ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: อึง, -อึง- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ อึง | (adj) noisy, See also: clamorous, loud, Syn. ดัง, อึกทึก, เอ็ด, Ant. เงียบสงบ | อึง | (v) be noisy, See also: be clamorous, Syn. ดัง, อึกทึก, เอ็ด, Ant. เงียบสงบ, Example: ในอกฉันอึงไปด้วยเสียงกระดอนเต้นของหัวใจ | ทรอึง | (v) to be conceited, See also: consider oneself to be above politics and worldly interests, think highly of oneself, flat, Syn. ถือตัว, หยิ่ง, ไว้ตัว, Ant. ปล่อยตัว | อึงอล | (v) be loud, See also: be stentorian, Syn. ดังลั่น, Ant. เงียบ, Example: เขาลาออกจากราชการมาทำงานท่ามกลางกองต้นฉบับในบรรยากาศที่อึงอลด้วยเสียงแท่นพิมพ์ | อึงอล | (adj) loud, See also: stentorian, uproarious, Syn. ดังลั่น, Ant. เงียบ, Example: เสียงอึงอลติดตามมาจับความไม่ได้ | อึงมี่ | (adv) noisily, See also: clamorously, boisterously, Syn. อื้ออึง, Ant. เงียบ, Example: เกิดการยื้อยุดระหว่างพระกับนางลิง ผู้คนตะโกนเชียร์ทั้งสองฝ่ายอึงมี่, Thai Definition: ดังอื้ออึงระงมไป | อื้ออึง | (adj) loud, See also: noisy, uproarious, tumultuous, vociferous, boisterous, uproarious, Syn. สนั่น, ดังลั่น, เอิกเกริก, Example: เสียงอื้ออึงของผู้คนในละแวกนั้นดังหวีดลั่น, Thai Definition: ที่เซ็งแซ่ | อื้ออึง | (v) (of the ears) ring, See also: (of a noise) deafen, be loud, be vociferous, Syn. สนั่น, ดังลั่น, เอิกเกริก, Example: ลมหายใจของเขาใกล้จะหมด หูของเขาเริ่มอื้ออึง, Thai Definition: เซ็งแซ่ไปหมด | อึงคะนึง | (adj) noisy, See also: clamorous, Syn. เอะอะ, อื้ออึง, Ant. เงียบ | อึงคะนึง | (adv) noisily, See also: clamorously, Syn. เอะอะ, อื้ออึง, Ant. เงียบ, Example: รถติดจนคนขับรถหัวเสียกดแตรบีบไล่กันอึงคะนึง | อึงคะนึง | (v) be noisy, See also: be clamorous, Syn. เอะอะ, อื้ออึง, Ant. เงียบ, Example: ในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เสียงลมเสียงฟ้าอึงคะนึง กิ่งใบของต้นไทรใหญ่หน้าตึกเรียนไหวยวบเหมือนถูกมือยักษ์จับ |
|
| ทรอึง | (ทอระ-) ก. ถือตัว, หยิ่ง. | ทลอึง | (ทนละ-) ก. ตั้งมั่น, มั่นคง. | ประอึง | ก. อึง, ดัง, เอ็ด, อึกทึก. | อึง | ก. ดัง, เอ็ด, อึกทึก, แพร่งพราย. | อึงคะนึง | ว. เอะอะ, อื้ออึง. | อึงมี่ | ว. ดังอื้ออึงระงมไป. | อึงอล | ว. ดังลั่น เช่น เสียงคลื่นลมอึงอล. | อื้ออึง | ว. สนั่น, ดังลั่น, เอิกเกริก. | เอ็ดอึง | ว. เอะอะอื้ออึง. | กระเจ่า, กระเจ้า ๑ | น. นกยาง เช่น กระจาบกระเจ้าจับ ซ้องศัพทอึงอล. | กระฉ่อน | ว. แพร่สนั่นไป, อึงไปทั่ว, อื้อฉาว. | กระเวยกระวาย | ว. เสียงร้องขอความช่วยเหลืออย่างเอ็ดอึง. | กระอึก | ก. อึกทึก, อึง, เช่น ตระคอกคึกกระอึกอึง (กลบท ๒; ม. คำหลวง จุลพน). | กระเอิก | ว. เอิกเกริก เช่น พลเกรอกกระเออกอึง (สรรพสิทธิ์). | กราบ ๓ | (กฺราบ) ก. นอน เช่น เถ้าก็กราบกรนอึงอยู่นั้น (ม. คำหลวง กุมาร). | กริว ๒ | (กฺริว) ว. เกรียว, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, เช่น บางหมู่ก็กริวเกริ่น (ม. ฉันท์ มหาพน). | กริวกราว | ว. เสียงโห่, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, เช่น บ้างโบกธงธุชพรายพราวโลดเต้นกริวกราว. | กาหล | (-หน) ว. เอะอะอื้ออึง เช่น แตกตื่นกันกาหลอลหม่าน, ยามพลบสยงกึกก้อง กาหล แม่ฮา (กำสรวล). | กิดาการ | น. อาการเล่าลือ, เสียงสรรเสริญ, ข่าวเลื่องลือ, บางทีเขียนเป็น กิฎาการ ก็มี เช่น แห่งเออกอึงกิฎาการ (ตะเลงพ่าย). | เกรียว | (เกฺรียว) ว. ลักษณะที่ต่อเนื่องกันมาก ๆ เป็นแถว ๆ เช่น มากันเกรียว, ลักษณะอาการที่เป็นอย่างเดียวพร้อม ๆ กัน เช่น ขนลุกเกรียว, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง เช่น หมาเห่าเกรียว เล่นกันเกรียว. | เกรียวกราว | ว. เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, โดยปริยายหมายความว่า ที่รู้และพูดกันทั่วไป เช่น เป็นข่าวเกรียวกราว. | โกลาหล | (-หน) ว. อื้ออึง, เอิกเกริก, วุ่นวาย, (โบ; กลอน) ใช้เป็น โกลา โกลี ก็มี เช่น เสียงโห่โกลาเกรียงไกร (คำพากย์), พระกุมารโกรธใจเป็นโกลี (ไชยเชฐ). | ขรม | (ขะหฺรม) ว. เอ็ดอึง, แซ่, (ใช้แก่เสียง). | ขะข่ำ | ว. คลํ้า, มืดมัว, เขียนเป็น ขข่ำ ก็มี เช่น ฟ้าแมลบมล่นนร้อง ท้องฟ้าเขียวขขํ่า ยงงฝนพพร่ำพรอยพรำ อื้ออึงอัมพรระงม ด้วยกำลงงลมพายุพัดน้นน (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์). | โขมง | (ขะโหฺมง) ว. ฟุ้ง, เอ็ดอึง, เช่น คุยโขมง. | ครึกโครม | (คฺรึกโคฺรม) ว. อึกทึก, อื้ออึง, ชวนให้ตื่นเต้น, เป็นที่เล่าลือกันแพร่หลาย. | เงียบ | ว. ไม่มีเสียง เช่น นั่งเงียบ, ไม่มีเสียงอื้ออึง เช่น บ้านนี้เงียบ, สงบ, ปราศจากเสียงรบกวนหรือการก่อกวน, เช่น เหตุการณ์เงียบลงแล้ว | เงียบ ๆ | ว. ไม่มีเสียงเอะอะ เช่น นั่งทำงานเงียบ ๆ, ไม่เอิกเกริกอื้ออึง เช่น ทำอย่างเงียบ ๆ | เงียบ ๆ | นิ่งไม่พูดจา, ไม่ทำเสียงเอะอะโวยวายหรืออื้ออึง, เช่น เขาเป็นคนเงียบ ๆ. | จรรโจษ | (จันโจด) ก. โจษจัน, พูดอึง, พูดกันเซ็งแซ่, เล่าลือกันอื้ออึง, เช่น จรรโจษประชามี พลพิรียชาญชม (สมุทรโฆษ), จันโจษ ก็ว่า. | จันโจษ | ก. โจษจัน, พูดอึง, พูดกันเซ็งแซ่, เล่าลือกันอื้ออึง, ในบทกลอนใช้ว่า จรรโจษ ก็มี. | แจจน, แจจัน | อึกทึก, อึง. | โจษ, โจษจัน | (โจด, โจดจัน) ก. พูดอึง, พูดกันเซ็งแซ่, เล่าลือกันอื้ออึง, จรรโจษ หรือ จันโจษ ก็ใช้. | โจษจน, โจษแจ | ก. พูดอึง, เล่าลือกันอื้ออึง. | ฉ่า ๑ | เสียงอื้ออึง เช่น จะชุมฉ่าชายจะมาก (ม. ร่ายยาว ชูชก) | ฉ่าฉาว | ว. เกรียวกราว, เลื่องลือ, อื้ออึง. | ฉาว | ว. อื้ออึง, เอิกเกริก, เกรียวกราว. | ฉาวโฉ่ | ว. อื้ออึง, เกรียวกราวขึ้น, รู้กันทั่วไป, (ใช้แก่ข่าวที่ไม่ดีไม่งาม), โฉ่ฉาว ก็ว่า. | โฉ่ฉาว | ว. อื้ออึง, เกรียวกราวขึ้น, รู้กันทั่วไป, (ใช้แก่ข่าวที่ไม่ดีไม่งาม), ฉาวโฉ่ ก็ว่า. | โฉงเฉง | ว. เอะอะเอ็ดอึงเป็นทำนองเกะกะเกเร เช่น พูดจาโฉงเฉง. | เซ็งแซ่ | ว. ดังอื้ออึงแซ่ไปหมด. | แซ่ ๑ | ว. มีเสียงอื้ออึงจนฟังไม่ได้ศัพท์, โจษกันแพร่หลาย. | ตระการ | ประหลาด, แปลก, เช่น ข้าเห็นร่มชมพู ตรูรัตนพิสาล ตรงตระการกว่าชื่นแล (ม. คำหลวง ทศพร), เสียงแตรสังขแลพาทยเภริยนุดนตรี อึงเองบพักตี ตระการ (อนิรุทธ์) | ต่อแย้ง | ก. ต่อสู้กัน, สู้รบกันไปมา, เช่น รุมกันพุ่งกันแทง เข้าต่อแย้งต่อยุทธ์ โห่อึงอุจเอาไชย (ลอ). | ทรหึง | เสียงเอ็ดอึง. | ทะยาทะแย, ทะยาทะแยแส | ก. เอาใจใส่, สนใจ, แยแส, เช่น แก้สาดเสียสิ้นกินแต่ของ อันใบตองหาทะยาทะแยไม่ (ขุนช้างขุนแผน), เมื่อนั้นรจนาไม่ทะยาทะแยแส คิดว่าเงาะลูบหลังทำรังแก ไม่เหลียวแลร้องอึงคะนึงไป (สังข์ทอง). | ธงนำริ้ว | ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง บังคับให้ซ้ำคำ ๒ คำต้นในวรรค โดยคำที่ซ้ำเปลี่ยนไปทุกวรรค เช่น กุ๋ยกุ๋ยหน้าไม่เก้อละเมอหึง ฟังฟังก็เหมือนแกล้งแพร่งความอึง คิดคิดและให้ขึ้งขุ่นเคืองใจ (ประชุมจารึกวัดพระเชตุพนฯ). | นี่นัน | ว. อึงมี่, อึกทึก, เช่น จึงดำรัสตรัสชวนอนุชา ลงจากพลับพลาผายผัน พร้อมพวกกระบี่นี่นัน จรจรัลไปยังฝั่งนที (ตับเรื่องรามเกียรติ์ ตอนนางลอย). | โบ๊เบ๊ | ว. มีเสียงเอ็ดอึงจนฟังไม่ได้ศัพท์. | ปึงปัง | ว. เสียงดังเอ็ดอึง. |
| | boisterous | (adj) เอะอะ, See also: พลุกพล่าน, อึกทึก, ครืนครั่น, ตูมตาม, ปึงปัง, เอ็ดอึง, พล่าน, เอิกเกริก, แซด, อึง, Syn. noisy, rowdy, Ant. docile |
| rousing | (เรา'ซิง) adj. ตื่นเต้น, เร้าใจ, ปลุกใจ, (เปล่งเสียง) อึงคะนึง, กระฉับกระเฉง, แข็งแรง, มีชีวิตชีวา, สดชื่น. |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |