ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -โรค-, *โรค* |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| | โรคประจำตัว | เชื่อว่าต้องไม่เป็น congenital disease และต้องไม่ใช่ underlying disease เพราะ congenital d. หมายถึง โรค/อาการ ที่เกี่ยวเนื่องจากแรกเกิด โดยไม่รวมที่เกิดหลังจากนั้น, ส่วน underlying disease หมายถึงโรคที่ส่งผลให้เป็นโรคอื่น เช่น โรคเบาหวาน, ความดันโลหิตสูง. | โรคประจำตัว | (n) underlying disease |
| โรค | (n) disease, Syn. โรคภัย, ความเจ็บไข้, โรคภัยไข้เจ็บ, ความเจ็บป่วย | โรค | (n) disease, See also: ailment, malady, affliction, disorder, sickness, illness, infirmity, Example: คนไข้นั่งรอหมอวินิจฉัยโรค, Count Unit: โรค, Thai Definition: ความเจ็บป่วย การบาดเจ็บ ความผิดปกติของร่างกายหรือจิตใจ และหมายความรวมถึงอาการที่เกิดจากภาวะดังกล่าวด้วย | โรคหู | (n) ear problem, See also: ear infection, ear disease, Example: การแคะหูด้วยเครื่องมือสกปรก หรือแคะหูแรงเกินไป อาจทำให้เกิดโรคหูได้ | โรคจิต | (n) psychosis, Syn. โรคทางจิต | โรคจิต | (n) mental disorder, See also: psychosis, Syn. วิกลจริต, Example: คนบางคนมีอาการไม่สบายใจมากจนคนแวดล้อมคิดว่าเป็นโรคจิต, Thai Definition: โรคทางจิตใจที่มีความผิดปกติของความรู้สึก ความคิด อารมณ์ หรือพฤติกรรมอย่างแรงถึงขนาดคุมสติไม่อยู่ | โรคตับ | (n) liver disease, See also: cirrhosis, hepatitis | โรคสมอง | (n) cerebropathy, Thai Definition: โรคที่ก่อให้เกิดความผิดปกติใดๆ แก่สมอง, Notes: (อังกฤษ) | โรคหวัด | (n) common cold, See also: cold, Syn. โรคไข้หวัด, หวัด, Example: ฤดูหนาวอากาศเย็นลง เวลานอนเราต้องใส่เสื้อผ้าหนาๆ เพื่อป้องกันโรคหวัด และโรคปอดบวม, Thai Definition: อาการที่เยื่อของอวัยวะที่เป็นเครื่องหายใจอักเสบ มักทำให้เสียงแห้งและน้ำมูกไหล | โรคแทรก | (n) complication, See also: incurrent disease, Syn. โรคแทรกซ้อน, Example: ผู้ป่วยโรคเบาหวานอาจมีโรคแทรกทางตาเกิดขึ้นได้ ดังนั้นแม้ยังไม่มีอาการของสายตา ก็ควรให้จักษุแพทย์ตรวจอย่างน้อยปีละครั้ง | โรคตาแดง | (n) conjunctivitis, See also: eye inflection, Example: โรคต้อหินชนิดเฉียบพลันเป็นโรคร้ายแรงที่ทำให้ตาบอดมากกว่าโรคตาแดง, Thai Definition: โรคเยื่อหุ้มลูกตาอักเสบ |
| โรค, โรค- | (โรก, โรคะ-) น. ภาวะที่ร่างกายทำงานได้ไม่เป็นปรกติเนื่องจากเชื้อโรคเป็นต้น. | โรคจิต | น. โรคทางจิตใจที่มีความผิดปรกติของความรู้สึก ความคิด อารมณ์ หรือพฤติกรรมอย่างแรงถึงขนาดคุมสติไม่อยู่ เช่น มีอาการหลงผิด ประสาทหลอน, วิกลจริต ก็เรียก. | โรคจิตเภท | น. กลุ่มอาการของโรคทางจิตที่ทำให้ความคิด การรับรู้ อารมณ์ และบุคลิกภาพผิดปรกติ. | โรคนิทาน | (โรคะ–) น. คัมภีร์แพทย์โบราณว่าด้วยสมุฏฐานแห่งโรค. | โรคประจำตัว | น. โรคที่มีติดตัวอยู่เป็นประจำ รักษาไม่หายขาด. | โรคประสาท | น. โรคทางจิตใจที่มีความกังวลเป็นอาการสำคัญ คนไข้อาจมีอาการแสดงออกเป็นความกังวล เช่น กลุ้มใจ หงุดหงิด หรืออาจแสดงออกเป็นอาการทางกาย เช่น ใจสั่น เหงื่อออก เป็นลม กลัวที่สูง. | โรคระบบประสาท | น. โรคของสมองและไขสันหลัง มิได้เกี่ยวข้องกับจิตใจ เช่น เนื้องอกในสมอง เส้นเลือดในสมองตีบตันหรือแตก โรคเหล่านี้ก่อให้เกิดภาวะวิกลจริตได้ในบางครั้งบางคราว. | โรคศิลปะ | (โรกสินละปะ) น. การปฏิบัติเพื่อรักษาโรค. | โรคสมอง | น. โรคที่ก่อให้เกิดความผิดปรกติใด ๆ แก่สมอง. | โรคสะเก็ดเงิน | ดู เรื้อนกวาง. |
| | Bibliophobia | โรคกลัวหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Tropical medicine | โรคเขตร้อน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Communicable diseases | โรคติดเชื้อ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Severe acute respiratory syndrome | โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Acquired immunodeficiency syndrome | โรคเอดส์หรือกลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม, Example: <p>โรคเอดส์เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่า human immunodeficiency virus หรือเรียกย่อๆ ว่า HIV (เอชไอวี) โดยเชื้อไวรัสจะเข้าไปทำลายเม็ดเลือดขาวซึ่งมีความสำคัญในการสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้แก่ร่างกาย ทำให้ผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันต่ำลง จึงทำให้ร่างกายติดเชื้อโรคฉวยโอกาสได้ง่าย เช่น เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และโรคต่างๆ เหล่านี้เป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในที่สุด <p> <p>เชื้อเอชไอวีติดต่อได้หลายวิธีดังนี้<br/> - การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อ ทั้งในรักร่วมเพศและรักต่างเพศ<br/> - การใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อ โดยเฉพาะในผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีดเข้าเส้นที่มักใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน<br/> - การรับเลือดและองค์ประกอบของเลือด การปลูกถ่ายอวัยวะ การผสมเทียม<br/> - ทารกติดเชื้อจากมารดา โดยทารกอาจได้รับเชื้อแพร่มาตามเลือดสายสะดือ หรือติดเชื้อขณะคลอดจากเลือดและเมือกในช่องคลอด หรือติดเชื้อในระยะเลี้ยงดูโดยได้รับเชื้อจากน้ำนม <p> <p>อาการของโรค<br/> ภายหลังได้รับเชื้อในระยะแรกผู้ติดเชื้อบางรายมีอาการไข้และมีต่อมน้ำเหลืองโตตามซอกคอและซอกรักแร้ อาการเหล่านี้จะเป็นอยู่ไม่นานและหายไปได้เอง เมื่อการติดเชื้อดำเนินต่อไปอีกหลายปี ผู้ป่วยจะมีภูมิคุ้มกันเสื่อมลง ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วร่างกาย ต่อมาเริ่มมีอาการ เช่น ไข้เรื้อรัง ท้องร่วงเรื้อรัง มีฝ้าขาวในปาก เมื่อถึงระยะเป็นโรคเอดส์เต็มขั้น ผู้ป่วยจะมีการติดเชื้อฉวยโอกาสและจะเป็นมะเร็งชนิดที่ไม่ค่อยพบในคนทั่วไป นอกจากนี้ผู้ป่วยยังมีอาการทางระบบประสาท เช่น เฉื่อยชา ความจำเสื่อม ผู้ป่วยจะมีน้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็ว <p> <p>ระยะตั้งแต่เชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายจนถึงระยะแสดงอาการโรคเอดส์เต็มขั้นจะกินเวลานานหลายปี ในระหว่างนี้ถ้าต้องการจะทราบว่าติดเชื้อเอชไอวีหรือไม่สามารถทำได้โดยการตรวจเลือด <p> <p>การรักษา<br/> 1. การดูแลผู้ป่วยโดยทั่วไป เช่น การให้อาหารที่เพียงพอ<br/> 2. การรักษาตามอาการ<br/> 3. การรักษาโรคติดเชื้อฉวยโอกาส<br/> 4. การให้ยาต้านเชื้อเอชไอวีเพื่อยับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัส<br/> 5. การให้ยากระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> ประเสริฐ ทองเจริญ จันทพงษ์ วะสี และรวงผึ้ง สุทเธนทร์. (2539). กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมหรือโรคเอดส์. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (เล่มที่ 20, หน้า 242-269). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Osteoporosis | โรคกระดูกพรุน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Dengue fever | โรคไข้เลือดออก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Rheumatoid arthritis | โรคข้ออักเสบรูมาทอยด์, Example: <p>โรคข้ออักเสบรูมาทอยด์ (rheumatoid arthritis) เป็นโรคที่ทำให้เกิดการอักเสบทั่วร่างกาย เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้ข้อ เยื่อบุข้อ และเส้นเอ็นรอบๆ ข้อของผู้ป่วยเกิดอาการอักเสบ เจ็บปวด จนเคลื่อนไหวลำบาก และอาจถึงขั้นพิการได้ และยังพบความผิดปกตินอกข้อที่เป็นได้กับอวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย เช่น การอักเสบของเยื่อหุ้มปอด เยื่อหุ้มหัวใจ <p> <p>สาเหตุ<br/> ถึงแม้สาเหตุที่แท้จริงที่ทำให้เกิดโรคยังไม่ทราบแต่เชื่อว่าเกิดจากหลายสาเหตุประกอบกัน ได้แก่ พันธุกรรม ฮอร์โมน สิ่งแวดล้อม และเชื้อโรค<br/> - พันธุกรรม เช่น เด็กที่เกิดจากพ่อแม่ที่ป่วยเป็นโรคจะมีโอกาสป่วยเป็นโรคได้สูงกว่าคนทั่วไปประมาณ 16 เท่า<br/> - ฮอร์โมน เช่น เพศหญิงมีโอกาสป่วยเป็นโรคได้มากกว่าเพศชายหลายเท่า<br/> - สิ่งแวดล้อม เช่น อากาศและความเป็นอยู่ในเมืองอาจส่งผลต่อการเกิดและความรุนแรงของโรค<br/> - เชื้อโรค เช่น เชื้อไวรัสที่ทำให้เกิดโรค เช่น ไวรัสเอ็ปสไตน์-บารร์ (Epstein-Barr virus : EBV) ไวรัสเริม (herpes virus) เชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรค เช่น เชื้อไมโคแบคทีเรีย (mycobacteria)<br/> <p> <p>อาการ<br/> ข้อต่างๆ ของผู้ป่วยจะมีอาการอักเสบ บวมแดง และฝืดแข็ง ซึ่งอาจรุนแรงจนทำให้เกิดข้อพิการในเวลาต่อมา เช่น ข้อนิ้วมืองอพับผิดรูป ข้อเท้าบวมมีนิ้วเท้ากระดกขึ้น นอกจากเกิดอาการอักเสบกับข้อต่างๆ รวมถึงมีอาการตัวร้อน น้ำหนักตัวลด และกล้ามเนื้อลีบ ยังอาจมีอาการอักเสบเกิดขึ้นนอกข้อกับอวัยวะต่างๆ เช่น มีปุ่มรูมาทอยด์ซึ่งเป็นปุ่มก้อนตามผิวหนังตรงตำแหน่งกดทับต่างๆ หลอดเลือดอักเสบ เยื่อหุ้มปอดอักเสบ เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ภาวะโลหิตจาง <p> <p>การวินิจฉัย<br/> อาศัยการตรวจร่างกายหาอาการอักเสบของข้อต่างๆ รวมถึงปุ่มรูมาทอยด์ สารรูมาทอยด์แฟกเตอร์ในเลือด การเอกซเรย์เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของกระดูก ประวัติของญาติ <p> <p>การรักษา<br/> ขั้นตอนในการรักษา<br/> 1. การวินิจฉัยโรคเร็ว<br/> 2. การประเมินระดับความรุนแรงของโรค<br/> 3. การประเมินว่ามีองค์ประกอบของการพยากรณ์โรคดีหรือไม่ดี<br/> 4. การรักษาที่เหมาะสมกับผู้ป่วย สามารถจำแนกการรักษาได้เป็น 2 รูปแบบ คือ<br/> - การรักษาที่ไม่ใช้ยา การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา การออกกำลังกายควรเริ่มจากการออกกำลังกายแบบไอโซเมตริก (isometric exercise) ซึ่งเป็นการออกกำลังกายแบบเกร็งกล้ามเนื้อโดยไม่มีการเคลื่อนไหวส่วนใดๆ ของร่างกาย เพื่อให้อาการข้ออักเสบดีขึ้นแล้วจึงเปลี่ยนเป็นการออกกำลังกายแบบไอโซโทนิก (isotonic exercise) ซึ่งเป็นการออกแรงโดยต่อสู้กับแรงต้านทาน ทำให้กล้ามเนื้อมีการหดตัวและคลายตัวและข้อต่อมีการเคลื่อนไหว การนอนพัก 6-8 ชั่วโมงในเวลากลางคืนและ 1 ชั่วโมงในตอนบ่ายจะช่วยให้อาการอ่อนเพลียดีขึ้น กายภาพบำบัด การผ่าตัดจะทำในกรณีผู้ป่วยมีโครงสร้างข้อเสียหาย<br/> - การรักษาโดยใช้ยา อาจให้ยาต้านการอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์เพื่อลดอาการปวดข้อ ข้ออักเสบ หรือให้ยาต้านรูมาทิซึมที่ช่วยชะลอการดำเนินโรค ทำให้โรคดีขึ้น หรือในกรณีที่เป็นโรคข้ออักเสบในระดับรุนแรงอาจให้ยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ถึงแม้อาจมีผลข้างเคียงในระยะยาว <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุรศักดิ์ นิลกานุวงศ์. (2553). โรคข้ออักเสบรูมาทอยด์. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (เล่มที่ 35, หน้า 216-241). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Vitiligo | โรคด่างขาว [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Dystonia | โรคดิสโทเนีย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
| Al, I can't help you--I work for senor psychopath, now. | อัล ข้าช่วยเจ้าไม่ได้ ตอนนี้ข้ารับใช้เจ้าไอโรคจิตนี่ Aladdin (1992) | No prison for him, just a happy ending in a quiet, sunlit, peaceful psychiatric institute. | ไม่มีคุกสำหรับเขา แค่อวสานอย่างมีความสุข... ...ในสถาบันโรคจิต ที่เงียบสงบ Basic Instinct (1992) | My house isn't stricken with the plague. | บ้านฉัน ไม่ได้มีโรคระบาด Wuthering Heights (1992) | He's got no teeth. He's all stiff from rheumatism. | ไม่มีฟัน ตัวแข็งเพราะโรคไขข้อ Of Mice and Men (1992) | Amnesia, bunions, chilblains, cholera. | สูญเสียความจำ, ตาปลา, มือและเท้าอักเสบ, อหิวาตกโรค. Hocus Pocus (1993) | Master, I plague thee. What about the book? | เจ้านาย, ฉันขอให้โรคระบาดแก่คุณ, หนังสือเป็นยังไงบ้าง? Hocus Pocus (1993) | Very bad dysentery. | ตอนเป็นโรคบิดอย่างรุนแรงมาก The Joy Luck Club (1993) | Is it filled with a pox - A pox, how delightful, a pox | ในนั้นเต็มไปด้วยเชื้อโรค/ เชื้อโรค วิเศษแค่ไหนหละ เชื้อโรค The Nightmare Before Christmas (1993) | And a plaque that reads | และตายเพราะโรคระบาด The Nightmare Before Christmas (1993) | They told them to breathe all the time because it's good for disinfecting. | บอกให้สูดหายใจเข้าลึกๆเพื่อฆ่าเชื้อโรค Schindler's List (1993) | They cast a spell on you, you know, thejews. | พวกนี้มีอำนาจเหมือนเชื้อโรค Schindler's List (1993) | Soames confessed to the first two murders but couldn't produce any evidence that he committed the crimes. | เขาเข้ารับการรักษา โรค post-adolescent schizophrenia. ที่โรงพยาบาลโรคจิต ประจำรัฐ Soames สารภาพว่าฆ่าเหยื่อสองรายแรก Deep Throat (1993) |
| โรค | [rōk] (n) EN: disease ; sickness ; illness ; disorder ; ailment ; malady ; affliction ; disorder ; infirmity FR: maladie [ f ] ; mal [ m ] ; affection [ f ] ; syndrome [ m ] ; infirmité [ f ] | โรค ... | [rōk ...] (n) EN: illness of ... FR: maladie de ... [ f ] | โรคกรรมพันธุ์ | [rōk kammaphan] (n) EN: hereditary disease ; congenital disorder FR: maladie héréditaire [ f ] | โรคกระดูกอ่อน | [rōk kradūk øn] (n) EN: rickets FR: rachitisme | โรคกระเพาะ | [rōk kraphǿ] (n, exp) EN: gastric disease ; stomach trouble | โรคกลัวน้ำ | [rōk klūa nām] (n) EN: rabies ; hydrophobia FR: rage [ f ] | โรคกาลี | [rōk kālī] (n) FR: anthrax [ m ] | โรคข้อต่ออักเสบ | [rōk khøtø aksēp] (n, exp) EN: gout FR: goutte [ f ] ; tophus [ m ] | โรคจิต | [rōk jit] (n) EN: mental disorder ; neurosis FR: névrose [ f ] ; maladie mentale [ f ] | โรคจิตเภท | [rōk jit phēt] (n, exp) EN: schizophrenia FR: schizophrénie [ f ] |
| | acrophobia | (n) โรคกลัวความสูง | Addison's disease | (n) โรคที่เกิดจากการบกพร่องของต่อมอดรีนัล(Adrenal) | affection | (n) โรค | affliction | (n) โรคภัยไข้เจ็บ | AIDS | (n) เอดส์ (คำย่อของ Acquired Immune Deficiency Syndrome), See also: โรคเอดส์, โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง | ailment | (n) อาการป่วย, See also: โรคทางกาย, ความเจ็บไข้, ความเจ็บป่วย, Syn. illness, sickness | alcoholism | (n) โรคพิษสุราเรื้อรัง | allergy | (n) อาการแพ้, See also: โรคภูมิแพ้, Syn. hypersensitivity, hay fever | amoebic dysentery | (n) โรคบิดมีตัว | angina | (n) โรคอักเสบที่ลำคอ |
| abort | (อะบอร์ท') vt. แท้ง, คลอดก่อนกำหนด, ล้มเหลว, เจริญไม่สมบูรณ์, ด้านการแพร่พันธ์ของโรค, Syn. miscarry, go wrong | abulia | (อะบู' เลีย) n. โรคจิตเสื่อม, การหมดกำลังจิต -abulic, adj. | acervuloma | โรคเนื้องอกในสมองที่ประกอบด้วย psammoma bodies | achrondroplasia | โรคกระดูกของทารกในครรภ์ทำให้แคระ | acropathy | โรคของส่วนปลายโครงกระดูก | acrophobia | (แอคโรโฟ' เบีย) n. โรคกลัวความสูง (dread of high places) | actinomycosis | (แอคทินโนไมโค' ซิส) โรคติดเชื้อและอักเสบในสัตว์และคน เนื่องจากปรสิตทำให้เกิดเป็นก้อนหนองโดยเฉพะารอบขากรรไกร., Syn. lumpy jaw -actinomycotic, adj. | acupuncture | (n. แอค' คูพังเชอะ ; vt. อะคูพัง' เชอะ) ฝังเข็มบำบัด, การใช้เข็มแทงเนื้อเยื่อ, ฝังเข็มเพื่อการบำบัดโรค | addison' s disease | โรคที่เนื่องจากการขาด adrenocortical hormones | aedes egypti | (เออี' ดิซอีจีพ' ไท) ยุงที่เป็นพาหะนำโรคไข้เหลือง (yellow fever) |
| | Aplastic Anemia | โรคโลหิตจางที่มีลักษณะบกพร่องของอวัยวะที่ก่อให้เกิดเลือด (เช่นไขกระดูก) และเกิดจากสารพิษ (เช่นสารเคมีหรือรังสีเอกซ์) หรือไม่ทราบสาเหตุในแหล่งกําเนิด | brittle bones | โรคกระดูกพรุน, Syn. osteogenesis imperfecta | byssinosis | (n) โรคปอดฝุ่นฝ้าย | chikungunya | [ชิคุนกุนยา] (n) โรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ทำให้ผู้ป่วยมีอาการไช้สูงฉับพลัน มีผื่นแดงขึ้นตามร่างกายและอาจมีอาการคัน ตาแดง ในผู้ใหญ่จะพบอาการปวดข้อร่วมด้วย | chronic disease | (n) โรคประจำตัว | coeliac disease | โรคแพ้กลูเต็น | congenital disease | (n) โรคแต่กำเนิด | Cystic fibrosis | โรคทางพันธุกรรมที่มีผลต่อต่อมขับออก(ภายนอก) มันทําให้เกิดการผลิตของเมือกหนาผิดปกติ, นําไปสู่การอุดตันของท่อตับอ่อน, ลําไส้, และหลอดลมและมักจะส่งผลให้ติดเชื้อทางเดินหายใจ. | Cystic kidney | โรคไตเรื้อรังเกิดขึ้นเมื่อไตของคนพัฒนาถุงที่เต็มไปด้วยของเหลวที่เรียกว่าซีสต์เมื่อเวลาผ่านไป โรคไตเรื้อรังที่ได้รับไม่เหมือนกับโรคไตกลายเป็นถุงน้ำ, โรคอื่นที่ทําให้เกิดไตในการพัฒนากลายเป็นซีสต์ | degenerative disc disease | โรคหมอนรองกระดูกเสื่อม |
| ハンセン病 | [はんせんびょう, hansenbyou] (n) โรคเรื้อน | 不眠症 | [ふみんしょう, fuminshou] (n, pron) โรค/อาการนอนไม่หลับ | 感染症 | [かんせんしょう, kansenshou] (n) โรคติดต่อ | 疾患 | [しっかん, shikkan] (n) โรค | 肝炎 | [かんえん, kan'en] (n) โรคตับอักเสบ, See also: R. hepatitis | 肺炎 | [はいえん, haien] (n) โรคปอดอักเสบ | 貧血症 | [ひんけつしょう, hinketsushou] โรคโลหิตจาง | 鶏インフルエンザ | [とりいんふるえんざ, toriinfuruenza] (n) โรคไข้หวัดนก |
| 狂牛病 | [きょうぎゅうびょう, kyougyuubyou] (n) โรควัวบ้า | 発疹チフス | [はっしんちふす, hasshinchifusu] (n) โรคไข้รากสาด | 糖尿病 | [とうにょうびょう, tounyoubyou] (n) โรคเบาหวาน | ノイローゼ | [のいろーぜ, noiroze] (n) โรคประสาท (Eng. Neurosis) | 心臓病 | [しんぞうびょう, shinzoubyou] (n, name) โรคหัวใจ | 精神病 | [せいしんびょう, seishinbyou] (n) โรคจิต | 胃腸病 | [いちょうびょう, ichoubyou] โรคกระเพาะอาหารและลำไส้ (Peptic Ulcer) | おたふく風邪 | [おたふくかぜ, otafukukaze] (n) โรคคางทูม | 阿多福風邪 | [おたふくかぜ, otafukukaze] (n) โรคคางทูม | 気管支炎 | [きかんしえん, kikanshien] (n) โรคหลอดลมอักเสบ (Bronchitis) |
| Epidemie | (n) |die, pl. Epidemien| โรคระบาด | Maßnahmen ergreifen | (phrase) ลงมือทำ จัดการทำ เช่น Wir müssen Maßnahmen gegen SARS-Epidemie ergreifen. เราต้องลงมือหาทางแก้โรคระบาดไวรัสซาร์ | Beschwerde | (n) |die, pl. Beschwerden| การไม่สบาย, ความมีโรคเจ็บป่วย, See also: die Krankheit | leiden an (+D) | (vi) เจ็บป่วยด้วยโรค เช่น Seine Frau leidet an Krebs. ภรรยาของเขาป่วยด้วยโรคมะเร็ง | impfen | (vt) |impfte, hat geimpft| ฉีดวัคซีน เช่น Ich muß mich gegen Pokken impfen lassen. = ผมต้องไปรับวัคซีนป้องกันโรคไข้ทรพิษ(โรคฝีดาษ) | Impfung | (n) |die, pl. Impfungen| การรับวัคซีนป้องกันโรค | Impfstoff | (n) |der, pl. Impfstoffe| เซรุ่มหรือวัคซีนป้องกันโรค | Impfschein | (n) |der, pl. Impfscheine| หนังสือบันทึกการรับวัคซีนป้องกันโรค | Impfzwang | (n) |der, nur Sg.| การบังคับเข้ารับวัคซีนป้องก้นโรค | chronisch | (adj) เรื้อรัง เช่น chronisch kranke Menschen คนที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |