ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: บิดา, -บิดา- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| บิดา | (n) father, Syn. บิดร, พ่อ, ชนก, คุณพ่อ, Example: ลูกที่ดีควรเชื่อฟังคำสั่งสอนของบิดา มารดา ครู อาจารย์, Thai Definition: ผู้ให้กำเนิด, Notes: (สุภาพ) | ฝ่ายบิดา | (n) paternal, Syn. ข้างบิดา, Example: ผู้ที่มียีนลักษณะด้อย 2 ยีน โดยได้รับจากฝ่ายบิดา และฝ่ายมารดาซึ่งเป็นผู้พาโรคก็จะเป็นโรคได้ |
| บิดา | น. พ่อ (ใช้ในภาษาทางการ), โดยปริยายหมายความว่า ผู้ให้กำเนิด เช่น บิดาแห่งประวัติศาสตร์. | กระทำ ๑ | ทำการใด ๆ ที่เกิดผลในทางกฎหมาย แต่การงดเว้นการกระทำใด ๆ ที่กฎหมายกำหนดให้ต้องกระทำ ก็ถือว่าเป็นการกระทำด้วย เช่น บิดามารดามีหน้าที่ดูแลบุตรซึ่งยังเล็กอยู่ การที่บิดามารดาอยู่เฉยไม่หาอาหารให้ ก็อาจถือว่าเป็นการกระทำได้. | กระไร | ว. อะไร เช่น เขาไม่ว่ากระไร, อย่างไร เช่น จะทำกระไรดี, เท่าไร เช่น ถูกปรับเพียง ๑๐๐ บาทก็ไม่กระไรนัก, ทำไม, ไฉน, เช่น ข้าแต่นเรศูรสมเด็จพระบิดาเจ้าข้าเอ่ย กระไรเลยไม่ปรานี (ม. ร่ายยาว กุมาร). | กลางเมือง | เรียกหญิงที่บิดามารดายินยอมยกให้เป็นภรรยาชาย ว่า เมียกลางเมือง. (สามดวง) | กำเนิด | (กำเหฺนิด) น. การเกิด เช่น บิดามารดาเป็นผู้ให้กำเนิดแก่บุตร, มูลเหตุดั้งเดิม เช่น ตัวหนังสือไทยมีกำเนิดมาอย่างไร. | กำพร้า ๒ | (-พฺร้า) ว. ไร้บิดาหรือมารดาเลี้ยงดูแต่เด็ก, (โบ) หมายถึง ร้างลูกร้างเมียด้วย เช่น สองจะลีลาสู่ฟ้า ลาแม่เป็นกำพร้า เจ้าแม่เอ้ยปรานี แม่รา (ลอ), (กลอน) ใช้เป็น ก่ำพร้า ก็มี เช่น เจ้าจะละเรียมไว้ ก่ำพร้าคนเดียว (ลอ). | ค่าน้ำนม | น. เงินที่ฝ่ายชายต้องจ่ายให้แก่บิดามารดาฝ่ายหญิงในการสู่ขอเพื่อตอบแทนเป็นค่าที่ได้เลี้ยงดูมา, (โบ) นิยมใช้เข้าคู่กับคำ ข้าวป้อน เป็น ค่าน้ำนมข้าวป้อน เช่น ให้คิดเอาค่าน้ำนมเข้าป้อนค่าเลี้ยงรักษาแก่มันแลชายซึ่งภาเอาหญิงไปเลี้ยงนั้นให้มันช่วยหญิงเสียกึ่งหนึ่ง (สามดวง) | คาทอลิก | น. ชื่อนิกายหนึ่งของคริสต์ศาสนา มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข เชื่อถือในตรีเอกภาพ คือถือว่า พระบิดา พระบุตร และพระจิต เป็นพระเป็นเจ้าองค์เดียวกัน พระเยซูมี ๒ สภาวะ คือ สภาวะพระเป็นเจ้า กับ สภาวะมนุษย์ ยกย่องแม่พระและนักบุญ มีนักบวชเรียกว่า บาทหลวง, เรียกเต็มว่า โรมันคาทอลิก. | เจ้าฟ้า | น. สกุลยศของพระราชโอรสหรือพระราช-ธิดาที่ประสูติแต่พระมเหสี หรือประสูติแต่พระมารดาที่เป็นพระราชธิดาหรือพระราชนัดดาของพระมหากษัตริย์, สกุลยศของพระราชนัดดาของพระมหากษัตริย์ที่ทั้งพระบิดาและพระมารดาเป็นเจ้าฟ้า | ชื่อสกุล | น. ชื่อประจำวงศ์สกุลซึ่งสืบเนื่องจากบิดาถึงบุตร หรือซึ่งได้รับอนุญาตให้จดทะเบียนเป็นทางการแล้ว, นามสกุล | ตรีเอกภาพ, ตรีเอกานุภาพ | น. คติความเชื่อในศาสนาคริสต์ที่ว่าพระบิดา พระบุตร และพระจิต (คาทอลิก) หรือ พระวิญญาณบริสุทธิ์ (โปรเตสแตนต์) เป็น ๓ บุคคลที่รวมเป็นหนึ่ง ซึ่งความจริงก็คือพระเป็นเจ้าองค์เดียวกันนั่นเอง. | ทะนุบำรุง | ก. เอาใจใส่ดูแลเลี้ยงดู เช่น ทะนุบำรุงบิดามารดา ทะนุบำรุงบุตรธิดา | ท้าทาย | ก. ชวนวิวาท เช่น เพราะเขาว่าท้าทายว่าจะทำอันตรายแก่ท่านไท้บรมนาถราชบิดา (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์) | ทายาทโดยธรรม | น. ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมายในมรดกของผู้ตาย ได้แก่ คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่ ผู้สืบสันดาน บิดามารดา พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา ตามลำดับและส่วนแบ่งที่กฎหมายกำหนดไว้. | ทำนุบำรุง | ก. เอาใจใส่ดูแลเลี้ยงดู เช่น ทำนุบำรุงบิดามารดา ทำนุบำรุงบุตรธิดา | ทิศ ๖ | น. ทิศที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของบุคคล มี ทิศเบื้องหน้าหรือบูรพทิศ ได้แก่ บิดามารดากับบุตร ทิศเบื้องขวาหรือทักษิณทิศ ได้แก่ ครูอาจารย์กับศิษย์ ทิศเบื้องหลังหรือปัจฉิมทิศ ได้แก่ สามีกับภรรยา ทิศเบื้องซ้ายหรืออุตรทิศ ได้แก่ มิตร ทิศเบื้องบนหรือปุริมทิศ ได้แก่ สมณพราหมณ์กับศาสนิกชน และทิศเบื้องล่างหรือเหฏฐิมทิศ ได้แก่ นายกับบ่าวหรือผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา. | ทูลกระหม่อม ๑ | น. คำที่พระราช-โอรสพระราชธิดาทรงเรียกพระราชบิดาที่เป็นพระมหากษัตริย์ | น้อง | น. ผู้ร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกันและเกิดทีหลัง, ลูกของอาหรือของน้า, เรียกคนที่มีอายุคราวน้อง | นิคาลัย | ก. ตาย เช่น ทราบว่าพี่กับบิดานิคาลัย (อภัย). | บทเรศ | (บดทะ-) น. เท้า เช่น กราบบทเรศราชบิดา ท่านแล (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์). | บุตรบุญธรรม | (บุดบุนทำ) น. บุคคลหนึ่งซึ่งบุคคลอื่นที่มิใช่บิดามารดาโดยชอบด้วยกฎหมายได้จดทะเบียนรับเป็นบุตรบุญธรรม บุตรบุญธรรมมีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับบุตรโดยสายโลหิตของผู้รับบุตรบุญธรรม. | บุพการี | น. ผู้ที่ทำอุปการะมาก่อน เช่น บิดามารดาเป็นบุพการีของบุตรธิดา. (ป. ปุพฺพการี) | บุพการี | ญาติทางสายโลหิตโดยตรงขึ้นไป เช่น บิดามารดา ปู่ย่า ตายาย ทวด. | บุพพาจารย์ | น. อาจารย์ในเบื้องต้น คือ บิดามารดา, อาจารย์คนก่อน ๆ ของสถาบันการศึกษา. | บุรพาจารย์, บูรพาจารย์ | (บุระ-, บูระ-) น. อาจารย์ในเบื้องต้น คือ บิดามารดา, อาจารย์คนก่อน ๆ ของสถาบันการศึกษา. | ปฏิบัติ | ปรนนิบัติรับใช้ เช่น ปฏิบัติบิดามารดา ปฏิบัติครูบาอาจารย์. | ปราชาปัตยวิวาหะ | (ปฺราชาปัดตะยะ-) น. การสมรสวิธีหนึ่งที่บิดายกลูกสาวให้เจ้าบ่าวโดยปราศจากการเรียกร้องอย่างใดอย่างหนึ่งจากเจ้าบ่าว. | ปาปอหยีสังฆาตา | (-ปอหฺยี-) น. บิดา, พ่อ. | ปิตา | น. บิดา, พ่อ. | แปดสาแหรก | (-แหฺรก) น. คำเรียกต้นวงศ์สกุล คือ บิดามารดาของปู่และย่า ๔ ของตาและยาย ๔ รวมเป็น ๘ ที่เป็นผู้ดีทั้งฝ่ายบิดาและมารดา เรียกว่า ผู้ดีแปดสาแหรก (เทียบสาแหรกที่มีข้างละ ๔ ขา ๒ ข้างเป็น ๘ ขา). (ดู ผู้ดีแปดสาแหรก ที่ ผู้ ประกอบ). | ผ้าไหว้ | น. ผ้าที่ฝ่ายชายนำไปให้แก่ญาติผู้ใหญ่ของฝ่ายหญิง เพื่อเป็นการเคารพในเวลาแต่งงาน, ปัจจุบันหมายถึง ผ้าที่บ่าวสาวนำไปแสดงความเคารพแก่บิดามารดาหรือญาติผู้ใหญ่ของทั้ง ๒ ฝ่าย. | ผู้ใช้อำนาจปกครอง | น. บิดามารดาที่มีอำนาจปกครองบุตรซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ. | ผู้ดีแปดสาแหรก | น. ผู้ดีที่สืบทอดกันลงมาตั้งแต่ต้นวงศ์สกุลคือบิดามารดาของปู่และย่า ๔ บิดามารดาของตาและยาย ๔ รวมเป็น ๘ | ผู้บุพการี | น. ผู้ที่ทำอุปการะมาก่อน ได้แก่ บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด | ผู้ปกครอง | บุคคลซึ่งศาลตั้งให้ใช้อำนาจปกครองผู้เยาว์ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะและไม่มีบิดามารดา หรือบิดามารดาถูกถอนอำนาจปกครอง. | พรหม, พรหม- | ผู้มีพรหมวิหารทั้ง ๔ (เช่น บิดามารดามีพรหมวิหารทั้ง ๔ ต่อบุตร ได้ชื่อว่า เป็นพรหมของบุตร). | พรหมไทย | ของที่บิดามารดาให้. | พรากเด็ก | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำพาเอาเด็กอายุไม่เกิน ๑๕ ปีไปเสียจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล โดยปราศจากเหตุอันสมควร. | พรากผู้เยาว์ | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำพาเอาผู้เยาว์ที่มีอายุเกิน ๑๕ ปี แต่ยังไม่เกิน ๑๘ ปีไปเสียจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล โดยผู้เยาว์นั้นไม่เต็มใจไปด้วย. | พี่ | น. ผู้ร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกันและเกิดก่อน, ผู้ที่มีศักดิ์เสมอพี่ | พี่น้อง | น. ผู้เกิดร่วมบิดามารดาเดียวกัน หรือร่วมบิดาเดียวกัน หรือร่วมมารดาเดียวกัน | โยม | น. คำที่พระสงฆ์ใช้เรียกบิดามารดาของตนหรือเรียกผู้ใหญ่รุ่นราวคราวเดียวกับบิดามารดา เช่น โยมพ่อ โยมแม่ โยมย่า โยมยาย โยมน้า | โยม | เป็นคำใช้แทนชื่อบิดามารดาของพระภิกษุสามเณร | โยม | เรียกผู้ที่เป็นบิดามารดาของพระ ว่า โยมพระ | ลบหลู่ | ก. แสดงอาการเหยียดหยามต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือต่อผู้มีอุปการคุณโดยถือว่าไม่สำคัญควรแก่การเคารพนับถือ เช่น ลบหลู่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาที่ตนไม่ได้นับถือ ลบหลู่พ่อแม่ครูบาอาจารย์ นาย ก ลบหลู่บิดานาย ข. | ล้างบาป | น. พิธีทางศาสนาคริสต์ซึ่งทำแก่ทารกที่บิดามารดานับถือศาสนาคริสต์ หรือแก่บุคคลที่เดิมนับถือศาสนาอื่น แล้วหันมานับถือศาสนาคริสต์ โดยจุ่มหัวหรือตัวลงในน้ำศักดิ์สิทธิ์ ๓ ครั้งหรือเทน้ำศักดิ์สิทธิ์ลงบนหน้าผาก ซึ่งถือกันว่าเป็นสัญลักษณ์แห่งการล้างบาปเพื่อรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน เรียกว่า พิธีศีลล้างบาปหรือพิธีศีลจุ่ม. | ลูกหมู่ | น. ลูกหลานที่ต้องถูกเกณฑ์รับราชการตามสังกัดของบิดามารดาในครั้งโบราณ. | สถานภาพ | สิทธิหน้าที่ตามบทบาทของบุคคล เช่น เขามีสถานภาพทางครอบครัวเป็นบิดา. | สัตตาหกรณียะ | (-กะระนียะ, -กอระนียะ) น. กิจที่พึงทำเป็นเหตุให้ภิกษุออกจากวัดไปพักแรมในที่อื่นในระหว่างพรรษาได้ไม่เกิน ๗ วัน เช่นเพื่อไปพยาบาลภิกษุสามเณรหรือบิดามารดาที่ป่วยไข้หรือเพื่อบำรุงศรัทธาของทายก. | สินสอด | น. เงินที่ฝ่ายชายให้แก่บิดามารดาหญิงที่จะแต่งงานเป็นค่านํ้านม ข้าวป้อน |
| | Bragg’s law | กฎของแบรกก์, กฎที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ตกกระทบ มุมตกกระทบและระยะห่างของอะตอมซึ่งเป็นเงื่อนไขของการเกิดปรากฏการณ์การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ กฎนี้ ดับเบิลยู. แอล. แบรกก์ (W. L. Bragg) คิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2455 และได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับบิดา คือ ดับเบิลยู. เอช. แบรกก์ (W. H. Bragg) ในปี พ.ศ. 2458 [นิวเคลียร์] | Abusive parents | บิดามารดาที่ทารุณบุตร [TU Subject Heading] | Aging parents | บิดามารดาสูงอายุ, บิดามารดาสูงอายุ (บุตรอายุมาก) [TU Subject Heading] | Father and child | บิดาและบุตร [TU Subject Heading] | Father and infant | บิดากับทารก [TU Subject Heading] | Fatherhood | ความเป็นบิดา [TU Subject Heading] | Fatherless families | ครอบครัวที่ขาดบิดา [TU Subject Heading] | Fathers | บิดา [TU Subject Heading] | Fathers and sons | บิดาและบุตรชาย [TU Subject Heading] | Older parents | บิดามารดาสูงอายุ (บุตรอายุน้อย) [TU Subject Heading] | Parent and adulth child | บิดามารดาและบุตรวัยผู้ใหญ่ [TU Subject Heading] | Parent and child | บิดามารดาและบุตร [TU Subject Heading] | Parent and child (Law) | บิดามารดาและบุตร (กฎหมาย) [TU Subject Heading] | Parent and infant | บิดามารดาและทารก [TU Subject Heading] | Parent and teenager | บิดามารดากับวัยรุ่น [TU Subject Heading] | Parenthood | ความเป็นบิดามารดา [TU Subject Heading] | Parenting | การเป็นบิดามารดา [TU Subject Heading] | Parents | บิดามารดา [TU Subject Heading] | Parents of AID patients | บิดามารดาของผู้ป่วยภูมิคุ้มกันเสื่อม [TU Subject Heading] | Parents of autistic children | บิดามารดาของเด็กออทิสติก [TU Subject Heading] | Parents of children with disabilities | บิดามารดาของเด็กพิการ [TU Subject Heading] | Single fathers | บิดาที่เป็นโสด [TU Subject Heading] | Single parents | บิดามารดาที่เป็นโสด [TU Subject Heading] | Single-parent families | ครอบครัวที่บิดามารดาเป็นโสด [TU Subject Heading] | Social work with single parents | สังคมสงเคราะห์สำหรับบิดามารดาที่เป็นโสด [TU Subject Heading] | Stepparents | บิดามารดาเลี้ยง [TU Subject Heading] | Unmarried fathers | บิดานอกสมรส [TU Subject Heading] | Hugo Grotius (1583-1645) | บรมครูทางกฎหมายของเนเธอร์แลนด์ เป็นบุคคลแรกที่ได้ประกาศเสรีภาพของทะเล (Freedom of the Seas) ในตำราของท่านชื่อ Mare Liberumนักกฎหมาย รัฐบุรุษ และปรัชญาเมธีด้านมนุษยธรรมของเนเธอร์แลนด์ผู้นี้ ภายหลังเกิดมาได้ไม่กี่ปีก็ส่อให้เห็นว่าเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดอย่างน่า มหัศจรรย์ เขาเริ่มศึกษาวิชากฎหมายตั้งแต่มีอายุได้ 11 ขวบ ณ สถาบันศึกษาชั้นสูงแห่งเลย์เด็นในเนเธอร์แลนด์ และได้รับปริญญาเอกทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัย ณ เมืองออร์ลีนส์ ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อมีอายุได้เพียง 15 ปี โดยที่เป็นผู้ฝักใฝ่ในการเมือง เขาได้ถูกลงโทษจำคุกตลอดชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1618 ด้วยข้อหาทางการเมือง แต่ต่อมาใน ค.ศ. 1621 ได้หลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ 1625 เขาได้แต่งตำรากฎหมายซึ่งถือกันว่าเป็นตำราอมตะชื่อว่า Jure Belli ac Pacis (แปลว่า เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ) เป็นงานเขียนที่เหมาะกับสมัย และเขียนอย่างนักวิชาการอันเยี่ยมยอดที่สุดไม่มีใครเหมือนในสมัยนั้น และด้วยความรู้สึกที่รักความยุติธรรมอย่างแรงกล้าด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงขนานนาม Hugo Grotius ว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายนานาชาติ (Father of the Law of Nations) [การทูต] | Jus Soli | คือหลักความเชื่อถือซึ่งหลายประเทศยึดถืออยู่ คือบุคคลชาติใดก็ตาม ถือกำเนิด ณ ที่ไหนก็ได้สัญชาติของที่นั้น คนสวีเดนที่เกิดในประเทศไทยจะถือว่าได้สัญชาติไทยไปในตัวผิดกับหลักความ เชื่อถืออีกอันหนึ่งเรียกว่า Jus Sanguinis ซึ่งให้ถือสัญชาติของบุคคลตามสัญชาติของบิดามารดาของบุคคลนั้น ไม่ถือตามสถานที่เกิด [การทูต] | Attitude, Parental | ทัศนคติของพ่อแม่, ท่าทีของบิดามารดาหรือผู้เลี้ยงดูเด็ก [การแพทย์] | Father Class | ให้การศึกษาและแนะแนวสำหรับผู้เป็นบิดา [การแพทย์] |
| บิดา | [bidā] (n) EN: father FR: père [ m ] | บิดาชื่อ | [bidā cheū] (n, exp) EN: father's name FR: nom du père [ m ] | บิดามารดา | [bidā-māndā] (n) EN: parents FR: parents [ mpl ] ; père et mère [ mpl ] | การฟ้องคดีเพื่อพิสูจน์ความเป็นบิดา | [kān føng khadī pheūa phisūt khwām pen bidā] (n, exp) EN: paternity suit | ความเป็นบิดา | [khwām pen bidā] (n, exp) EN: paternity FR: paternité [ f ] | ปฏิบัติบิดามารดา | [patibat bidā-māndā] (v, exp) EN: look after one's parents ; serve one's parents ; wait upon one's parents |
| father | (n) บิดา, See also: พ่อ, คุณพ่อ, พ่อเลี้ยง, พ่อบุญธรรม, Syn. dad, daddy | half-brother | (n) พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน | half-sister | (n) พี่น้องผู้หญิงที่ร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน | Hippocrates | (n) ชื่อแพทย์ชาวกรีกที่เป็นบิดาแห่งแพทย์ศาสตร์ | legitimate | (adj) ที่เกิดจากบิดามารดาซึ่งสมรสกันตามกฎหมาย, See also: ที่เป็นบุตรตามกฎหมาย | Mendel | (n) บิดาแห่งพันธุศาสตร์ (Gregor Johann) | old man | (n) สามีหรือบิดา | parricide | (n) การฆ่าบิดามารดา, See also: ปิตุฆาต, มาตุฆาต, Syn. patricide, matricide, killing | parricide | (n) ผู้ฆ่าบิดามารดา, See also: ผู้กระทำปิตุฆาต / มาตุฆาต, Syn. killer | pater | (n) พ่อ, See also: บิดา, Syn. father, dad, daddy, papa | paternity | (n) ความเป็นบิดา, Syn. fatherhood | patricidal | (n) การฆ่าบิดาตนเอง | patrimony | (n) มรดกของบิดา, Syn. inheritance, bequest | patronymic | (adj) ซึ่งมีชื่อมาจากชื่อสกุลของบิดาหรือบรรพบุรุษ | sire | (n) บิดา, See also: พ่อ, พ่อพันธุ์, Syn. father, dad, daddy | Trinitarianism | (n) ความเชื่อเรื่องพระบิดา พระบุตรและพระจิต (Trinity) |
| abraham | (เอ' บราแฮม, - ฮัม) n. ผู้ก่อตั้งยิวโบราณเป็นบิดาของ Isaac, Syn. father of Isaac | aegeus | (อี' เจียส) n. ชื่อกษัตริย์ในกรุงเอเธนส์เป็นบิดาของ Theseus | father | (ฟา'เธอะ) { fathered, fathering, fathers } n. บิดา, พ่อ, ผู้ปกครอง, พระ, พ่อบุญธรรม, คำเรียกชื่อผู้อาวุโสเพื่อแสดงความเคารพ, ผู้อาวุโสที่สุดของกลุ่ม, ผู้นำของเมือง, ผู้ก่อตั้ง, ผู้มาก่อน, แบบเริ่มแรก -Phr. (the Father พระผู้เป็นเจ้า) . vt. ให้กำเนิด, ริเริ่ม, เป็นพ่อ, ยอมร | filicide | n. บิดาผู้ฆ่าบุตรของตัวเอง, | freud | (ฟรอยด์, ซิก'มันด) n. นักประสาทวิทยาชาวออสเตรียผู้เป็นบิดาแห่งจิตเวชวิเคราะห์ | godparent | n. บิดามารดาอุปถัมภ์ | half brother | พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน | half sister | พี่น้อง (ผู้หญิง) ที่ร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน | half-blood | n. คนร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน. ลูกผสม, คนครึ่งชาติ., See also: half-blooded adj. | hippocrates | (ฮิพอค'ระทีซ) n. ชื่อแพทย์ชาวกรีกที่เป็นบิดาแห่งแพทยศาสตร์. -Hippocratic (al) adj. | incest | (อิน' เซสทฺ) n. การร่วมประเวณีระหว่างหญิงชายที่มีบิดามารดาเดียวกัน | incestuous | (อินเซส' ชุเอิส) adj. เกี่ยวกับการร่วมประเวณีระหว่างหญิงชายที่มีบิดามารดาเดียวกัน, ซึ่งมีความผิดจากการร่วมประเวณีดังกล่าว., See also: incestuously adv. incestuousness n. | mendel | (เมน'เดิล) n. Gregor Johannพระและนักพฤกษศาสตร์ชาวออสเตรียผู้เป็นบิดาแห่งพันธุศาสตร์ (ค.ศ.1822-1884) | old man | n. บิดา, สามี, ผู้มีอำนาจ, หัวหน้า, กัปตันหรือ | pater | (เพ'เทอะ) n. พ่อ, บิดา | pater patriae | n. บิดาแห่งประเทศ | paterfamilias n. | หัวหน้าครอบครัว (มักเป็นบิดา) , เจ้าบ้าน, หัวหน้าครอบครัวชาวโรมันคาทอลิก, พลเมืองชายที่อิสระ, See also: paterfamiliar adj. | paternalism | (พะเทอ'นะลิสซึม) n. ลัทธิปกครองแบบบิดาปกครองบุตร, ลักษณะบิดา, See also: paternalist n., adj. paternalistic adj. | paternity | (พะเทอ'นิที) n. n. ความเป็นบิดา, แหล่งกำเนิด | patriarchy | (เพ'ทริอาร์'คี) การปกครองฉันบิดากับบุตร | patricide | (เพ'ทริไซด) n. การฆ่าบิดา, See also: patricidal adj. | patrilineal | adj. สายบิดา. | patrilinear | adj. สายบิดา. | patrimony | (เพ'ทระโมนี่) n. มรดกของบิดา, See also: patrimonial adj. | patronymic | adj. (ชื่อ) มาจากชื่อสกุลของบิดา. | paw | (พอ) n. เท้าสัตว์, อุ้งเล็บมบิดา -v. ตะปบ, ตะกุย | posthumous | (โพส'ชะเมิส) adj. หลังมรณกรรมของผู้ประพันธ์, หลังมรณกรรมของบิดา | sigmund | (ฟรอยด์, ซิก'มันด) n. นักประสาทวิทยาชาวออสเตรียผู้เป็นบิดาแห่งจิตเวชวิเคราะห์ | sire | (ไซ'เออะ) n. ฝ่าบาท, บิดา, บรรพบุรุษชาย, พ่อม้า, บุคคลผู้มีตำแหน่งสำคัญ, ม้าพันธุ์ตัวผู้, พ่อพันธุ์สัตว์ vt. แพร่พันธุ์, สืบพันธุ์, มีลูก, เป็นพ่อพันธุ์, Syn. beget | whole blood | n. เลือดทั้งหมดจากร่างกาย, เลือดแท้, ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่มีบิดามารดาเดียวกัน | whole brother | n. พี่น้องที่มีบิดามารดาเดียวกัน | whole sister | n. พี่หรือน้องสาวที่มีบิดามารดาเดียวกัน |
| dad | (n) พ่อ, บิดา | daddy | (n) พ่อ, บิดา | father | (n) พ่อ, บิดา, ผู้ก่อตั้ง, ผู้ปกครอง, หลวงพ่อ, บาทหลวง | fatherly | (adj) คล้ายพ่อ, ฉันบิดา, เหมือนบิดา | filial | (adj) ของลูกต่อบิดามารดา, เกี่ยวกับพันธุกรรม | HALF half brother | (n) พี่น้องต่างบิดาหรือมารดา | papa | (n) ป๋า, บิดา, พ่อ | paternal | (adj) เหมือนบิดา, ฝ่ายบิดา, ทางสายพ่อ |
| cronos | (name) เทพแห่งเวลาของกรีก หรือบางแห่งก็ว่าเป็นเทพแห่งการเก็บเกี่ยว เป็นบิดาของมหาเทพซูสที่ถูกล้างอำนาจโดยฝีมือของซูส |
| 父 | [ちち, chichi] (n) บิดา, พ่อ |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |