Search result for

*ขอนไม้*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ขอนไม้, -ขอนไม้-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ขอนไม้(n) log, See also: timber, Example: พวกผู้ใหญ่ทั้งชายหญิงมานั่งที่บนขอนไม้อย่างเงียบๆ, Count Unit: ท่อน

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
กระแจะ ๓น. ชื่อรูปปลอกเหล็กสำหรับจับช้างดุ ทางปลายสัณฐานปากเปิดอย่างคีมคีบเบ้าทองเหลือง มีกำลังหดตัวให้ปลายจดเข้าหากันได้ ที่ริมปากมีงาแซงทำด้วยเหล็กปลายแหลมข้างละอัน ที่โคนปลอกมีที่สำหรับสวมคันไม้ไผ่ที่ทะลวงให้กลวง ร้อยเชือกซึ่งผูกจากปลอกลอดออกมาจากคันไม้ ใช้สำหรับพุ่งเข้าไปเกาะขาช้างข้างใดข้างหนึ่งไว้ เมื่อเกาะได้แล้ว โรยปลายไปผูกกับขอนไม้ไว้เพื่อช้างจะได้ลาก ช้างกำลังดุก็ลากไป งาแซงก็จะฝังลึกเข้าไปทุกทีจนไม่สามารถจะก้าวขาได้ ก็เป็นอันจับได้
กระด้าง ๑ชื่อเห็ดหลายชนิดในวงศ์ Polyporaceae ขึ้นบนขอนไม้ เนื้อเหนียว กินไม่ได้ เช่น ชนิด Daedaleaopsis confragosa (Bolt. ex Fr.) Schroet. ดอกเห็ดรูปพัด สีน้ำตาลแดงสลับน้ำตาลอ่อน ผิวไม่เรียบ ด้านล่างมีรู เนื้อในเห็ดแข็ง.
คุว. ไหม้ระอุอยู่ข้างในอย่างไฟที่ไหม้ขอนไม้ระอุอยู่ข้างใน.
ดุริยางค์จำเรียงน. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง กำหนดให้วรรคหนึ่งมี ๙ คำ ในแต่ละวรรคให้มีคำซ้ำ ๓ คู่ ในแต่ละคู่มีคำอื่นมาคั่นตำแหน่งละ ๑ คำ เช่น หวั่นหวั่นจิตรคิดคิดไปใจใจหวล อ่อนอ่อนท้อรอรอรวนนวลนวลสมร ท้าวท้าวแนบแอบแอบน้องย่องย่องจร เหนื่อยเหนื่อยนอนขอนขอนไม้ใต้ใต้ไทร (กลบลศิริวิบุลกิตติ์).
ตามไฟก. จุดให้ไฟติดไว้, สุมไฟที่ขอนไม้ให้ติดอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้ผู้อื่นต่อไฟไปใช้หรือเพื่อแก้หนาว.
ตีนตุ๊กแกชื่อเห็ดชนิด Lopharia papyracea (Jungh.) Reid ในวงศ์ Stereaceae ขึ้นบนขอนไม้ ไม่มีก้าน เป็นแผ่นบางคล้ายกระดาษ สีนํ้าตาลหม่น กินได้ และใช้ทำยา, เห็ดจิก ก็เรียก.
นางรม ๒น. ชื่อเห็ดชนิด Pleurotus ostreatus (Fr.) Quél. ในวงศ์ Polyporaceae ขึ้นเป็นกลุ่มบนขอนไม้ โคนก้านดอกติดกัน มีหลายพันธุ์ ดอกเห็ดสีขาวหรือขาวอมเทา เนื้อนุ่ม กินได้, ชื่อที่ถูกต้องคือ เห็ดหอยนางรม.
พริก ๓(พฺริก) น. ชื่องูพิษขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ในสกุล Maticora วงศ์ Elapidae ลำตัวเรียวยาว ตากลมเล็กสีดำ มีเส้นสีขาวพาดตามความยาวลำตัว มักพบซ่อนตัวอยู่ใต้ก้อนหินหรือขอนไม้ กินงู กิ้งก่า กบ เขียด ในประเทศไทยพบ ๒ ชนิด คือ พริกท้องแดง [ M. bivirgata (Boie) ] ตัวสีน้ำเงินเข้ม หัว ท้อง และหางสีแดงสด ยาวประมาณ ๑.๔ เมตร และพริกสีนํ้าตาล [ M. intestinalis (Laurenti) ] ตัวสีน้ำตาล หัวสีน้ำตาลส้ม ท้องมีลายเป็นปล้องสีดำสลับขาว ใต้หางมีสีแดงเรื่อ ๆ ยาวประมาณ ๕๐ เซนติเมตร ทั้ง ๒ ชนิดพบทางภาคใต้ของประเทศไทย.
ไฟสุมขอนน. ไฟที่คุกรุ่นอยู่ในขอนไม้ขนาดใหญ่ ดับยาก, โดยปริยายหมายถึง อารมณ์รัก โกรธ หรือแค้นเป็นต้นที่ร้อนรุ่มอยู่ในใจ.
ลม ๓น. ชื่อเห็ดชนิด Lentinus polychrous Lév. ในวงศ์ Polyporaceae ขึ้นบนขอนไม้ผุ ดอกเห็ดรูปปากแตร ด้านบนมีเกล็ดสีนํ้าตาลอ่อน ด้านล่างมีครีบสีนํ้าตาลแดง เนื้อเหนียว กินได้.
หนุนเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งรองหัว เช่น หนุนหมอน หนุนตัก หนุนขอนไม้.
หูหนูน. ชื่อเห็ดหลายชนิดในสกุล Auricularia วงศ์ Auriculariaceae ขึ้นบนขอนไม้ ดอกเห็ดเป็นแผ่นวุ้น สีนํ้าตาลอ่อนถึงนํ้าตาลดำ กินได้ เช่น ชนิด A. polytricha (Mont.) Sacc. สีนํ้าตาลอมม่วง นิยมเพาะเลี้ยงกันมาก, ชนิด A. delicata (Fr.) Henn. สีนํ้าตาลอ่อนอมเหลือง เนื้อบางนิ่มยืดหยุ่น, ชนิด A. fuscosuccinea (Mont.) Henn. สีนํ้าตาลดำ เนื้อกรอบกรุบ.

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
habitatแหล่งที่อยู่, สถานที่ที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ตามธรรมชาติ เช่น ใต้ขอนไม้ เป็นแหล่งที่อยู่ของมด กิ้งกือ เห็ด ฯลฯ สระน้ำเป็นแหล่งที่อยู่ของปลา จอก แหน เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ขอนไม้[khøn māi] (n, exp) EN: log ; timber  FR: bûche [ f ]

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
corduroy(คอ'ดะรอย) n. ผ้าริ้ว, ผ้าสักหลาดที่เป็นริ้ว adj. เกี่ยวกับผ้าดังกล่าว, ซึ่งใช้ขอนไม้ปู vi. ใช้ขอนไม้ปู, Syn. pile fabric

English-Thai: Nontri Dictionary
log(n) ซุง, ท่อนไม้, ขอนไม้

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top