มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| บรรทัดฐาน | น. แบบแผนสำหรับยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ, ปทัสถาน หรือ ปทัฏฐาน ก็ว่า. | แบบฉบับ | น. หลักปฏิบัติที่เป็นบรรทัดฐาน, บุคคลหรือสิ่งที่ถือเป็นแบบได้. | แบบอย่าง | น. ตัวอย่างที่จะอ้างเป็นบรรทัดฐานได้. | ปทัฏฐาน | บรรทัดฐาน หรือ ปทัสถาน ก็ว่า. | ปทัสถาน | บรรทัดฐาน หรือ ปทัฏฐาน ก็ว่า. |
| precedent | กรณีเดิมที่อาจถือเป็นบรรทัดฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | precedent | แบบอย่าง, บรรทัดฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | leading case | คดีบรรทัดฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | social norm | บรรทัดฐานทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | approach, normative | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงบรรทัดฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | jurisprudence | ๑. หลักนิติศาสตร์, ธรรมศาสตร์๒. ประมวลคำพิพากษาบรรทัดฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | jurisprudence | ๑. ธรรมศาสตร์, หลักนิติศาสตร์๒. ประมวลคำพิพากษาที่เป็นบรรทัดฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judicial precedent | คำพิพากษาบรรทัดฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | BNF (Backus normal form) | บีเอ็นเอฟ (รูปแบบบรรทัดฐานแบกคัส) [ มีความหมายเหมือนกับ BNF (Backus-Naur form) ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | Backus normal form (BNF) | รูปแบบบรรทัดฐานแบกคัส (บีเอ็นเอฟ) [ มีความหมายเหมือนกับ Backus-Naur form (BNF) ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | case law | หลักกฎหมายที่ถือเอาคำพิพากษาเป็นบรรทัดฐาน (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Chomsky normal form | รูปแบบบรรทัดฐานชอมสกี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | digest | ประชุมย่อคำพิพากษาบรรทัดฐาน (เรียงตามอักษร) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | normalise; normalize | ทำให้เป็นบรรทัดฐาน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | normalise; normalize | ทำให้เป็นบรรทัดฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | normalised random variable; normalized random variable | ตัวแปรสุ่มแบบบรรทัดฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | normalise; normalize | ทำให้เป็นบรรทัดฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | normalize; normalise | ทำให้เป็นบรรทัดฐาน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | normalize; normalise | ทำให้เป็นบรรทัดฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | normalized random variable; normalised random variable | ตัวแปรสุ่มแบบบรรทัดฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | normalise; normalize | ทำให้เป็นบรรทัดฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | normal form | รูปแบบบรรทัดฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | normal form | รูปแบบบรรทัดฐาน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | normative | เชิงปทัฏฐาน, เชิงปทัสถาน, เชิงบรรทัดฐาน [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | normative approach | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงบรรทัดฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | normlessness | ความไร้บรรทัดฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | norm | บรรทัดฐาน, ปทัสถาน, ปทัฏฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | norm | ปทัฏฐาน, ปทัสถาน, บรรทัดฐาน [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | norm | บรรทัดฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | norm, social | บรรทัดฐานทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Order of Precedence | หมายถึง ลำดับอาวุโสทางการทูต โดยถือยศหรือตำแหน่งเป็นบรรทัดฐาน โดยเฉพาะในโอกาสที่ไปร่วมพิธีต่าง ๆ ตลอดจนการเลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ นักการทูตทั่วโลกต่างถือลำดับอาวุโสเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพิถีพิถันกันไม่ น้อย เพราะในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ หากมีการจัดลำดับอาวุโสไม่ถูกต้อง เขาผู้นั้นซึ่งคำนึงถึงศักดิ์ศรีในฐานะตัวแทนของประเทศย่อมต้องรู้สึกว่า นอกจากจะไม่ได้รับความถูกต้องแล้ว ยังเป็นการดูแคลนประเทศของตนด้วยในสมัยก่อน ผู้ที่ทำหน้าที่ชี้ขาดในเรื่องลำดับอาวุโสของบรรดาประมุขของรัฐทั้งหลาย คือสมเด็จพระสันตะปาปา ต่อมาในการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาเมื่อปี ค.ศ. 1815 ที่ประชุมได้ตกลงกันให้ถือวันที่เดินทางมาถึงประเทศผู้รับ และได้แจ้งให้ทราบเป็นทางการว่าเป็นเรื่องลำดับอาวุโส ผู้ที่มาถึงก่อนย่อมมีอาวุโสกว่าผู้ทีมาทีหลัง อย่างไรก็ดี มาในทุกวันนี้มีหลายประเทศถือหลักว่า ผู้แทนทางการทูตที่ยื่นสารตราตั้งก่อนจะมีอาวุโสกว่าผู้ยื่นสารตราตั้งที หลัง และในกรณีที่เกิดความเห็นไม่ลงรอยกันระหว่างบุคคลในคณะทูตเรื่องลำดับอาวุโส ประเทศเจ้าภาพหรือประเทศผู้รับจะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติเกี่ยวกับลำดับอาวุโสของผู้แทนทางการ ทูตไว้ดังนี้ ?ข้อ 16 1. ให้หัวหน้าคณะผู้แทนมีลำดับอาวุโสในแต่ละชั้นของตนตามลำดับวันและเวลาที่ เข้ารับการหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้ง หรือเมื่อได้บอกกล่าวการมาถึงของตนและได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง ต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงตามแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป 2. การเปลี่ยนแปลงในสารตราตั้งของหัวหน้าคณะผู้แทน ซึ่งไม่เกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงชั้นใด ๆ จะไม่กระทบกระเทือนลำดับอาวุโสของหัวหน้าคณะผู้แทน 3. ข้อนี้ไม่เป็นที่เสื่อมเสียแก่ทางปฏิบัติใด ซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับ ในเรื่องลำดับอาวุโสของผู้แทนของโฮลี่ซี ข้อ 17 ลำดับอาวุโสของสมาชิกคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทนนั้น ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้บอกกล่าวแก่กระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน? [การทูต] | Palestine Question | ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต] |
| | บรรทัดฐาน | [banthatthān] (n) EN: standard : norm ; criterion ; yardstick | บรรทัดฐานทางสังคม | [banthatthān thāng sangkhom] (n, exp) EN: social norm FR: norme sociale [ f ] | กรณีบรรทัดฐาน | [karanī banthatthān] (n, exp) EN: precedent |
| criterion | (n) เกณฑ์, See also: บรรทัดฐาน, Syn. basis, standard | motif | (n) บรรทัดฐาน, See also: มาตรฐาน, ลักษณะเด่น, Syn. subject, topic, theme | standard | (n) มาตรฐาน, See also: บรรทัดฐาน, ตัวชี้วัด, Syn. norm, pattern, type |
| criterion | (ไครที'เรียน) n. บรรทัดฐาน, มาตรการ, เกณฑ์, Syn. standard -pl. criteria -Conf. criteria |
| criterion | (n) มาตรฐาน, บรรทัดฐาน, เกณฑ์, มาตรา | motif | (n) ใจความสำคัญ, ลักษณะสำคัญ, บรรทัดฐาน, มาตรฐาน |
| | 目安 | [めやす, meyasu] (n) เกณฑ์ บรรทัดฐาน จุดประสงค์ ความมุ่งหมาย คร่าว ๆ |
| 基準 | [きじゅん, kijun] TH: บรรทัดฐาน EN: basis |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |