ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

non-fiction book

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -non-fiction book-, *non-fiction book*
(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา non-fiction book มีน้อย ระบบได้ทดลองค้นหาใหม่โดยใส่ดอกจันทน์ (wild-card) ให้โดยอัตโนมัติ: *non-fiction book*)
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Non-fiction bookหนังสือสารคดี, Example: หนังสือสารคดี (Non-fiction book) คือ หนังสือที่แต่งขึ้นจากเรื่องที่เรียบเรียงขึ้นจากความจริง ไม่ใช่จากจินตนาการ โดยมีจุดประสงค์เพื่อมุ่งให้สาระความรู้แก่ผู้อ่านเป็นสำคัญ ไม่ได้เจาะจงให้ความเพลิดเพลิน ถึงแม้ว่าเนื้อหาในหนังสือบางเล่มจะให้ทั้งสาระความรู้ ความเพลิดเพลินและความจรรโลงใจในการอ่านด้วยก็ตาม ซึ่งครอบคลุมวิชาการสาขาต่างๆ เช่น หนังสือเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล การรักษาสุขภาพอนามัย ศาสนา ปรัชญา การศึกษา วรรณกรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ชีวประวัติ เป็นต้น</p> <p> โดยสามารถแบ่งหนังสือสารคดีออกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้</p> <ul> <li> หนังสือตำรา (Text book)เป็นหนังสือที่เขียนขึ้นมาเพื่อใช้เป็นสื่อ หรือคู่มือโดยมีเนื้อหาสาระตามหลักสูตรในการศึกษาเล่าเรียนวิชาต่างๆ และระดับการศึกษาต่างๆ ได้แก่ แบบเรียน เอกสารตำรา หนังสือประกอบคำบรรยาย ตำราวิชาการ เป็นต้น</li> <li> หนังสืออ่านประกอบ (External reading1) เป็นหนังสือที่เขียนในเชิงวิชาการที่ไม่ได้ยึดหลักสูตรเป็นหลัก</li> <li> หนังสือความรู้ทั่วไป (General book) เป็นหนังสือที่เขียนเพื่อมุ่งให้ความรู้ทั่วไป ไม่เฉพาะเจาะจงความรู้สาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง&nbsp; เหมาะสำหรับผู้อ่านและผู้สนใจทั่วไป อาจไม่ได้เจาะลึกในเนื้อหาวิชามากนักเป็นการปูพื้นฐาน</li> <li> หนังสืออ้างอิง (Reference book) เป็นหนังสือที่ใช้ในการค้นคว้าหาคำตอบที่ต้องการเพียงเรื่องใดตอนหนึ่งเฉพาะเรื่องที่ต้องการเท่านั้น ไม่ต้องอ่านทั้งเล่ม ให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น&nbsp; ไม่อนุญาตให้ยืมออกนอกห้องสมุด โดยมีสัญลักษณ์กำกับไว้ที่สันหนังสือ&nbsp; คือ&nbsp; อ (อ้างอิง) หรือ Ref (Reference) เช่น พจนานุกรม สารานุกรม นามานุกรม ดรรชนี หนังสือรายปี เป็นต้น</li> <li> วิทยานิพนธ์ (Thesis หรือ Dissert ration) เป็นรายงานผลการศึกษาค้นคว้าวิจัยโดยมีการเรียบเรียงอย่างละเอียดลึกซึ้งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ประกอบการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา หรือการศึกษาขั้นระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอก เพื่อนำเสนอต่อสถาบันการศึกษานั้น</li> <li> คู่มือสถานศึกษา (School Catalog) เป็นหนังสือที่สถาบันการศึกษาต่าง ๆ จัดทำขึ้น ซึ่งให้ความรู้เกี่ยวกับรายละเอียดของสถาบันการศึกษานั้นๆ เกี่ยวกับ ประวัติ หลักสูตรที่เปิดสอน ระเบียบการเรียน ค่าธรรมเนียม รายนามคณาจารย์ วุฒิการศึกษา แนะนำสถานศึกษา กฎระเบียบต่างๆ และสิ่งอำนวยความสะดวก</li> <li> สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publication) คือ สิ่งพิมพ์ที่หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจรับผิดชอบในการผลิต หรือมีส่วนรับผิดชอบในเนื้อหาของสิ่งพิมพ์ หน่วยงานราชการอาจเป็นหน่วยงานระดับกระทรวง กรม กอง ฯลฯ ผลิตขึ้น เพื่อเผยแพร่สารสนเทศ ผลงานของหน่วยงาน หรือความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ อาจเสนอในรูปของหนังสือ วารสาร จุลสาร สิ่งพิมพ์ชุด ฯลฯ เนื้อหาของสิ่งพิมพ์รัฐบาลส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานที่ผลิตสิ่งพิมพ์ สถาบันบริการสารสนเทศหลายแห่งมีระบบการจัดเก็บไว้ให้บริการแยกต่างหากจากหนังสือทั่วไปและหนังสืออ้างอิง เป็นอีกงานหนึ่งต่างหาก อาจเรียกว่า งานสิ่งพิมพ์รัฐบาล ได้แก่ ราชกิจจานุเบกษา เป็นต้น</li> </ul> <p> อ้างอิง : แม้นมาส ชวลิต. (2549). คู่มือบรรณารักษ์ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข) เล่ม 1. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.<br /> <span _fck_bookmark="1" style="display: none">&nbsp;</span> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Non-fiction bookหนังสือสารคดี, Example: หนังสือสารคดี (Non-fiction book) คือ หนังสือที่แต่งขึ้นจากเรื่องที่เรียบเรียงขึ้นจากความจริง ไม่ใช่จากจินตนาการ โดยมีจุดประสงค์เพื่อมุ่งให้สาระความรู้แก่ผู้อ่านเป็นสำคัญ ไม่ได้เจาะจงให้ความเพลิดเพลิน ถึงแม้ว่าเนื้อหาในหนังสือบางเล่มจะให้ทั้งสาระความรู้ ความเพลิดเพลินและความจรรโลงใจในการอ่านด้วยก็ตาม ซึ่งครอบคลุมวิชาการสาขาต่างๆ เช่น หนังสือเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล การรักษาสุขภาพอนามัย ศาสนา ปรัชญา การศึกษา วรรณกรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ชีวประวัติ เป็นต้น</p> <p> โดยสามารถแบ่งหนังสือสารคดีออกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้</p> <ul> <li> หนังสือตำรา (Text book)เป็นหนังสือที่เขียนขึ้นมาเพื่อใช้เป็นสื่อ หรือคู่มือโดยมีเนื้อหาสาระตามหลักสูตรในการศึกษาเล่าเรียนวิชาต่างๆ และระดับการศึกษาต่างๆ ได้แก่ แบบเรียน เอกสารตำรา หนังสือประกอบคำบรรยาย ตำราวิชาการ เป็นต้น</li> <li> หนังสืออ่านประกอบ (External reading1) เป็นหนังสือที่เขียนในเชิงวิชาการที่ไม่ได้ยึดหลักสูตรเป็นหลัก</li> <li> หนังสือความรู้ทั่วไป (General book) เป็นหนังสือที่เขียนเพื่อมุ่งให้ความรู้ทั่วไป ไม่เฉพาะเจาะจงความรู้สาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง&nbsp; เหมาะสำหรับผู้อ่านและผู้สนใจทั่วไป อาจไม่ได้เจาะลึกในเนื้อหาวิชามากนักเป็นการปูพื้นฐาน</li> <li> หนังสืออ้างอิง (Reference book) เป็นหนังสือที่ใช้ในการค้นคว้าหาคำตอบที่ต้องการเพียงเรื่องใดตอนหนึ่งเฉพาะเรื่องที่ต้องการเท่านั้น ไม่ต้องอ่านทั้งเล่ม ให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น&nbsp; ไม่อนุญาตให้ยืมออกนอกห้องสมุด โดยมีสัญลักษณ์กำกับไว้ที่สันหนังสือ&nbsp; คือ&nbsp; อ (อ้างอิง) หรือ Ref (Reference) เช่น พจนานุกรม สารานุกรม นามานุกรม ดรรชนี หนังสือรายปี เป็นต้น</li> <li> วิทยานิพนธ์ (Thesis หรือ Dissert ration) เป็นรายงานผลการศึกษาค้นคว้าวิจัยโดยมีการเรียบเรียงอย่างละเอียดลึกซึ้งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ประกอบการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา หรือการศึกษาขั้นระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอก เพื่อนำเสนอต่อสถาบันการศึกษานั้น</li> <li> คู่มือสถานศึกษา (School Catalog) เป็นหนังสือที่สถาบันการศึกษาต่าง ๆ จัดทำขึ้น ซึ่งให้ความรู้เกี่ยวกับรายละเอียดของสถาบันการศึกษานั้นๆ เกี่ยวกับ ประวัติ หลักสูตรที่เปิดสอน ระเบียบการเรียน ค่าธรรมเนียม รายนามคณาจารย์ วุฒิการศึกษา แนะนำสถานศึกษา กฎระเบียบต่างๆ และสิ่งอำนวยความสะดวก</li> <li> สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publication) คือ สิ่งพิมพ์ที่หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจรับผิดชอบในการผลิต หรือมีส่วนรับผิดชอบในเนื้อหาของสิ่งพิมพ์ หน่วยงานราชการอาจเป็นหน่วยงานระดับกระทรวง กรม กอง ฯลฯ ผลิตขึ้น เพื่อเผยแพร่สารสนเทศ ผลงานของหน่วยงาน หรือความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ อาจเสนอในรูปของหนังสือ วารสาร จุลสาร สิ่งพิมพ์ชุด ฯลฯ เนื้อหาของสิ่งพิมพ์รัฐบาลส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานที่ผลิตสิ่งพิมพ์ สถาบันบริการสารสนเทศหลายแห่งมีระบบการจัดเก็บไว้ให้บริการแยกต่างหากจากหนังสือทั่วไปและหนังสืออ้างอิง เป็นอีกงานหนึ่งต่างหาก อาจเรียกว่า งานสิ่งพิมพ์รัฐบาล ได้แก่ ราชกิจจานุเบกษา เป็นต้น</li> </ul> <p> อ้างอิง : แม้นมาส ชวลิต. (2549). คู่มือบรรณารักษ์ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข) เล่ม 1. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.<br /> <span _fck_bookmark="1" style="display: none">&nbsp;</span> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary
Sachbuch { n }fact book; non-fiction book; book of non-fiction [Add to Longdo]

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ




ติดโพย (PopThai)
 วางเมาส์ที่คำศัพท์เพื่อแสดงป๊อปอัป

 

non ( N AA1 N)-fiction ( F IH1 K SH AH0 N) book ( B UH1 K)

 


 
non
  • ไม่[Lex2]
  • /N AA1 N/ [CMU]
fiction
  • บันเทิงคดี: นวนิยาย, เรื่องเล่า, เรื่องโกหก [Lex2]
  • (ฟิค'เชิน) n. นวนิยาย,นิทาน,เรื่องโกหก,ความเท็จ,การเสกสรรเรื่องขึ้น ###S. story [Hope]
  • (n) นวนิยาย,นิทาน,เรื่องเริงรมย์,เรื่องอ่านเล่น,เรื่องโกหก [Nontri]
  • /F IH1 K SH AH0 N/ [CMU]
  • (n) /f'ɪkʃən/ [OALD]
book
  • หนังสือ[Lex2]
  • จอง: บุ๊ค, จองล่วงหน้า, สั่งจองล่วงหน้า [Lex2]
  • บันทึกข้อหา: เขียนใบสั่ง [Lex2]
  • (บุค) n. หนังสือ v.จอง, การจอง [Hope]
  • (n) หนังสือ,ตำรา,สมุด,คัมภีร์ [Nontri]
  • (vt) จองล่วงหน้า,สำรองที่นั่ง,ลงบัญชี,ลงชื่อ,ลงรายการ,ลงบันทึก [Nontri]
  • /B UH1 K/ [CMU]
  • (vt,n (count)) /b'uk/ [OALD]
 


Search other online dictionaries

English/Thai Dictionary
Thai Dictionary and related
English/Thai Dictionary Software Application
English/English Dictionary
 

Japanese Dictionary
German and German/English Dictionaries
Other translation and dictionary websites
Other interesting resources

Do you know the meaning of this word?

You can Suggest your own translation to Longdo

Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top