance of Meatballs (2009) |
| เครื่องกลไก | [khreūangkonkai] (n) EN: machinery | กลไก | [konkai] (n) EN: mechanism ; machinery ; device ; movement FR: mécanisme [ m ] | กลไก | [konkai] (n) EN: office ; organ | กลไกการตรวจสอบอิสระ | [konkai kān trūatsøp itsara] (n, exp) EN: independant auditing mechanism | กลไกป้องกันตน | [konkai pǿngkan ton] (n, exp) EN: defense mechanism | กลไกทางการเมือง | [konkai thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political machinery |
| genetically | (adv) ด้วยกลไกทางพันธุกรรม เช่น scientific and consumer concerns about genetically engineered and modified foods | homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย | Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
| apparatus | (n) ระบบ, See also: กลไก, Syn. device | choke | (n) กลไกชนิดหนึ่งที่ควบคุมเครื่องยนต์ | clockwork | (n) กลไกของนาฬิกา | commutator | (n) กลไกในการสับเปลี่ยนกระแสไฟฟ้า | device | (n) อุปกรณ์, See also: เครื่องประดิษฐ์, เครื่องใช้, กลไก, Syn. expedient, gadget, gismo | engine | (n) เครื่องจักร, See also: เครื่องกล, เครื่องจักรกล, เครื่องยนต์กลไก, เครื่องยนต์, Syn. generator, machine, motor | gadget | (n) อุปกรณ์ขนาดเล็ก, See also: กลไกขนาดเล็ก, Syn. engine, gismo, device | gadgetry | (n) อุปกรณ์ขนาดเล็ก, See also: กลไกขนาดเล็ก | gismo | (n) กลไก, See also: เครื่องกลไก, Syn. gadget, gizmo | gizmo | (n) กลไก, See also: เครื่องกลไก, Syn. gadget, gismo | gunlock | (n) ไกปืน, See also: กลไกที่ทำให้กระสุนปืนระเบิด, Syn. trigger | innards | (n) กลไกภายในเครื่องยนต์, See also: อุปกรณ์ภายในเครื่องยนต์ | locomotive | (adj) ซึ่งเคลื่อนไหวด้วยกลไกหรือพลังของตัวเอง | machine | (n) เครื่องจักร, See also: เครื่องยนต์, กลไก, Syn. device, engine | machine | (n) คณะหรือกลุ่มที่ทำหน้าที่ควบคุมโดยตรง (โดยเฉพาะทางการเมือง), See also: องค์กรที่เป็นกลไกสำคัญ, Syn. party, gang, system | mechanism | (n) ชิ้นส่วนของเครื่องจักร, See also: ส่วนประกอบของเครื่องจักร, ชิ้นส่วนของเครื่องกลไก, Syn. appliance, apparatus, gadget | mechanism | (n) กลไก, See also: วิธีการทำงาน, วิธีการ, หนทาง | movement | (n) ส่วนที่เคลื่อนไหวของระบบกลไก | multiengine | (adj) ี่ประกอบด้วยหลากหลายกลไก | physiology | (n) กลไกชีวภาพ | piezoelectricity | (n) ไฟฟ้าที่เกิดจากการกดดันทางกลไกที่มีต่อผลึกที่ไม่นำไฟฟ้า | baby | (sl) เครื่องยนต์กลไก | servo | (n) กลไกควบคุมกลไกอื่นเช่น สัญญาณวิทยุ (คำไม่เป็นทางการ), Syn. servomechanism, servomotor | servomechanism | (n) กลไกควบคุมกลไกอื่นเช่น สัญญาณวิทยุ, Syn. servo | servomotor | (n) อุปกรณ์ไฟฟ้าควบคุมกลไกการทำงานของ servomechanism, Syn. servo | striker | (n) เครื่องกลไกส่วนที่ยิงลูกปืนไปข้างหน้า | tone | (n) เสียงที่เกิดจากเครื่องยนต์กลไก | universal coupling | (n) ส่วนที่เป็นข้อต่อของเครื่องกลไก, Syn. universal joint | universal joint | (n) ส่วนที่เป็นข้อต่อของเครื่องกลไก, Syn. universal coupling |
| access mechanism | กลไกการเข้าถึง <คำแปล>หมายถึง กลไกของอุปกรณ์ที่ใช้รองรับ และเคลื่อนย้ายก้านเข้าถึง (access arm) ของหน่วยจานบันทึก (disk drive) ไปบนพื้นผิวของจาน เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมา หรือบันทึกข้อมูลลงจานบันทึก | apparatus | (แอพพะแรท'เทิส) n., (pl. -us, -uses) เครื่องมือ, เครื่องไม้, อุปกรณ์, สิ่งช่วย, เครื่องจักร, เครื่องยนต์กลไก, กลไกของรัฐหรือหน่วยงาน, องค์การ, หมายเหตุ, เครื่องสำเร็จ | automatic | (ออโทแมท'ทิค) adj. อัตโนมัติ, เกิดขึ้นอย่างอิสระ, เป็นกลไก, ไร้จิตสำนึก. -n. เครื่องมืออัตโนมัติ. -automaticity n., Syn. involuntary, spontaneous, reflex | card feed | ส่วนป้อนบัตรหมายถึง กลไกของเครื่องเจาะบัตร (keypunch) ที่ทำหน้าที่เลื่อนหรือป้อนบัตรเข้าสู่ตำแหน่งที่ต้องการ เช่น เพื่อให้เจาะรูดู keypunch ประกอบ | clockwork | n. เครื่องกลไกของนาฬิกา, เครื่องกลไกที่คล้ายของนาฬิกา -Phr. (like clockwork ด้วยความเที่ยงตรงสม่ำเสมอ) | device | (ดิไวซฺ') n. อุปกรณ์, เครื่องประดิษฐ์, เครื่องกลไก, แผนการ, หลักในใจ, เครื่องหมาย, Syn. contrivance อุปกรณ์หมายถึง อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ เมาส์ หน่วยจานบันทึก หรือโมเด็ม ซึ่งสามารถรับและแสดงผลข้อมูลได้ อุปกรณ์บางชนิดต้องมีโปรแกรมช่วย โปรแกรมนี้เรียกว่า device driverดู device driver ประกอบ | disk drive | หน่วยจานบันทึกหน่วยขับจานบันทึกหน่วยขับแผ่นบันทึกหมายถึง กลไกส่วนที่ใช้หมุนจานบันทึกให้ผ่านหัวอ่านหรือหัวบันทึก (read/write head) ทำให้ สามารถนำข้อมูลที่บันทึกอยู่ในจานบันทึกมาประมวลผลได้ หากต้องการจะบันทึกข้อมูลใหม่ลงไป ก็ สามารถบันทึกได้เช่นเดียวกัน | drive | (ไดรฟว) { drove, driving, drives } vt. ขับ, ขับไล่, ไล่, ผลัก, ไส, ผลักดัน, ขับขี่, ต้อน (สัตว์เลี้ยง) , ลอย (ซุง) vi. แล่น, พุ่ง, ขับรถ, ตี (ลูกกอล์ฟ, ตะปู) , มุ่งหมาย n. การขับ, การขับขี่, ทางรถ, สัตว์ที่ไล่ตาม, สัตว์ (ที่ต้อน) , การรุกทางทหาร, พลังงาน, แรงกระตุ้น, กลไกในการขับ, หน่วยขับหน่วยบันทึกไดร์ฟ <คำอ่าน>อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่มีหน้าที่อ่านและบันทึกข้อมูล เช่น หน่วยขับแถบบันทึก (tape drive) หน่วยขับจานบันทึก (disk drive) | erase head | หัวลบเป็นกลไกส่วนหนึ่งในหน่วยบันทึกข้อมูล (drive) อยู่ติดกับก้านเข้าถึง (access arm) ใช้ลบข้อมูล หรือแฟ้มข้อมูลออกจากจานบันทึก ดู read/write head | gimmick | (จิม'มิค) n. กลไก, กล, กลลับ, ของเล่นเล็ก ๆ น้อย ๆ , เงื่อนงำ, See also: gimmicky adj. gimmickry n. | gunlock | (กัน'ลอค) n. ไกปืน, กลไก ที่ทำให้กระสุนปืนระเบิด | hardware | n. เครื่องโลหะ. , เครื่องกลไกที่ใช้ปฏิบัติการ, อาวุธ, ยุทโธปกรณ์, อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องกลไกของคอมพิวเตอร์, หมายถึง ส่วนกายภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 1. หน่วยรับข้อมูล เช่น แป้นพิมพ์ หน่วยบันทึก 2. หน่วยความจำ เช่น ชิป (chip) หรือหน่วยความจำรอง เช่น จานบันทึก 3. หน่วยแสดงผล เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ ฯลฯ นอกจากนั้นยังรวมถึงอุปกรณ์ ประกอบอื่น ๆ เช่น โมเด็ม ดู software เปรียบ เทียบ | locomobile | (โลคะโม'บิล) n. รถที่ขับเคลื่อนด้วยกลไกของมันเอง, รถเครื่องอัตโนมัติ. adj. ซึ่งขับเคลื่อนด้วยกลไกหรืออำนาจของมันเอง | locomotive | (โลคะโม'ทิฟว) n. หัวรถจักร, หัวรถไฟ, การส่งเสียงเชียร์หมู่จากจังหวะช้าที่ค่อย ๆ เร็วขึ้น adj. ซึ่งขับเคลื่อนด้วยกลไก หรืออำนาจของมันเอง, เกี่ยวกับหัวรถจักร., See also: locomotivity n. ดูlocomotive | manhandle | (แมน'แฮนเดิล) vt. ปฏิบัติต่ออย่างไม่ดี, ผลักไส, กระทำโดยแรงมนุษย์ (ไม่ได้ใช้เครื่องกลไก) | manifold | (แมน'นะโฟลด์) adj. หลายชนิด, หลากหลาย, มากมาย, นานา, หลาย n. สิ่งที่มีหลายส่วนหลายลักษณะ, สิ่งจำลอง, (เครื่องกลไก) ห้องที่มีทางออกหลายทาง. vt. ถ่ายสำเนา, อัดสำเนา., See also: manifoldness n. | mechanise | (เมค'คะไนซ) vt. ทำให้เป็นเครื่องกลไก, เคลื่อนด้วยเครื่องกลไก, See also: machanisation n. mechaniser n. | mechanism | (เมค'คะนิสซึม) n. ระบบเครื่องกลไก, เครื่องกลไก, กลวิธาน, วิธีการ, โครงสร้าง, ลัทธิวัตถุนิยม, กระบวนการและปฏิกิริยาของแรงจิต., See also: mechanismic adj. mechanist n. mechanistic adj. |
| machinery | (n) เครื่องจักรกล, เครื่องยนต์กลไก, เครื่องมือ, อุปกรณ์ | mechanical | (adj) เหมือนเครื่องจักร, ในทางกลไก, เกี่ยวกับเครื่องจักรกล | mechanics | (n) กลศาสตร์, ระบบเครื่องยนต์กลไก | mechanism | (n) กลไก, เครื่องจักร, ตัวจักร, กลวิธาน, วิธีการ |
| CDM | [ซี ดี เอ็ม] (n) กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) เป็นกลไกที่กำหนดขึ้นภายใต้พิธีสารเกียวโต เพื่อช่วยให้ประเทศอุตสาหกรรมที่มีพันธกรณีในการลดก๊าซเรือนกระจกสามารถบรรลุพันธกรณีได้ และเพื่อส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศกำลังพัฒนา แนวความคิดของกลไกการพัฒนาที่สะอาดคือ โครงการที่เกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนาและสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ผู้ดำเนินโครงการจะได้รับ Certified Emission Reduction (CERs) จากหน่วยงานที่เรียกว่า CDM Executive Board (CDM EB) และ CERs ที่ผู้ดำเนินโครงการได้รับนี้ สามารถนำไปขายให้กับประเทศอุตสาหกรรม ที่สามารถใช้ CERs ในการบรรลุถึงพันธกรณี่ตามพิธีสารเกียวโตได้ | replicant | (n, slang) สิ่งที่คล้ายมนุษย์, หุ่นยนต์ที่คล้ายมนุษย์ , สิ่งที่ถูกสร้างโดยกลไกทางพันธุ์กรรมให้ดูเหมือนมนุษย์ ( * w *m Power by iiiita also RYUTAZA), See also: robot, Syn. android | Special Procedures | (n, org) กลไกพิเศษ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |