Search result for

-ไม้ ๑-

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -ไม้ ๑-, *ไม้ ๑*
(Few results found for -ไม้ ๑- automatically try *ไม้ ๑*)
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ไม้ ๑น. คำรวมเรียกพืชทั่วไป โดยปรกติมีราก ลำต้น กิ่ง ก้าน และใบ, เรียกเนื้อของต้นไม้ที่ใช้ทำสิ่งของต่าง ๆ มีลักษณะเป็นท่อน แผ่น หรือดุ้น เป็นต้น, คำประกอบหน้าสิ่งของบางอย่างที่มีลักษณะยาวซึ่งทำด้วยไม้หรือเดิมทำด้วยไม้ เช่น ไม้กวาด ไม้พาย ไม้เท้า ไม้จิ้มฟัน, คำนำหน้าบอกประเภทต้นไม้ เช่น ไม้ยาง ไม้ดำ ไม้แดง, ท่ารำและท่าตีกระบี่กระบองท่าหนึ่ง ๆ เรียกว่า ไม้หนึ่ง ๆ, โดยปริยายหมายความว่า ท่าที เช่น เขาจะมาไม้ไหน, ลักษณนามเรียกของเช่นปลาย่างที่เสียบไม้เรียงเป็นตับว่า ปลาไม้หนึ่ง ปลา ๒ ไม้, เรียกผ้าที่ม้วนโดยมีไม้อยู่ข้างใน ว่า ผ้าไม้หนึ่ง ผ้า ๒ ไม้
ไม้ ๑เรียกลักษณะของสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมไทยที่ย่อตรงมุมของฐาน แท่น เสา หรือเครื่องยอด เป็นมุมเล็ก ๆ มุมละ ๓ มุม รวม ๔ มุมใหญ่ ได้ ๑๒ มุมเล็ก ว่า ย่อไม้สิบสอง หรือ ย่อมุมไม้สิบสอง แม้ย่อมากกว่ามุมละ ๓ ก็ยังเรียกว่า ย่อไม้สิบสอง หรือ ย่อมุมไม้สิบสอง.
กระแตไต่ไม้ ๑น. ชื่อกลบท ตัวอย่างว่า หมายหมองมาดสวาทน้องมาดหมองหมาย
กระแตไต่ไม้ ๑ชื่อเพลงโหมโรงเสภา เดิมเป็นเพลงไทยภาคเหนือสำเนียงลาว ต่อมามีผู้นำมาแต่งขยายเป็นอัตรา ๓ ชั้น โดยใช้ชื่อเดิม.
กระแตไต่ไม้ ๑ดูใน กระแต ๒.
เข้าไม้ ๑ก. นำไม้ตั้งแต่ ๒ ชิ้นขึ้นไปมาบากรับแล้วประกอบเข้าด้วยกัน ยึดไม้นั้นให้แน่นอยู่ในรูปแบบที่ต้องการด้วยการตอกตะปูหรือตอกอัดด้วยลูกสลักไม้ การต่อหรือประกอบอาจทำได้หลายวิธี.
ดอกไม้ ๑น. ฟันของเด็กที่แรกขึ้น.
ดอกไม้ ๑ดูใน ดอก ๑.
ตัวไม้ ๑น. ไม้เครื่องเรือนที่ปรุงไว้เพื่อคุมกันเข้าเป็นเรือน.
น้ำดอกไม้ ๑, น้ำดอกไม้สดน. นํ้าที่ลอยดอกมะลิเป็นต้น มีกลิ่นหอม ใช้ผสมทำขนม ทำเป็นน้ำข้าวแช่ ทำน้ำอบไทย เป็นต้น.
น้ำดอกไม้ ๑ดูใน นํ้า.
ใบไม้ ๑น. ส่วนของพืชที่มีหน้าที่หายใจ คายนํ้า เก็บอาหาร สืบพันธุ์.
ใบไม้ ๑ดูใน ใบ.
ลูกไม้ ๑น. ผลไม้, ลักษณนามว่า ผล.
ลูกไม้ ๑ดูใน ลูก.
หาไม่ ๑ก. ใช้ในความปฏิเสธหมายความว่า ไม่, ไม่มี, เช่น เขาจะสำนึกผิดก็หาไม่ เขาจะมีความเกรงใจสักนิดก็หาไม่
หาไม่ ๑สิ้นสุด เช่น จนกว่าชีวิตจะหาไม่.
เอื้อง ๑น. ต้นกล้วยไม้. (ดู กล้วยไม้ ๑)

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
กระแตไต่ไม้ ๑น. ชื่อกลบท ตัวอย่างว่า หมายหมองมาดสวาทน้องมาดหมองหมาย
กระแตไต่ไม้ ๑ชื่อเพลงโหมโรงเสภา เดิมเป็นเพลงไทยภาคเหนือสำเนียงลาว ต่อมามีผู้นำมาแต่งขยายเป็นอัตรา ๓ ชั้น โดยใช้ชื่อเดิม.
กระแตไต่ไม้ ๑ดูใน กระแต ๒.
เข้าไม้ ๑ก. นำไม้ตั้งแต่ ๒ ชิ้นขึ้นไปมาบากรับแล้วประกอบเข้าด้วยกัน ยึดไม้นั้นให้แน่นอยู่ในรูปแบบที่ต้องการด้วยการตอกตะปูหรือตอกอัดด้วยลูกสลักไม้ การต่อหรือประกอบอาจทำได้หลายวิธี.
ดอกไม้ ๑น. ฟันของเด็กที่แรกขึ้น.
ดอกไม้ ๑ดูใน ดอก ๑.
ตัวไม้ ๑น. ไม้เครื่องเรือนที่ปรุงไว้เพื่อคุมกันเข้าเป็นเรือน.
น้ำดอกไม้ ๑, น้ำดอกไม้สดน. นํ้าที่ลอยดอกมะลิเป็นต้น มีกลิ่นหอม ใช้ผสมทำขนม ทำเป็นน้ำข้าวแช่ ทำน้ำอบไทย เป็นต้น.
น้ำดอกไม้ ๑ดูใน นํ้า.
ใบไม้ ๑น. ส่วนของพืชที่มีหน้าที่หายใจ คายนํ้า เก็บอาหาร สืบพันธุ์.
ใบไม้ ๑ดูใน ใบ.
ไม้ ๑น. คำรวมเรียกพืชทั่วไป โดยปรกติมีราก ลำต้น กิ่ง ก้าน และใบ, เรียกเนื้อของต้นไม้ที่ใช้ทำสิ่งของต่าง ๆ มีลักษณะเป็นท่อน แผ่น หรือดุ้น เป็นต้น, คำประกอบหน้าสิ่งของบางอย่างที่มีลักษณะยาวซึ่งทำด้วยไม้หรือเดิมทำด้วยไม้ เช่น ไม้กวาด ไม้พาย ไม้เท้า ไม้จิ้มฟัน, คำนำหน้าบอกประเภทต้นไม้ เช่น ไม้ยาง ไม้ดำ ไม้แดง, ท่ารำและท่าตีกระบี่กระบองท่าหนึ่ง ๆ เรียกว่า ไม้หนึ่ง ๆ, โดยปริยายหมายความว่า ท่าที เช่น เขาจะมาไม้ไหน, ลักษณนามเรียกของเช่นปลาย่างที่เสียบไม้เรียงเป็นตับว่า ปลาไม้หนึ่ง ปลา ๒ ไม้, เรียกผ้าที่ม้วนโดยมีไม้อยู่ข้างใน ว่า ผ้าไม้หนึ่ง ผ้า ๒ ไม้
ไม้ ๑เรียกลักษณะของสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมไทยที่ย่อตรงมุมของฐาน แท่น เสา หรือเครื่องยอด เป็นมุมเล็ก ๆ มุมละ ๓ มุม รวม ๔ มุมใหญ่ ได้ ๑๒ มุมเล็ก ว่า ย่อไม้สิบสอง หรือ ย่อมุมไม้สิบสอง แม้ย่อมากกว่ามุมละ ๓ ก็ยังเรียกว่า ย่อไม้สิบสอง หรือ ย่อมุมไม้สิบสอง.
ลูกไม้ ๑น. ผลไม้, ลักษณนามว่า ผล.
ลูกไม้ ๑ดูใน ลูก.
หาไม่ ๑ก. ใช้ในความปฏิเสธหมายความว่า ไม่, ไม่มี, เช่น เขาจะสำนึกผิดก็หาไม่ เขาจะมีความเกรงใจสักนิดก็หาไม่
หาไม่ ๑สิ้นสุด เช่น จนกว่าชีวิตจะหาไม่.
เอื้อง ๑น. ต้นกล้วยไม้. (ดู กล้วยไม้ ๑)

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top