มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| Field | เขตข้อมูล, Example: เขตข้อมูล (field) คือ พื้นที่ที่กันไว้สำหรับเก็บข้อมูลตามที่กำหนดไว้ในโปรแกรมฐานข้อมูล ซึ่งเป็นหน่วยย่อยรองลงมาจากระเบียน เป็นข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละระเบียน เช่น เขตข้อมูลปีที่พิมพ์จะเป็นส่วนที่บอกได้ว่าระเบียนที่ค้นคืนได้ หรือที่แสดงผลอยู่นั้นจัดพิมพ์ในปีใด หรือเขตข้อมูลชื่อเรื่องช่วยจำกัดผลการค้นให้ตรงกับความต้องการมากขึ้น</p> <p> การลงรายการทรัพยากรห้องสมุดนั้น เขตข้อมูล (field) เป็นการกำหนดว่าแต่ละเขตข้อมูลนั้นจะมีความยาวเท่าไร และตำแหน่งเริ่มต้นที่ตำแหน่งใด โดยแต่ละระเบียนจะประกอบไปด้วยเขตข้อมูลจำนวนมากรวมกัน และจัดกลุ่มหรือประเภทของเขตข้อมูลด้วยหมายเลขประจำเขตข้อมูล โดยใช้เลข 3 หลัก เริ่มต้นจาก 001 ถึง 999 แทนชื่อเขตข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านข้อมูล ค้นหา และประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว</p> <p> <img alt="เขตข้อมูล (field)" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/images/php451SyK.preview.jpg" style="width: 427px; height: 466px" /></p> <p> ตัวอย่างเขตข้อมูลโดยหมายเลขประจำเขตข้อมูล 3 หลัก ที่จำเป็น เช่น</p> <ul> <li> 020 หมายเลขมาตรฐานหนังสือสากล (International Standard Book Number)</li> <li> 100 ชื่อบุคคลที่เป็นรายการหลัก (Personal name main entry)</li> <li> 245 ชื่อเรื่อง (Title information)</li> <li> 260 ข้อมูลการพิมพ์(Publication information)</li> <li> 300 ข้อมูลลักษณะทางกายภาพ (Physical information)</li> <li> 440 ชื่อชุด/รายการเพิ่ม (Series statement/added entry)</li> <li> 500 หมายเหตุ (Note (s))</li> <li> 650 หัวเรื่อง (Tropical subject headings)</li> </ul> <p> นอกจากนี้ ยังทำให้ฐานข้อมูลมีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในระบบงานต่าง ๆ ร่วมกันได้ โดยที่จะไม่เกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูล หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล อีกทั้งข้อมูลในระบบก็จะถูกต้องเชื่อถือได้ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน</p> <p> </p> <p> อ้างอิง :</p> <p> คูคิน, แดน และวัง, เวลเลซ. (2539). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับอ่านสนุก. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.</p> <p> ทักษิณา สวนานนท์ และฐานิศรา เกียรติบารมี. (2546). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต (พิมพ์ครั้งที่ 10 ฉบับปรับปรุงใหม่ตลอดเล่ม). กรุงเทพฯ: วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.<span _fck_bookmark="1" style="display: none"> </span></p> <p> มหาวิทยาลัยบูรพา. (2548). สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.</p> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Subfield | เขตข้อมูลย่อย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Tag | เขตข้อมูล, Example: เขตข้อมูล เป็นรหัสประกอบด้วยตัวเลข 3 ตัว ใช้ในการลงรายการทางบรรณานุกรมที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ หรือ MAchine-Readable Cataloging (MARC) ซึ่งเป็นแต่ละเขตข้อมูลจะเป็นตัวบ่งบอกข้อมูล แบ่งเป็น 10 กลุ่ม <p> <p> 0XX เขตข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมและระบุเลขเรียกวัสดุสารสนเทศ <p>1XX เขตข้อมูลรายการหลัก <p>2XX เขตข้อมูลชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ ฉบับพิมพ์ การพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p>3XX เขตข้อมูลลักษณะรูปร่าง <p>4XX เขตข้อมูลชื่อชุด <p>5XX เขตข้อมูลหมายเหตุ <p>6XX เขตข้อมูลหัวเรื่อง <p>7XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มที่ไม่ใช่หัวเรื่อง และชื่อชุด <p>8XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มชื่อชุด <p>9XX เขตข้อมูลที่สงวนไว้ให้หน่วยงาน กำหนดใช้ภายในได้ <p>XX หมายถึง การแทนค่ารหัสเขตข้อมูลที่มีรายละเอียดลงไปอีก ตัวอย่าง เขตข้อมูลที่ใช้บ่อยสำหรับการลงรายการทางบรรณานุกรมของหนังสือในระบบห้องสมุดอัตโนมัติด้วย MRAC มีดังนี้ <p>เขตข้อมูล 020 เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ <p>เขตข้อมูล 040 แหล่งที่มาของการลงรายการ <p>เขตข้อมูล 050 เลขหมู่แบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>เขตข้อมูล 082 เลขหมู่แบบทศนิยมดิวอี้ <p>เขตข้อมูล 100 รายการหลักที่เป็นผู้แต่ง <p>เขตข้อมูล 130 ชื่อเรื่องแบบฉบับ <p>เขตข้อมูล 245 ชื่อเรื่อง <p>เขตข้อมูล 246 ชื่อเรื่องอีกชื่อหนึ่ง <p>เขตข้อมูล 250 ครั้งที่พิมพ์ <p>เขตข้อมูล 260 พิมพลักษณ์ <p>เขตข้อมูล 300 บรรณลักษณ์ จำนวนหน้า ภาพประกอบ และขนาด <p>เขตข้อมูล 440 ชื่อชุด <p>เขตข้อมูล 500 หมายเหตุ <p>เขตข้อมูล 505 สารบัญ <p>เขตข้อมูล 520 สาระสังเขป <p>เขตข้อมูล 600 หัวเรื่องที่เป็นชื่อบุคคล <p>เขตข้อมูล 610 หัวเรื่องที่เป็นชื่อนิติบุคคล <p>เขตข้อมูล 650 หัวเรื่องทั่วไป <p>เขตข้อมูล 700 รายการเพิ่มบุคคล (ผู้แต่งเพิ่ม ผู้แปล ผู้วาดภาพประกอบ บรรณาธิการ เป็นต้น) <p>เขตข้อมูล 710 รายการเพิ่มนิติบุคคล <p>เขตข้อมูล 800 ชื่อชุดที่เป็นบุคคล <p>เขตข้อมูล 830 รายการเพิ่มชื่อชุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | field | เขตข้อมูล, สนาม, คอมพิวเตอร์: หน่วยย่อยที่สุดที่ข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทนข้อมูลใดๆ ที่ต้องการเก็บในฐานข้อมูล ฟิสิกส์: ปริมาณที่ทำให้เกิดแรงกระทำต่อวัตถุ สนามมีสามชนิด ได้แก่ สนามโน้มถ่วง สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก สนามโน้มถ่วงทำให้เกิดแรงโน้มถ่วงกระทำต่อมวลของวัตถ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | file | ไฟล์, เขตข้อมูลที่ใช้เก็บไฟล์รูปภาพหรือไฟล์อื่นๆ ซึ่งเขตข้อมูลประเภทนี้จะเป็นเขตข้อมูลขนาดใหญ่ โดยปกติแล้วจะมีความยาวมากกว่าเขตข้อมูลประเภทอื่นๆ โดยเขตข้อมูลนี้จะเก็บข้อมูลในลักษณะเป็นบิตเรียงต่อกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| | เขตข้อมูล | [khēt khømūn] (n) EN: field FR: champ [ m ] ; rubrique [ f ] |
| data field | เขตข้อมูลหมายถึง ที่ซึ่งใช้เก็บข้อมูลเฉพาะในโปรแกรมประเภทการจัดการฐานข้อมูล โดยจัดแบ่งให้แต่ละเขตเก็บข้อมูลแต่ละเรื่อง เช่น แบ่งเป็นเขต ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ อายุ เพศ ฯ ถ้าเรานำเขตข้อมูลเหล่านี้หลาย ๆ เขตมารวมกัน จะเรียกว่า "ระเบียน" (record) | data record | ระเบียนข้อมูลหมายถึง หน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูล โดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู data field ประกอบ | data structure | โครงสร้างข้อมูลหมายถึง รูปแบบของการจัดระเบียบของข้อมูล ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ ศัพท์ต่าง ๆ ในเรื่องของโครง สร้างของข้อมูลที่คุ้นหู มีอยู่หลายคำ เช่น เขตข้อมูล (field) , แถวลำดับ (array) , ระเบียน (record) , ต้นไม้ (tree) , รายการโยง (linked list) เป็นต้น | field | (ฟีลดฺ) { fielded, fielding, fields } n. ทุ่ง, ทุ่งนา, ทุ่งกว้าง, เขตเหมืองแร่, สนาม, อาณาจักร, ขอบเขต, พื้น, ลาน vt. เก็บได้ลูก (บอล) , จับลูกได้ vi. เป็นคนรับลูกในการเล่น (บาสเก็ตบอล, คริคเก๊ต), Syn. area หมายถึง ที่ซึ่งใช้เก็บข้อมูลเฉพาะในโปรแกรมประเภทการจัดการฐานข้อมูล โดยจัดแบ่งให้แต่ละเขตเก็บข้อมูลแต่ละ เรื่อง เช่น แบ่งเป็นเขต ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ อายุ เพศ ฯ ถ้าเรานำเขตข้อมูลเหล่านี้ หลาย ๆ เขตมารวมกัน จะเรียกว่า "ระเบียน" record | field length | ความยาวเขตข้อมูลหมายถึงขนาดความยาวของเขตข้อมูล (field) ที่สามารถกำหนดได้ เช่นเขตข้อมูล "ชื่อ" อาจใช้ความยาวถึงขนาด 30 ตัวอักขระ ส่วนเขตข้อมูล "อายุ" อาจใช้เพียง 2 ตัวอักขระ เป็นต้น แฟ้มข้อมูล (file) แต่ละแฟ้มจะต้องกำหนดเขตข้อมูลที่ใช้ชื่อเดียวกันให้ยาวเท่ากัน เช่น ถ้าเป็นเขตข้อมูล "ชื่อ" ไม่ว่าจะชื่อสั้นหรือยาวเพียงใด ก็ต้องใช้เนื้อที่ 30 ตัว อักขระหมดทั้งแฟ้ม | file creation | การสร้างแฟ้มหมายถึงการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาเพื่อเก็บสารสนเทศต่าง ๆ โดยกำหนดแบ่งเป็นเขตข้อมูลว่า จะให้มีกี่เขต แต่ละเขตจะต้องใช้ความยาวเท่าใด | record | (เรค'เคิร์ด) n. บันทึก, การบันทึก, สำนวน, สิ่งที่บันทึกไว้, ประวัติ, เอกสาร, หลักฐานที่บันทึกหรือเก็บไว้, จานเสียง, แผ่นเสียง, เทปบันทึก vt., vi. (รีคอร์ด') บันทึก, ลงบันทึก adj. เป็นบันทึก, เกี่ยวกับบันทึก, ยอดเยี่ยม, ทำลายสถิติ, ตีกว่าคนอื่น ๆ ทั้งหมด, -Phr. (on record เป็นที่รู้กัน) ระเบียนบันทึก1. หมายถึงหน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูลโดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู field ประกอบ2. ในอีกความหมายหนึ่ง แปลว่า บันทึกเก็บในหน่วยความจำหรือในสื่อที่ใช้เก็บข้อมูลชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น จานบันทึก (ในภาษาอังกฤษ มักใช้คำว่า write แทนมากกว่า) |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |