ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: คณิต, -คณิต- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ | คณิต | (n) calculation, See also: computation, mathematics, Example: วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณได้แก่วิชาคณิตศาสตร์ เรขาคณิต พีชคณิต เป็นต้น, Thai Definition: การคำนวณ, การนับ | พีชคณิต | (n) algebra, Example: เขาใช้รากฐานของสูตรทางพีชคณิตมาพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์, Count Unit: วิชา, Thai Definition: คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ใช้สัญลักษณ์มาศึกษาการจำแนกประเภท คุณสมบัติและโครงสร้างของระบบจำนวน | เลขคณิต | (n) arithmetic, Syn. วิชาเลขคณิต, Example: ตรองทำแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ขณะที่ดวงดอมทำเลขคณิต, Thai Definition: สาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับเซตจำนวนจริง ทั้งในภาคทฤษฎีและภาคประยุกต์ | เรขาคณิต | (n) geometry, Example: เขาแบ่งผิวโลกโดยใช้ระบบพิกัดทางเรขาคณิต, Thai Definition: คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการจำแนกประเภท สมบัติ และโครงสร้างของเซตของจุดที่เรียงกันอย่างมีระเบียบตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดให้เป็นรูปทรงต่างๆ เช่น เส้นตรง วงกลม รูปสามเหลี่ยม ระนาบ รูปกรวย, Notes: (คณิตศาสตร์) | คณิตศาสตร์ | (n) mathematics, Syn. คณิต, เลข, เลขคณิต, Example: โปรแกรมการสอนคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษมีจำหน่ายแล้ว, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาว่าด้วยการคำนวณ | เรขาคณิตบริสุทธิ์ | (n) pure geometry, Thai Definition: เรขาคณิตที่ใช้กฎเกณฑ์ของระบบตรรกศาสตร์โดยเริ่มต้นจากบทนิยามและสัจพจน์ที่เกี่ยวกับรูปทรงมาเรียบเรียงให้เป็นทฤษฎีบท แล้วอนุมานผลลัพธ์จากทฤษฎีบท, Notes: (คณิต) | เรขาคณิตวิเคราะห์ | (n) analytic geometry, Thai Definition: เรขาคณิตที่ใช้สมการมาควบคุมเซตของจุดที่เรียงกันเป็นรูปทรงต่างๆ แล้วอนุมานผลลัพธ์จากการแก้สมการนั้นๆ รวมทั้งการแปลความหมายด้วย, Notes: (คณิต) |
| คณิต, คณิต- | (คะนิด, คะนิดตะ-) น. การนับ, การคำนวณ, วิชาคำนวณ, มักใช้เป็นคำหลังของวิชาบางประเภท เช่น พีชคณิต เรขาคณิต. | คณิตศาสตร์ | (คะนิดตะสาด, คะนิดสาด) น. วิชาว่าด้วยการคำนวณ. | พีชคณิต | (พีชะคะนิด) น. คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ใช้สัญลักษณ์มาศึกษาการจำแนกประเภท คุณสมบัติ และโครงสร้างของระบบจำนวนหรือระบบคณิตศาสตร์อื่น ๆ ที่เน้นในเรื่องโครงสร้างเป็นสำคัญ รวมถึงการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระบบเหล่านั้นด้วย. | เรขาคณิต | น. คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการจำแนกประเภท สมบัติ และโครงสร้างของเซตของจุดที่เรียงกันอย่างมีระเบียบตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดให้เป็นรูปทรงต่าง ๆ เช่น เส้นตรง วงกลม รูปสามเหลี่ยม ระนาบ รูปกรวย. | เรขาคณิตบริสุทธิ์ | น. เรขาคณิตที่ใช้กฎเกณฑ์ของระบบตรรกศาสตร์โดยเริ่มต้นจากบทนิยามและสัจพจน์ที่เกี่ยวกับรูปทรงมาเรียบเรียงให้เป็นทฤษฎีบท แล้วอนุมานผลลัพธ์จากทฤษฎีบท . | เรขาคณิตวิเคราะห์ | น. เรขาคณิตที่ใช้สมการมาควบคุมเซตของจุดที่เรียงกันเป็นรูปทรงต่าง ๆ แล้วอนุมานผลลัพธ์จากการแก้สมการนั้น ๆ พร้อมทั้งการแปลความหมายด้วย. | เลขคณิต | น. วิชาเกี่ยวกับเซตจำนวนจริงทั้งในภาคทฤษฎีและภาคประยุกต์. | ขอยืม | ก. ขอสิ่งของ เงิน เป็นต้น มาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้วคืนให้หรือใช้คืน, นำของของผู้อื่นมาใช้เป็นของของตน เช่น ขอยืมคำในภาษาบาลีมาใช้ ขอยืมวัฒนธรรมตะวันตกมาใช้ ขอยืมความคิด, (คณิต) ในการลบเลข ถ้าเลขตัวตั้งในหลักใดน้อยกว่าเลขที่จะนำมาลบ ให้นำเลขจากหลักสูงถัดไปมาเพิ่มเลขตัวตั้งเพื่อให้มากพอที่จะลบได้ เช่น ๔๓ - ๕ ในที่นี้ ๕ ลบจาก ๓ ไม่ได้ ๓ ต้องขอยืม ๔ ซึ่งเป็นหลักสิบมา ๑ รวมเป็น ๑๓ แล้วลบออกเสีย ๕ เหลือ ๘ ๔ เมื่อถูกขอยืมไป ๑ ก็เหลือ ๓ ผลลัพธ์ ๓๘, ยืม ก็ว่า. | คอมพิวเตอร์ | น. เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์. | แคลคูลัส | (แคน-) น. คณิตศาสตร์ชั้นสูงแขนงหนึ่ง ศึกษาเกี่ยวกับค่าของจำนวนที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา แบ่งออกเป็น แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ และแคลคูลัสเชิงอินทิกรัล. | โจทย์ | (โจด) น. คำถามในวิชาคณิตศาสตร์, โดยปริยายใช้หมายถึงสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปัญหานี้เป็นโจทย์ที่รัฐบาลแก้ไม่ตก. | ฐาน ๔ | น. เส้นหรือพื้นที่ซึ่งถือว่าเป็นส่วนรองรับรูปเรขาคณิต เช่น ฐานของสามเหลี่ยม ฐานของกรวย, จำนวนที่ใช้เป็นหลักในการสร้างจำนวนอื่น ๆ โดยการยกกำลังหรือหาค่าของลอการิทึม เช่น จำนวน ๓ ใน ๓๔ (= ๘๑) จำนวน ๗ ใน log7 49 (= ๒), จำนวนที่บอกปริมาณในแต่ละหลักของตัวเลข เช่น เมื่อ ๖๓๕ เป็นตัวเลขฐาน ๑๐ ใช้สัญลักษณ์ว่า ๖๓๕๑๐ ซึ่งแทน ๕ + (๓ x ๑๐) + (๖ x ๑๐๒) เมื่อ ๖๓๕ เป็นตัวเลขฐาน ๗ ใช้สัญลักษณ์ว่า ๖๓๕๗ ซึ่งแทน ๕ + (๓ x ๗) + (๖ x ๗๒). | ตรีโกณมิติ | (ตฺรีโกน-) น. คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยฟังก์ชันของตัวแปรจริง ซึ่งแทนขนาดของมุมในรูปสามเหลี่ยม, คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการใช้ฟังก์ชันของมุมเป็นรากฐานในการศึกษาสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหรือรูปอื่นใดที่ทอนลงมาเป็นรูปสามเหลี่ยมได้. | ตัว ๒ | น. จำนวนเลขที่ใช้ในการคำนวณหาคำตอบตามวิธีการทางคณิตศาสตร์ เช่น ตัวบวก ตัวลบ ตัวคูณ ตัวหาร, ลักษณนามใช้เรียกตัวเลข เช่น เลขท้าย ๒ ตัว. | ทฤษฎีบท | น. ข้อความที่พิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง และใช้ในการอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ข้อความอื่นได้ เช่น ทฤษฎีบททางเรขาคณิต. | บวก | ในทางคณิตศาสตร์เรียกจำนวนเลขที่มีค่ามากกว่าศูนย์ ว่า จำนวนบวก. | บวก | น. เรียกเครื่องหมายคณิตศาสตร์รูปดังนี้ + ว่า เครื่องหมายบวก. | ปริภูมิ | (ปะริพูม) น. เซตที่มีโครงสร้างบางอย่าง อาจเป็นโครงสร้างแบบเรขาคณิตหรือโครงสร้างแบบอื่นก็ได้. | ผลึก | ของแข็งที่มีโครงสร้างเป็นรูปทรงเรขาคณิตที่แน่นอนเฉพาะตัว. | รากฐาน | น. หลักสำคัญอันเป็นพื้นฐานรองรับ, ส่วนที่เป็นพื้นรองรับสำหรับพัฒนาต่อไป, เช่น วางรากฐานการศึกษา วิชาคณิตศาสตร์เป็นรากฐานของวิชาวิทยาศาสตร์ | วงเล็บ | ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ลายมือชื่อ เช่น
ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรมสามค่ำเป็นสำคัญ (๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 - b2 = (a + b)(a – b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า. | วงเล็บปีกกา | น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ { } สำหรับใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกันเพื่อให้รู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกันหรือเชื่อมโยงกัน อาจใช้เพียงข้างใดข้างหนึ่งก็ได้ เช่น
ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นสมาชิกของเซตหรือกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บแบบอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น A = { 2, 4, 6, 8 }, 2x – 5{ 7 – (x – 6) + 3x } – 28 = 39. | วงเล็บเหลี่ยม | น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ ตรี อมาตยกุล ] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[ x + 4 – 3{ x + 5 – 4(x + 1) } ] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [ Ba2+ ][ F−2 ] = 1.05.10−6, Na2[ Fe(Cn)5(NO) ]·2H2O. | วิทยาศาสตร์กายภาพ | น. วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ของสิ่งไม่มีชีวิต เช่น เคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์. | วิธี | น. ทำนองหรือหนทางที่จะทำ เช่น วิธีทำฝอยทอง วิธีสอนคณิตศาสตร์ เลขข้อนี้ทำได้หลายวิธี | วิศวกรรม | การนำความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้. | วิศวกรรมศาสตร์ | (วิดสะวะกำมะสาด) น. วิชาที่เกี่ยวกับการนำความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้ มีหลายสาขา เช่น วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมเครื่องกล. | สนใจ | ก. ตั้งใจจดจ่ออยู่กับสิ่งใดเรื่องใดเป็นพิเศษ เช่น เขาสนใจวิชาคณิตศาสตร์มาก, ใฝ่ใจใคร่รู้ใคร่เห็นเป็นต้น เช่น เขาสนใจการเมืองมาตั้งแต่เด็ก. | สัจพจน์ | (สัดจะ-) น. ข้อความที่ยอมรับในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ว่าจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์. | สัญลักษณ์ | (สันยะ-) น. สิ่งที่กำหนดนิยมกันขึ้นเพื่อให้ใช้หมายความแทนอีกสิ่งหนึ่ง เช่น ตัวหนังสือเป็นสัญลักษณ์แทนเสียงพูด H เป็นสัญลักษณ์แทนธาตุไฮโดรเจน + − x ÷ เป็นสัญลักษณ์เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์. | สูงสุด | ว. มากที่สุด เช่น ตัวเลขสูงสุด เขาได้คะแนนคณิตศาสตร์สูงสุดในชั้น. | สูตร ๑ | (สูด) น. กฎสำหรับจดจำ เช่น สูตรคูณ สูตรคณิตศาสตร์ |
|
| | Mathematical model | แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Fuzzy mathematics | คณิตศาสตร์แบบฟัสซี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Clones (Algebra) | โคลนส์ (พีชคณิต) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Induction (Mathematics) | วิธีอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Algebra | พีชคณิต [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Algebra, Linear | พีชคณิตเชิงเส้น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Algebra, Abstract | พีชคณิตนามธรรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Mathematical analysis | คณิตวิเคราะห์ [เศรษฐศาสตร์] | Mathematical model | ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ [เศรษฐศาสตร์] | APL (a programming language) | เอพีแอล ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่งซึ่งคิดค้นขึ้นโดยนักคณิตศาสตร์ชื่อ เคนเนท ไอเวอร์สัน แห่งบริษัทไอบีเอ็ม ใช้สัญลักษณ์ต่างๆ หลากหลายมาใช้แทนคำสั่งในภาษานี้พร้อมกันนั้นก็เพิ่งคำสั่งแปลกๆ ที่ภาษาคอมพิวเตอร์อื่นๆ ไม่มีใช้ลงไปด้วย ทำให้ภาษานี้ซับซ้อนและไม่ได้รับความนิยมนัก ทั้งๆ ที่เป็นภาษาที่มีสมรรถนะสูงมาก [คอมพิวเตอร์] | Programming mathematics | การโปรแกรมเชิงคณิตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Geometrical diffraction | การเลี้ยวเบนเชิงเรขาคณิต [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Error analysis (Mathematics) | การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Mathematical optimization | การหาค่าเหมาะที่สุดเชิงคณิตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Math coprocessor | ตัวประมวลผลร่วมคณิตศาสตร์ [คอมพิวเตอร์] | Mathematics | คณิตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Agricultural mathematics | คณิตศาสตร์การเกษตร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Business mathematics | คณิตศาสตร์ธุรกิจ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Mathematical analysis | คณิตศาสตร์วิเคราะห์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Engineering mathematics | คณิตศาสตร์วิศวกรรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Mathematical statistics | คณิตศาสตร์สถิติ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Variable (Mathematic) | ตัวแปร (คณิตศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Geometrical optics | ทัศนศาสตร์เชิงเรขาคณิต [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Mathematician | นักคณิตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | fixed-point arithmetic | เลขคณิตจุดตายตัว, Example: คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลขที่ตำแหน่งของจุดทศนิยมตายตัว [คอมพิวเตอร์] | floating-point arithmetic | เลขคณิตจุดลอยตัว, Example: คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลขที่ตำแหน่งของจุดทศนิยมไม่ตายตัวสามารถเปลี่ยนไปได้ [คอมพิวเตอร์] | Scientific calculator | เครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์, เครื่องคิดเลขที่มีสูตรคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สถิติ สมการลีเนียร์หลายตัวแปรได้ เป็นต้น [Assistive Technology] | Simulation | การจำลองแบบเสมือน, เป็นการจำลองสถานการณ์โดยใช้สูตรคณิตศาสตร์ สถิติและแคลคูลัส เพื่อให้การคำนวณในสิ่งที่ศึกษามีผลลัพท์ตรงกับหรือใกล้เคียงกับสภาพจริง [Assistive Technology] | Algebra | พีชคณิต [TU Subject Heading] | Algebra, Abstract | พีชคณิตนามธรรม [TU Subject Heading] | Algebra, Boolean | พีชคณิตบูลีน [TU Subject Heading] | Algebras, Linear | พีชคณิตเชิงเส้น [TU Subject Heading] | Arithmetic | เลขคณิต [TU Subject Heading] | Business mathematics | คณิตศาสตร์ธุรกิจ [TU Subject Heading] | Categories (Mathematics) | การจำแนกประเภท (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] | Conversation and phrase books for mathematicians | บทสนทนาและวลี (สำหรับนักคณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] | Convolutions (Mathematics) | คอนโวลูชัน (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] | Critical point theory (Mathematical analysis) | ทฤษฎีจุดวิกฤต (การวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] | Crystallography, Mathematical | คณิตผลึกศาสตร์, คณิตผลิกศาสตร์ [TU Subject Heading] | Decomposition (Mathematics) | ดีคอมโพซิชั่น (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] | Determinants | ตัวกำหนด (พีชคณิต) [TU Subject Heading] | Economics, Mathematical | คณิตเศรษฐศาสตร์ [TU Subject Heading] | Engineering mathematics | คณิตศาสตร์วิศวกรรม [TU Subject Heading] | Games in mathematics education | เกมส์ในการศึกษาคณิตศาสตร์ [TU Subject Heading] | Gemoetry, Differential | เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์ [TU Subject Heading] | Geometry | เรขาคณิต [TU Subject Heading] | Geometry in architecture | เรขาคณิตในสถาปัตยกรรม [TU Subject Heading] | Geometry, Analytic | เรขาคณิตวิเคราะห์ [TU Subject Heading] | Geometry, Descriptive | เรขาคณิตเชิงพรรณา [TU Subject Heading] | Geometry, Projective | เรขาคณิตเชิงภาพฉาย [TU Subject Heading] |
| Like in Math, I'm better. Aren't I? | คณิตศาสตร์ฉันดีกว่านาย ใช่ไหม? Wild Reeds (1994) | Here's tomorrow's math. | นี่เป็นคณิตพรุ่งนี้ Wild Reeds (1994) | - One-nothing! - Hold it. Go! | พีชคณิตหรือครับ Big (1988) | Ready? Here we go! | ใช่แล้ว นั่นคือพีชคณิตล่ะนะ Big (1988) | He was extremely brilliant. At 14 he won a mathematics olympiad. | เขาเป็นคนที่ยอดเยี่ยมมาก ที่ 14 เขาได้รับรางวัลการแข่งขันคณิตศาสตร์ The Russia House (1990) | Mathematics. | คณิตศาสตร์ The Russia House (1990) | Pythagoras believed that music was a mathematical exercise. | พิธาโกรัสเชื่อว่าดนตรี เป็นการฝึกทางคณิตศาสตร์ The Young Indiana Jones Chronicles (1992) | It was a mathematical exercise to honor the gods and you will be tested on it. | เป็นการฝึกทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้เกียรติพระเจ้า และคุณจะต้องสอบมัน The Young Indiana Jones Chronicles (1992) | Former winners include Nobel laureates, Field's medal winners... renowned astrophysicists and lowly M.I.T. professors. | คนก่อนที่ทำได้ ยังได้รางวัลโนเบิล แชมป์คณิตศาสตร์โลก กลายเป็นนักดาราศาสตร์ชื่อดัง เป็นศาสตราจารย์กระจอกที่ M.I.T. Good Will Hunting (1997) | - Yes? I'm in your applied theories class. We're all up at the math and science building. | หนูเรียนห้องอาจารย์ พวกเราทุกคน รออยู่ที่อาคารวิทย์คณิตค่ะ Good Will Hunting (1997) | All right. I'll do the math, but I'm not gonna meet with any fuckin' therapist. | ผมจะไปเรียนคณิตศาสตร์ แต่ผมไม่ไปหาจิตแพทย์เด็ดขาด Good Will Hunting (1997) | Professor Gerald Lambeau, Field's medal winner for combinatorial mathematics. | นักคณิตศาสตร์เหรียญทองและ นักวิชาการคณิตศาสตร์ หวัดดี Good Will Hunting (1997) | It's a really big deal. It's like the Nobel prize for math. | รู้แล้วต้องทึ่ง รางวัลโนเบลสาขาคณิตศาสตร์ Good Will Hunting (1997) | But he came across this old math book, and from the simple text, he was able to extrapolate theories... that had baffled mathematicians for years. | จากตรงนั้นเขาได้พลิกประวัติศาสตร์ จนนักคณิตศาสตร์ไม่ยอมรับอยู่ ตั้งหลายปี Good Will Hunting (1997) | And brought him over to England, and then they worked together for years, creating some of the most exciting math theory ever done. | เขาสร้างช่วยกันทฤษฎีคณิตศาสตร์ ที่น่าตื่นเต้นที่สุด Good Will Hunting (1997) | We know your theory, Alexander, but the boy's found a simple geometrical picture. | เรารู้ทฤษฎีของนาย แต่เด็กคนนั้นเขียนรูปเรขาคณิต ได้สบายๆ เลยนะ Good Will Hunting (1997) | - Cutting edge mathematics, think tanks. | แข่งขันคณิตศาสตร์ เป็นของสถาบัน Good Will Hunting (1997) | Did some brilliant work in mathematics. | เป็นเด็กที่ฉลาดมากด้านคณิตศาสตร์ Good Will Hunting (1997) | Right. Well, I mean, when it came to stuff like that, I could always just play. | ถ้าเรื่องคณิตกับเคมี ผมบอกตรงๆ หวานหมู Good Will Hunting (1997) | Superstring theory, chaos math, advanced algorithms. | เป็นทฤษฎีที่ล้ำลึกเกี่ยวกับตัวเลข และการแก้สูตรคณิตศาสตร์ Good Will Hunting (1997) | It is a mathematical certainty. | ตามหลักคณิตศาสตร์ง่ายๆ Titanic (1997) | That's probably the hardest geometry equation in the world. | นั่นเป็นสมการเรขาคณิตที่ยากที่สุดในโลก Rushmore (1998) | I need a signature on this geometry test, by the way. | ผมขอลายเซ็น ในใบสอบเรขาคณิตด้วยครับ Rushmore (1998) | What was your major? | ก็คงจะเรียนเบิ้ลเอกคณิตศาสตร์ กับแพทย์ศาสตร์ คุณเอกอะไรฮะ Rushmore (1998) | Mathematics is the language of nature. | คณิตศาสตร์เป็นภาษาของธรรมชาติ Pi (1998) | But life isn't just mathematics, Max. | แต่ชีวิตมันไม่ใช่แค่คณิตศาสตร์ แมกซ์ Pi (1998) | I work with computers. Math. | - ผมทำงานกับคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์น่ะ Pi (1998) | Math? | - คณิตเหรอ ประเภทไหนล่ะ ? Pi (1998) | Hebrew is all math. It's all numbers. | ฮีบรูคือคณิตศาตร์ทั้งหมด คือตัวเลขทั้งมวล Pi (1998) | Fibonacci is an Italian mathematician in the 13th. | ฟีโบนาชชี เป็นนักคณิตศาตร์ชาวอิตาเลียน สมัยศตวรรษที่ 13 Pi (1998) | See, there's math everywhere. | เห็นมั้ย ที่ไหน ๆ ก็มีคณิตศาสตร์ Pi (1998) | It tortures the great Greek mathematician for weeks. | ทรมานนักคณิตศาสตร์กรีกผู้ยิ่งใหญ่ อยู่หลายวัน Pi (1998) | It can't be easily summed up with math. | ไม่สามารถคำนวณออกมาง่าย ๆ โดยสมการคณิตศาสตร์ Pi (1998) | Mathematician, cult leader. | นักคณิตศาตร์ , ผู้นำทางศาสนา... Pi (1998) | Best represented geometrically as the golden rectangle. | ตัวอย่างชัดเจนที่สุดเชิงเรขาคณิต ก็คือสี่เหลี่ยมมุมฉากทอง Pi (1998) | That's bullshit! It's mathematics, numbers, ideas. | เหลวใหลน่า มันคือคณิตศาสตร์ ตัวเลข ไอเดีย... Pi (1998) | Mathematicians should go to the edge. | - เราต้องไปให้ถึงสุดขอบ - มีสิ่งสำคัญกับชีวิตมากกว่าคณิตศาสตร์ Pi (1998) | How are you at calculus? | เรียนพิชคณิตรู้เรื่องมั้ย Never Been Kissed (1999) | Math workbook pg.216, #14-8! | จากหนังสือคณิตศาสตร์ หน้า 216 หัวข้อ 14-8 Crazy First Love (2003) | I will always remember the math-club madmen making the perfect fake ID's which lasted six seconds. | ฉันจะจดจำ ชมรมบ้าคณิตศาสตร์ แอบทำ บัตรประจำตัวปลอมสุดเจ๋ง The Girl Next Door (2004) | If the source of the signal is so sophisticated... why the remedial math? | อธิบายเรื่องนี้กับฉัน หากแหล่งที่มาของสัญญาณเป็นดังนั้น ที่มีความซับซ้อนทำไมคณิตศาสตร์แก้ไข? Contact (1997) | Mathematics is the only truly universal language. | คณิตศาสตร์เป็นภาษา สากลอย่างแท้จริงเท่านั้น Contact (1997) | It was largely mathematical and in spite of reports to the contrary appears to be completely benign in nature. | เวลามาตรฐาน ของภูเขา มันเป็นทางคณิตศาสตร์ ส่วนใหญ่ และทั้งๆที่มีการรายงาน ไปในทางตรงกันข้าม Contact (1997) | We've tried over a million permutations. | เราได้พยายามกว่าล้านพีชคณิต Contact (1997) | Early testing indicated high predisposition towards science and mathematics. | การทดสอบก่อนที่ระบุจูงใจสูง ต่อวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ Contact (1997) | This was the key that allowed us to decipher their language for physics, geometry, chemistry. | นี้เป็นกุญแจสำคัญ ที่ช่วยให้เราสามารถถอดรหัส ภาษาของพวกเขา ฟิสิกส์เรขาคณิตเคมี กรอบถัดไปเอลลี Contact (1997) | This and other contextual clues now lead scientists to believe the message is, in fact... | ภายในโครงสร้างทาง เรขาคณิตของบางชนิด นี้และเบาะแสตามบริบทอื่น ๆ ขณะนี้นักวิทยาศาสตร์ สามารถนำไปสู่ Contact (1997) | ... theMathCluband the ChessClub . | ... ชมรมคณิตศาสตร์และชมรมหมากรุก The Day After Tomorrow (2004) | I get up in the morning... breakfast, math tutor, Latin tutor, lunch, tennis lessons, dance lessons... | ฉันตื่นมาตอนเช้า... ทานข้าวเช้า / เรียนคณิตศาสตร์ ภาษาลาติน แล้วก็ทานมื้อกลางวัน จากกนั้นก็เรียนเทนนิส เรียนเต้นรำ... The Notebook (2004) | - Yeah, I like math. - Why? | ใช่ ฉันชอบคณิตศาสตร์ / ทำไมล่ะ Mean Girls (2004) |
| อนุกรมเลขคณิต | [anukrom lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic series ; arithmetical series FR: série arithmétique [ f ] | อนุกรมเรขาคณิต | [anukrom rēkhākhanit] (n, exp) EN: geometric series | แบบฝึกหัดเลขคณิต | [baēpfeuk-hat lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic exercise FR: exercice d'arithmétique [ m ] | โดยวิธีพีชคณิต | [dōi withī phīchakhanit] (adv) FR: algébriquement | จำนวนเลขคณิต | [jamnūan lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic number FR: nombre arithmétique [ m ] | ค่าเฉลี่ยเลขคณิต | [khāchalīa lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic mean FR: moyenne arithmétique [ f ] | คณิตกรณ์ | [khanitkøn] (n) EN: computer FR: calculateur [ m ] | คณิตศาสตร์ | [khanittasāt] (n) EN: mathematics ; math FR: mathématiques [ fpl ] ; maths [ fpl ] (fam.) | คณิตศาสตร์บริสุทธิ์ | [khanittasāt børisut] (n, exp) EN: pure mathematics ; pure math | คณิตศาสตร์ฟิสิกส์ | [khanittasāt fisik] (n, exp) EN: mathematical physics FR: physique mathématique [ f ] | คณิตศาสตร์การเงิน | [khanittasāt kānngoen] (n, exp) EN: mathematical finance ; mathematics of finance ; financial engineering ; financial mathematics | เกี่ยวกับพีชคณิต | [kīokap phīchakhanit] (adj) EN: algebraic FR: algébrique | กฎของเลขคณิต | [kot khøng lēkkhanit] (n, exp) EN: laws of arithmetic | เลขคณิต | [lēkkhanit] (n) EN: arithmetic FR: arithmétique [ f ] | นักคณิตศาสตร์ | [nak khanittasāt] (n) EN: mathematician FR: mathématicien [ m ] ; mathématicienne [ f ] | นักพีชคณิต | [nak phīchakhanit] (n, exp) FR: algébriste [ m ] | นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ | [niphot thāng khanittasāt] (n, exp) EN: numeric expression | พีชคณิต | [phīchakhanit] (n) EN: algebra FR: algèbre [ f ] | เรขาคณิต | [rēkhākhanit] (n) EN: geometry FR: géométrie [ f ] | เรขาคณิตบริสุทธิ์ | [rēkhākhanit børisut] (n, exp) EN: pure geometry | เรขาคณิตวิเคราะห์ | [rēkhākhanit wikhrǿ] (n, exp) EN: analytic geometry FR: géométrie analytique [ f ] | รูปเรขาคณิต | [rūp rēkhākhanit] (n, exp) FR: figure géométrique [ f ] ; forme géométrique [ f ] | รูปเรขาคณิตสามมิติ | [rūp rēkhākhanit sām] (n, exp) FR: figure géométrique à 3 dimensions [ f ] | รูปเรขาคณิตสองมิติ | [rūp rēkhākhanit søng miti] (n, exp) FR: figure géométrique à 2 dimensions [ f ] | รูปทรงเรขาคณิต | [rūpsong rēkhākhanit] (n, exp) EN: geometric form FR: forme géométrique [ f ] | ทางเลขคณิต | [thāng lēkkhanit] (adj) EN: arithmetic FR: arithmétique | วิชาคณิตศาสตร์ | [wichā khanittasāt] (n, exp) EN: mathematics FR: mathématiques [ fpl ] | วิชาเลขคณิต | [wichā lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic |
| computer | (n) คณิตกร (ศัพท์บัญญัติในภาษาไทย) | space | (n) (คณิต.) ปริภูมิ | domain | (n) (คณิต.) ขอบเขตกำเนิด | cardinality | (n) จำนวนสมาชิกในเซ็ตทางคณิตศาสตร์ที่ให้มา | data science | (n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
| algebra | (n) พีชคณิต | algebraic | (adj) เกี่ยวกับพีชคณิต | altitude | (n) ระยะทางจากฐานถึงจุดสูงสุด (เรขาคณิต) | arithmetic | (adj) เกี่ยวกับเลขคณิต, Syn. arithmetical, mathematical | arithmetic | (n) คณิตศาสตร์, Syn. mathematics | arithmetical | (adj) เกี่ยวกับเลขคณิต, Syn. arithmetic, mathematical | cos | (n) คอส (ทางเรขาคณิต), See also: สัดส่วนของด้านประชิดกับมุมตรงข้ามมุมฉากของสามเหลี่ยม, Syn. cosine | cosine | (n) โคไซน์ (ทางเรขาคณิต), See also: สัดส่วนของด้านประชิดกับมุมตรงข้ามมุมฉากของสามเหลี่ยม, Syn. cos | degree | (n) องศา (หน่วยวัดมุมทางเราขาคณิต) | divide | (vi) หาร (ทางคณิตศาสตร์), Syn. subdivide, separate, Ant. integrate, unite | divide | (vt) หาร (ทางคณิตศาสตร์), Syn. subdivide, separate, Ant. integrate, unite | econometrics | (n) การใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และทางสถิติในการทดสอบทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ | ellipsoid | (n) รูปทรงเรขาคณิตที่มีลักษณะเป็นรูปกลมรีเหมือนไข่ | epicycle | (n) วัตถุทรงกลมที่กลิ้งไปรอบๆ เส้นรอบวงของวัตถุทรงกลมที่ใหญ่กว่า (ทางเรขาคณิต) | equation | (n) สมการ (คณิตศาสตร์) | equiangular | (adj) (รูปทรงเรขาคณิต) ซึ่งมีมุมเท่ากันทุกมุม | equilateral | (adj) (รูปทรงเรขาคณิต) ซึ่งมีด้านเท่ากันทุกด้าน | Euclid | (n) นักคณิศาสตร์ชาวกรีก ผู้สร้างแบบเรียนมาตรฐานทางเรขาคณิตซึ่งใช้มาจนถึงศตวรรษที่ 19 | factor | (n) ตัวประกอบ (ทางคณิตศาสตร์) | function | (n) ความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับจำนวนที่ขึ้นอยู่กับจำนวนอื่น มีสัญลักษณ์คือ f | geometric progression | (n) อนุกรมเรขาคณิต | geometrician | (n) นักเรขาคณิต | geometry | (n) เรขาคณิต | invariant | (n) ค่าคงที่ (ทางคณิตศาสตร์) | involute | (n) เส้นโค้ง (ทางเรขาคณิต) | least common multiple | (n) ตัวคูณร่วมน้อย (ทางคณิตศาสตร์), Syn. l.c.m. | log | (n) คณิตศาสตร์ลอการิทึม, Syn. logarithm | logarithm | (n) คณิตศาสตร์ลอการิทึม, Syn. log | math | (n) คณิตศาสตร์ (คำเรียกย่อของวิชาคณิตศาสตร์), See also: เลข, Syn. mathematics | mathematical | (adj) เกี่ยวกับคณิตศาสตร์, See also: เกี่ยวกับการคำนวณ, Syn. arithmetical, numerical, scientific | mathematically | (adv) ทางคณิตศาสตร์ | mathematician | (n) นักคณิตศาสตร์ | mathematics | (n) คณิตศาสตร์, See also: เลข, เลขคณิต, วิชาคำนวณ, Syn. math | maths | (n) วิชาคณิตศาสตร์ | matrix | (n) เมตริกซ์ (ทางคณิตศาสตร์), Syn. vector, tensor | median | (n) ค่ากลาง (ทางคณิตศาสตร์), See also: ค่ามีเดียน, ค่าเฉลี่ย, Syn. average, center | negative | (n) เครื่องหมายลบ (ทางคณิตศาสตร์) | notation | (n) เครื่องหมายที่ใช้แทนระบบตัวเลขหรือเสียง, See also: สัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายในทางดนตรี คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ | op art | (n) การศึกษาศิลปะแนวสื่อความหมายด้วยรูปแบบเรขาคณิตและสี, Syn. Op Art, Op | parabola | (n) เส้นโค้งวงกลม (ทางเรขาคณิต), See also: เส้นพาราโบลา, Syn. arc | perimeter | (n) เส้นรอบวง (ทางเรขาคณิต), Syn. circumference | protractor | (n) ไม้โปรแทรคเตอร์ สำหรับวัดมุมทางเรขาคณิต | quadratics | (n) สาขาพีชคณิตที่ศึกษาเกี่ยวกับ quadratic equation | radical | (n) ราก (คำศัพท์, ตัวเลขทางคณิตศาสตร์) | radix | (n) ราก (ทางคณิตศาสตร์) | reciprocal | (n) จำนวนเลขที่กลับกัน (ทางคณิตศาสตร์), Syn. complement | rectify | (vt) หาความยาวของเส้นโค้ง (ทางคณิตศาสตร์) | root | (n) รากในคณิตศาสตร์, See also: กรณฑ์ | rule | (n) วิธีการคำนวณทางคณิตศาสตร์ | secant | (n) เส้นที่ลากตัดเส้นโค้งที่2จุดหรือมากกว่า2จุด (ทางเรขาคณิต) |
| abelian | (อะบี' เลียน, อะเบล' ยัน) adj. เกี่ยวกับ Niels Henrik Abel (นักคณิตศาสตร์มีชื่อ) เปลี่ยนกลุ่มได้, กลุ่มที่เปลี่ยนได้ | absolute maximum | (คณิต) ค่าสูงสุดของ function ของ set เฉพาะ | absolute value | (คณิต) n. ปริมาณที่ไม่เกี่ยวกับเครื่องหมาย, ระยะทางจากศูนย์ (molulus) | algebra | (แอล' จิบรา) n. พืชคณิต | algebraic | (แอลจิเบร' อิค) adj. เกี่ยวกับพืชคณิต, Syn. algebraical -algebraist n. | algorism | (แอล' กะริสซึม) n. ระบบเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ของอาหรับ (โดยใช้ตัวเลข 1, 2, 3.......) วิธีการคำนวณด้วเลขอาหรับ, ลำดับขึ้นตอนที่แน่นอนซึ่งใช้ในการแก้ปัญหา, ขั้นตอนวิธี, ชุดของคำสั่งที่กำหนดไว้อย่างมีขั้นตอนเพื่อใช้แก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง -algorismic adj. | algorithm | (แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้ | alu | (เอแอลยู) ย่อมาจาก arithmetic and logical unit เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะดู central processing unit ประกอบ | analog computer | (แอน' นะลอกคอมพิวเตอร์) n. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่คำนวณด้วยสิ่งที่แทนตัวเลขได้ และมีการแสดงผลลัพธ์โดยทางภาพที่ปรากฏบนจอภาพ หน้าปัด หรืออ่านค่าได้จากเครื่องวัด ค่าต่าง ๆ ที่นำมาใช้กับการคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ เป็นค่าที่ต่อเนื่อง เช่น อุณหภูมิ ความดัน อย่างไรก็ตาม การใช้คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จำเป็นต้องใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ช่วย เพื่อจะนำมาเปรียบเทียบแทนค่าได้ ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ ได้แก่ สไลด์รูล (slide rule) เทอร์โมแสตท (thermostat) เครื่องวัดความเร็วรถยนต์ เป็นต้น ความละเอียดถูกต้องในการคำนวณด้วยอะนาล็อกคอมพิวเตอร์มีน้อยกว่าดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากดู digital computer เปรียบเทียบ | analytical geometry | วิชาเรขาคณิตที่นำเอาวิธีการทางพีชคณิตมาใช้ ว่าด้วยการจำแนกจุด เส้นและเนื้อที่ (a branch of mathematics) | archimedes | (อาร์คิมี'ดี') n. ชื่อนักคณิตศาสตร์ นักประดิษฐ์และนักฟิสิกส์ของกรีก ผู้ค้นพบกฎแห่งความถ่วงและคาน. -Archimedean adj. | arithmetic | (อะริธ'เมททิค) n. เลขคณิต, หนังสือเกี่ยวกับเลขคณิต. -adj. เกี่ยวกับเลขคณิต | arithmetic logic unit | หน่วยคำนวณและตรรกะ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ALU เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะ ดู central processing unit ประกอบ | arithmetician | (อะริธมีทิช'เชิน) n. ผู้ชำนาญเลขคณิต (expert in arithmetic) | bezier curve | รูปโค้งเบซิเอร์หมายถึง รูปเส้นโค้งทางคณิตศาสตร์รูปหนึ่ง เป็นโค้งที่ไม่มีรูปลักษณ์ที่มีกฏเกณฑ์เป็นสูตรกำหนด การสร้างเส้นโค้งในโปรแกรมบางโปรแกรม จะต้องเริ่มด้วยการลากเส้นตรงขึ้นมาเส้นหนึ่งก่อน แล้วสร้างจุดสองจุดบนเส้นตรงนั้น ใช้เมาส์ดึงแต่ละจุดขึ้นไป ในทิศทางที่ต่างกัน ก็จะได้โค้งแบบเบซีเอร์ ขึ้นมา | boolean logic | ตรรกะแบบบูลหมายถึง ค่า"จริง" (True) หรือ "ไม่จริง " (False) ใช้มากในการเขียนโปรแกรม เป็นหลัก พิชคณิต ที่ตั้งตามชื่อของผู้คิด คือ ยอร์ช บูล (George Boole) หลักทั่วไปคล้ายพิชคณิต ธรรมดา แต่ใช้ระบบเลขฐานสอง | computer | (คัมพิว'เทอะ) n. เครื่องคอมพิวเตอร์, เครื่องคำนวณ, ผู้คำนวณ คณิตกรณ์หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจำข้อมูลและคำสั่งได้ ทำให้สามารถทำงานไปได้ โดยอัตโนมัติด้วยอัตราความเร็วที่สูงมาก ใช้ประโยชน์ในการคำนวณหรือการทำงานต่าง ๆ ได้เกือบทุกชนิด มี 3 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ (main frame) ขนาดกลาง (mini computer) และขนาดเล็กที่กำลังได้รับความนิยมทั่วไปในขณะนี้ เรียกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ (micro computer) หรือ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) ที่เรียกกันย่อ ๆ ว่า พีซี ปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นที่ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ สื่อสารได้ นอกเหนือไปจากการใช้เพื่อการคำนวณตามวัตถุประสงค์ดั้งเดิมของผู้ประดิษฐ์ | computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล | conics | (คอน'นิคซฺ) n. สาขาเรขาคณิตที่เกี่ยวกับรูปกรวย | coprocessor | ตัวประมวล (ผล) ร่วมหมายถึง ตัวประมวลผลตัวหนึ่ง ที่แยกออกมาเพื่อเอาไว้ใช้ทำงานในส่วนที่เกินความสามารถของตัวประมวลผลหลัก เพื่อที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วขึ้น เช่น ตัวประมวลภาพจะทำหน้าที่เฉพาะในเรื่องการแสดงภาพ ตัวประมวลผลคณิตก็จะทำหน้าที่เฉพาะด้านการคำนวณ | differential | (ดิฟฟะเรน'เชิน) adj., n. เกี่ยวกับความแตกต่างกัน, เกี่ยวกับหรือประกอบด้วยอนุพันธ์ (derivative-วิชาคณิตศาสตร์) | differential calculus | n. สาขาคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับความแตกต่างและอนุพันธ์ | digital computer | ดิจิตอลคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์เชิงเลขหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์แบบหนึ่ง ซึ่งจะแก้ปัญหาได้ด้วยวิธีการทางเลขคณิต โดยป้อนข้อมูลเป็นตัวเลข และให้ผลลัพธ์เป็นเลข คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะคิดคำนวณในระบบตัวเลขด้วยสัญญาณดิจิตอล คือ บวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบ และจะให้ค่าที่ไม่ต่อเนื่อง คอมพิวเตอร์นั้นแบ่งตามลักษณะการรับ/ส่งข้อมูลเป้น 2 ชนิด คือ อะนาล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) และดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (digital computer) คอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้ส่วนมากจะเป็น ดิจิตอลคอมพิวเตอร์เกือบทั้งสิ้น ผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะถูกต้องและแม่นยำกว่าอะนาล็อกคอมพิวเตอร์ดู analog computer เปรียบเทียบ | discriminant | (ดิสครีม'มะเนินทฺ) n. เครื่องแสดงทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับ roots | domain | (โดเมน') n. อาณาเขตการปกครอง, อาณาจักร, ที่ดินขอบเขต, กลุ่มของคำ (ในทางคณิตศาสตร์) ของตัวแปรอิสระของ function, See also: domainal, domainial adj., Syn. discipline | extended ascii | รหัสแอสกีแบบขยายเดิมรหัสแอสกีจะมีสัญลักษณ์ 128 ตัวอักขระ แต่ต่อมาได้เพิ่มเป็น 255 ตัวอักขระ ชุดตัวอักขระ 255 ตัวนี้ที่เรียกว่ารหัสแอสกีขยาย ซึ่งจะเพิ่มรหัสสำหรับภาษาต่างประเทศ สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ และภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ วิธีใช้ ก็เพียงแต่กดแป้น ALT พร้อมกับเลขตั้งแต่ 51-255 กำหนดแบบอักษร (font) ที่เป็นภาพ เช่น Wingdings ก็จะได้สัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น ถ้ากดแป้น ALT กับรหัส 255 จะได้สัญลักษณ์เป็นภาพสัญลักษณ์วินโดว์ | fibonacci numbers | เลขไฟโบนาชชี่หมายถึง แบบแผนทางคณิตศาสตร์แบบหนึ่งที่กำหนดให้ จำนวนเลขลำดับที่สาม เป็นผลบวกของเลขสองตัวที่อยู่ลำดับ ก่อนหน้า เช่น 4, 8, 12, 20, 32..... (12 เป็นผลบวกของ 4 กับ 8 และ 20 เป็นผลบวกของ 8 กับ 12 เป็นดังนี้ไปเรื่อย ๆ) ใช้ได้ดีในการเขียนโปรแกรมบางโปรแกรม เพราะทำให้สามารถเข้าสู่จุดตำแหน่งที่ต้องการได้รวดเร็วขึ้น (บางทีเรียก fibonacci series หรืออนุกรมไฟโบนาชชี) | fortran | (ฟอร์แทรน) เป็นชื่อภาษาระดับสูง (high level language) ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง สร้างขึ้นเป็นภาษาแรก ๆ เพื่อให้นัก คณิตศาสตร์ใช้ได้สะดวก และรวดเร็ว ย่อมาจากคำว่า FORmular TRANslator ซึ่งก็แปลได้ว่า ตัวแปลสูตรคณิตศาสตร์ นั่นเอง โปรแกรมภาษาฟอร์แทรนนั้น สามารถนำไปใช้กับ เครื่อง คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ได้หลายยี่ห้อ โดยแทบจะไม่ต้อง ปรับ แก้เลย ก่อนหน้าที่จะมีการใช้ภาษานี้ นักเขียนโปรแกรม รู้จัก แต่ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) | function | (ฟังคฺ'เชิน) หน้าที่, การปฏิบัติงาน, ภาระกิจ, งาน, พิธี, บทบาท, ประสิทธิภาพ, การชุมนุมใหญ่, (คณิตศาสตร์) จำนวนที่ขึ้นอยู่กับจำนวนอื่น, ฟังค์ชัน. vi. ปฏิบัติหน้าที่, กระทำ, ใช้ตำแหน่งหน้าที่, Syn. perform, work, do | generatrix | (เจนนะเร'ทริคซฺ) n. ตัวสร้างรูป (คณิตศาสตร์) -pl. generatrices | geometer | (จีออม'มิเทอะ) n. นักเรขาคณิต | geometric | (จีอะเมท'ทริค) adj. เกี่ยวกับเรขาคณิต, See also: geometrically adv., Syn. geometrical | geometric progression | อนุกรมค่าเรขาคณิต, Syn. geometric series | geometric series | อนุกรมค่าเรขาคณิต, Syn. geometric series | geometrician | n. นักเรขาคณิต | geometry | (จีออม'เมที) n. เรขาคณิต | handheld | ขนาดมือถือเป็นคำบอกขนาดของไมโครคอมพิวเตอร์ที่เล็กกว่าขนาดวางตัก (laptop) และขนาดโน้ตบุ๊ก (notebook) มีลักษณะคล้ายเครื่องคิดเลขที่มีหน่วยความจำ มีสูตรคณิตศาสตร์ต่าง ๆ เก็บไว้ | index | (อิน' เดคซฺ) n. ดรรชนี, เครื่องชี้, เข็มชี้, นิ้วชี้, เลขกำลังในเครื่องหมายพีชคณิต, สารบัญสิ่งตีพิมพ์ที่ต้องห้ามในศาสนาโรมันคาทอลิก (Index Librorum Prohibitorum) , หนังสือหรือวัตถุที่ต้องห้าม, สารบัญ, คำนำ. -vt. จัดให้มีสารบัญ, จัดให้มีดรรชนี, ใส่ดรรชนี, เ | law | (ลอ) { lawed, lawing, laws } n. กฎหมาย, กฎ, กฎข้อบังคับ, คำสั่ง, วิชากฎหมาย, ความรู้ทางกฎหมาย, อาชีพกฎหมาย, หลักความประพฤติ, กฎทางคณิตศาสตร์ -Phr (the Law บัญญัติสิบประการของโมเซส, คำสั่งสอนในพระคัมภีร์ไบเบิล) . vi., vt. ดำเนินคดี, ฟ้องร้อง | liberal arts | ศิลปศาสตร์ (ประกอบด้วยวิชาsocial sciences, natural sciences, humanitiesและarts) , 7 อย่างที่เกี่ยวกับศิลปะสมัยก่อนคือดาราศาสตร์, ตรรกวิทยา, ไวยากรณ์, การพูด, เลขคณิต, เรขาคณิต, ดนตรี | locus | (โล'คัส) n. สถานที่, ตำแหน่ง, ตำแหน่งของ genes ในโครโมโซม, (คณิตศาสตร์) ชุดของจุดทั้งหมดเส้นทั้งหมดหรือผิวหน้าทั้งหมด ที่มีลักษณะตามที่ต้องการ pl. -loci, Syn. site, place | logistic | (โลจิส'ทิค) adj. เกี่ยวกับตรรกวิทยา n. ตรรกสัญลักษณ์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์, วิชาคำนวณ, พลาธิการ, การส่งกำลังบำรุงทางทหาร | math | (แมธ) n. คณิตศาสตร์, abbr. mathematics | math coprocessor | ตัวประมวลผลร่วมคณิตศาสตร์หมายถึง แผ่นวงจรพิเศษหรืออาจเป็นชิปที่สร้างไว้เพื่อให้ทำหน้าที่เฉพาะในการคำนวณ เพื่อช่วยเสริมหน่วยประมวลผลอีกชั้นหนึ่ง ซอฟต์แวร์บางตัวจะมีคำสั่งเรียกเอาตัวประมวลคณิตนี้มาใช้โดยอัตโนมัติ ฉะนั้น ถ้านำโปรแกรมนั้นมาใช้กับคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีตัวประมวลชนิดนี้ ก็อาจจะมีปัญหาได้ | mathematic | (al) (แมธธะแมท'ทิเคิล) adj. เกี่ยวกับคณิตศาสตร์, แน่นอน, แม่นยำ., See also: mathematic al ly adv. | mathematician | n. นักคณิตศาสตร์ | mathematics | (แมธธะแมท'ทิคซฺ) n. คณิตศาสตร์ | omar khayyam | (โอ'มาร์ ไคยาม', แยม, โอ'มาร์) n. นักกวีและนักคณิตศาสตร์ชาวเปอร์เซียสมัยโบราณ | operation | (ออพพะเร'เชิน) n. การกระทำ, การทำงาน, ปฏิบัติการ, ศัลยกรรม, การเดินเครื่อง, การสู้รบ, วิธีการทางคณิตศาสตร์ (เช่นการบวก, การลบหรืออื่น ๆ) , กิจการ, ปฏิบัติการทางทหาร, ยุทธการ, Syn. working, act, maneuver | operation research | n. การวิจัยปฏิบัติการโดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ เพื่อหาเป้าหมายและให้ได้ประสิทธิภาพที่มากที่สุด |
| | | 数学 | [すうがく, suugaku] คณิตศาสตร์ |
| 形式 | [けいしき, keishiki] TH: สูตรสมการคณิตศาสตร์ EN: math expression |
| Achse | (n) |die, pl. Achsen| แกน (ทางคณิตศาสตร์) เช่น die X-Achse แกนเอ็กซ์ | Wurzel | (n) |die, pl. Wurzeln| รากเชิงคณิตศาสตร์ เช่น Die zweite Wurzel aus sechzehn ist vier. รากที่สองของสิบหกคือสี่ | Formel | (n) |die, pl. Formeln| สูตรทางคณิตศาสตร์ | Raum | (n) |der, pl. Räume| (คณิต.) ปริภูมิ | morphologisch | (adj) เิชิงสัณฐานวิทยา เช่น (Mathematische) morphologische Operation การปฎิบัติการเิชิงสัณฐานวิทยา(ทางคณิตศาสตร์), See also: morphologie |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |