ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ศรี, -ศรี- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ | [ชุ-ติ-กาญน์ ศรี-วิ-บูลย์] (n, name) รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รับมอบยาฟ้าทะลายโจร จํานวน ๕๐๐ ขวด จากคุณปรินดา ตั้งวิรุฬธรรม ผู้จัดการบริษัทฉมา แอ็สเซ็ท ในวันศุกร์ที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๕ เพื่อนําไปใช้ในการดูแลสุขภาพของบุคลากร และประชาชนทั่วไปในคลินิคแพทย์แผนไทยวังสวนสุนันทา |
|
| ศรี | (n) honour, See also: glory, fame, renown | บายศรี | (n) rice offering, Example: ชาวบ้านนำใบตองมาเย็บเป็นบายศรีประดับด้วยดอกไม้สด เพื่อรับรองแขกบ้านแขกเมือง, Count Unit: สำรับ, Thai Definition: เครื่องเชิญขวัญหรือรับขวัญ ทำด้วยใบตอง รูปคล้ายกระทง เป็นชั้นๆ มีขนาดใหญ่เล็กสอบขึ้นไปตามลำดับ เป็น 3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น หรือ 9 ชั้น มีเสาปักตรงกลางเป็นแกน มีเครื่องสังเวยวางอยู่ในบายศรีและมีไข่ขวัญเสียบอยู่บนยอดบายศรี มีหลายอย่าง | มารศรี | (n) woman, See also: beautiful woman, Syn. นางงาม, พธู, โฉมฉาย, นงนุช, นงคราญ, อนงค์, Count Unit: คน | มารศรี | (n) woman, See also: beautiful woman, Syn. นาง, นางงาม, พธู, โฉมฉาย, นารี, สตรี, นงนุช, นงคราญ, อนงค์, Count Unit: คน | ศรีสะเกษ | (n) Si Sa Ket, Syn. จังหวัดศรีสะเกษ, Example: เขาเคยเป็นรองผู้ว่าฯ จ. ศรีสะเกษมาก่อน, Thai Definition: ชื่อจังหวัดหนึ่งในประเทศไทยอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | ศักดิ์ศรี | (n) honour, See also: honor, glory, fame, renown, Syn. เกียรติ, เกียรติยศ, เกียรติศักดิ์ | ศักดิ์ศรี | (n) prestige, Syn. เกียรติศักดิ์, เกียรติยศ, Example: ศักดิ์ศรีของทหารเป็นที่น่าเชื่อถือของคนทั่วไป, Notes: (สันสกฤต) | มีศักดิ์ศรี | (v) have prestige, See also: have dignity, Syn. มีเกียรติ, Example: มนุษย์ทุกคนมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน, Thai Definition: มีเกียรติตามฐานะของแต่ละบุคคล | สมศักดิ์ศรี | (v) deserve one's dignity, See also: be suitable for one's rank, be worthy of one's dignity, Syn. สมศักดิ์, Example: เขาคิดว่านี่เป็นงานต่ำ ไม่สมศักดิ์ศรีลูกผู้ดีอย่างเขา, Thai Definition: สมควรแก่เกียรติยศชื่อเสียง | เสียศักดิ์ศรี | (v) lose one's honour, See also: be disgraced, be dishonoured, Example: ประธานาธิบดีโซเวียตยอมเสียศักดิ์ศรีเดินทางไปเยือนอดีตประเทศศัตรู เพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ, Thai Definition: สูญเสียเกียรติศักดิ์, สูญเสียเกียรติ | พระนครศรีอยุธยา | (n) Phra Nakhon Si Ayutthaya, See also: Ayutthaya, Syn. อยุธยา, จังหวัดอยุธยา, Example: ขันลงหินทำกันมากที่ตำบลอรัญญิก อำเภอเมือง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, Count Unit: จังหวัด, Thai Definition: ชื่อจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย | หยิ่งในศักดิ์ศรี | (v) be proud of (one's achievement), Syn. ถือตัว, Example: คนเราต่างก็มีสิทธิ์หยิ่งในศักดิ์ศรีของตัวเอง, Thai Definition: ไว้ตัว, ไม่ยอมลดตัว เพราะหยิ่งในเกียรติของตน | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | (n) Srinakharinwirot Unversity, Example: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒนับเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของไทย ที่สามารถเปิดสอนวิชาชีพครูได้ถึงระดับปริญญา |
| กระลาศรี | น. ผู้หญิง เช่น รฦกกระลาศรี เสาวภาคย กูเออย (กำสรวล). | ไกรศรี ๑ | (ไกฺรสี) ว. ผู้ยิ่งด้วยสิริ. | ไกรศรี ๒, ไกรสรี | (ไกฺรสี) น. สิงโต. | โฉมศรี | น. รูปเป็นสง่า. | ชัยศรี | (ไชสี) น. ความสง่าผ่าเผยด้วยความชนะ (ใช้ประกอบกับชื่อต่าง ๆ ที่ถือว่าเป็นมงคล) เช่น พระขรรค์ชัยศรี นครชัยศรี. | บทศรี | (บดทะ-) น. เท้า (ใช้แก่เจ้านาย). | บายศรี | น. เครื่องเชิญขวัญหรือรับขวัญ ทำด้วยใบตอง รูปคล้ายกระทง เป็นชั้น ๆ มีขนาดใหญ่เล็กสอบขึ้นไปตามลำดับ เป็น ๓ ชั้น ๕ ชั้น ๗ ชั้น หรือ ๙ ชั้น มีเสาปักตรงกลางเป็นแกน มีเครื่องสังเวยวางอยู่ในบายศรีและมีไข่ขวัญเสียบอยู่บนยอดบายศรี มีหลายอย่าง เช่น บายศรีตอง บายศรีปากชาม บายศรีใหญ่. | บายศรีปากชาม | น. บายศรีตองที่จัดวางลงปากชาม. | พานพระศรี | น. พานใส่หมากพลูเครื่องเสวยของพระมหากษัตริย์, พานใส่หมากพลูเครื่องเสวยซึ่งเป็นเครื่องราชูปโภค ใช้เฉพาะพระมหากษัตริย์ หรือเป็นเครื่องประกอบพระอิสริยยศเจ้านายฝ่ายหน้าฝ่ายในชั้นสมเด็จเจ้าฟ้า จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า มีลักษณะแตกต่างกันไปตามชั้นยศ สำหรับเจ้านายนั้นจะเรียกว่า พานหมากเสวย ก็มี ซึ่งสุดแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เรียก. | พูดดีเป็นศรีแก่ปาก | น. พูดดีเป็นที่นิยมชมชอบ. | โพศรีมหาโพธิ | ดู โพ ๑. | มารศรี | (มาระสี) น. นาง, นางงาม. | แม่ศรี | น. ชื่อการละเล่นสมัยโบราณอย่างหนึ่ง โดยเชิญผีแม่ศรีมาเข้าทรงหญิงสาว หญิงสาวที่ถูกผีเข้าทรงจะรำได้อย่างสวยงาม นิยมเล่นในเทศกาลสงกรานต์. | เรือพระที่นั่งศรี | น. เรือหลวงที่จัดเป็นพระราชพาหนะสำรองไปในกระบวนเสด็จพระราชดำเนินทางชลมารค ทอดบัลลังก์กัญญา ดาดหลังคาด้วยผ้าสักหลาดสอดสีอย่างพนักอินทรธนู ถ้าเป็นเรือพระที่นั่งเพิ่มผ้าเยียรบับลายทองกลางกรอบพนักอินทรธนู. | ศรี ๑ | (สี) น. มิ่ง, สิริมงคล, ความรุ่งเรือง, ความสว่างสุกใส, ความงาม, ความเจริญ, เช่น ศรีบ้าน ศรีเรือน ศรีเมือง, ใช้นำหน้าคำบางคำเป็นการยกย่อง เช่น พระศรีรัตนตรัย วัดพระศรีรัตนศาสดาราม. | ศรี ๒ | (สี) น. พลู. (ม.) | ศรี ๒ | หมากพลู เรียกว่า พระศรี. | ศรี ๓ | (สี) น. ผู้หญิง. | ศรี ๔ | (สี) น. ลักษณนามใช้แก่คน เช่น พระปิตุราชมาตุรงค์ทรงพระสรวล เห็นสมควรคู่ครองกันสองศรี (อภัย). | ศรีตรัง | น. ชื่อไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Jacaranda วงศ์ Bignoniaceae ต้นอาจสูงได้ถึง ๑๐ เมตร ใบเป็นฝอยเล็ก คือ ชนิด J. filicifolia (G. Anderson) D. Don ดอกสีม่วงปนน้ำเงิน และชนิด J. mimosifolia D. Don ดอกสีม่วง. | ศรียะลา | ดู อโศก. | ศรีสังคีต | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงโหมโรง. | ศักดิ์ศรี | น. เกียรติศักดิ์ เช่น ประพฤติตนไม่สมศักดิ์ศรี. | สาวศรี | น. สาววัยรุ่น. | สาวศรีสาวใช้ | น. สาวใช้. | สุพรรณศรี | (สุพันนะสี) น. กระโถนเล็ก, ใช้ว่า พระสุพรรณศรี. | เอื้องศรีเที่ยง | ดู กระเจี้ยง. | กกุธภัณฑ์ | (กะกุดทะ-) น. สัญลักษณ์สำคัญแห่งความเป็นพระมหากษัตริย์ คือ ๑. พระมหาพิชัยมงกุฎ ๒. พระแสงขรรค์ชัยศรี ๓. ธารพระกรชัยพฤกษ์ ๔. วาลวีชนี (พัดกับแส้) ๕. ฉลองพระบาท รวมเรียกว่าเบญจราชกกุธภัณฑ์ ทั้งนี้ บางสมัยใช้เครื่องราชกกุธภัณฑ์แตกต่างกัน เช่น ใช้ฉัตรแทนพระมหาพิชัยมงกุฎ.(ป. กกุธ ว่า เครื่องหมายความเป็นพระราชา + ภณฺฑ ว่า
ของใช้; ระบุไว้ในอภิธานัปปทีปิกา คาถาที่ ๓๕๘ ว่า พระขรรค์ ฉัตร อุณหิส ฉลองพระบาท วาลวีชนี คือ มีฉัตรแทนธารพระกร; ในจดหมายเหตุบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๒ มีทั้งฉัตรและธารพระกร พระแสงขรรค์ พระแสงดาบ วาลวีชนี พระมหาพิชัยมงกุฎ และฉลองพระบาท รวมเป็น ๗ สิ่ง.วาลวีชนี ที่ปรากฏวัตถุเป็นพัดกับแส้จามรีนั้น แต่ก่อนเป็นพัดใบตาลอย่างที่เรียกว่า พัชนีฝักมะขาม ต่อมาท่านเห็นควรเป็นแส้จามรีจะถูกกว่า เพราะศัพท์ว่าวาลวีชนี หมายความเป็นแส้ขนโคชนิดหนึ่ง จึงสร้างแส้จามรีขึ้น แต่ก็ไม่อาจเลิกพัดใบตาลของเก่า เป็นอันรวมไว้ทั้ง ๒ อย่างในเครื่องที่เรียกว่า วาลวีชนี). | กฎ | (กด) ก. จดไว้เป็นหลักฐาน เช่น ให้นายยกกระบัตรกฎปากหลากคำไว้ (กฎหมายอายัดทาส), ตรา เช่น ตรัสแก่ขุนศรีภูริปรีชาให้กฎเป็นตำราไว้ (อัยการเบ็ดเสร็จ), พระมหาธรรมราชาก็ตรัสให้กฎลงมาให้เอาพระยารามเป็นพระยาพิชัย (พงศ. ๑๑๓๖). (เทียบ ข. กต่ ว่า จด). | กรมพระคลัง | เสนาบดีตำแหน่งตามทำเนียบเดิม คือ เจ้าพระยาพระคลัง เจ้าพระยาโกษาธิบดีฯ หรือเจ้าพระยาศรีธรรมาธิราชฯ, ตราประจำตำแหน่ง คือ ตราบัวแก้ว. | กระเจี้ยง | น. ชื่อกล้วยไม้อิงอาศัยชนิด Epigeneium amplum (Lindl.) Summerh. ในวงศ์ Orchidaceae ดอกใหญ่ ทั้งกลีบนอกและกลีบในสีเหลืองประแดง, เอื้องศรีเที่ยง ก็เรียก. | กระทู้ ๑ | หลัก เช่น ช้างพังพลายเป็นสัตว์มีคุณแล้วก็เป็นกระทู้ราชการสำหรับแผ่นดินสืบมา (ท้องตราโบราณ วชิรญาณรายเดือน เล่ม ๗), ประการหนึ่งปืนเป็นกระทู้การสงคราม (เรื่องตั้งเจ้าพระยานครศรีธรรมราชครั้งกรุงธนบุรี ประชุมพงศ. ๒). | กระบาล | (-บาน) น. ส่วนกลางของกะโหลกศีรษะ, หัว, (คำไม่สุภาพ) เช่น ตีกระบาล เขกกระบาล, (โบ) เขียนเป็น กระบาน ก็มี เช่น เพิกหนังทังผมนั้นออกเสียแล้วเอากรวดทรายขัดกระบานศีศะชำระให้ขาวเหมือนพรรณศรีสังข์ (สามดวง) | กระโหนด | (-โหฺนด) น. ตาล เช่น ย่านป่าขายพัดกระโหนดคันกลมคันแบนใหญ่น้อย (อธิบายแผนที่กรุงศรีอยุธยา). | กราสิก | (กฺรา-) น. ผ้าด้ายแกมไหม เช่น พัสตรากราสิกศรี (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). | กร่ำกรุ่น | (กฺรํ่ากฺรุ่น) ว. สีมัว ๆ ไม่ชัด, บางทีเขียนเป็น กร้ำกรุ่น ก็มี เช่น ลางพวกก็นุ่งห่มเปนแต่ศรีกร้ำกรุ่นอำปลัง (สามดวง). | กลาย | (กฺลาย) ก. เปลี่ยนไป, แปรปรวนไป, เช่น หน้าหนาวกลายเป็นหน้าร้อน, เป็นอื่นไป, แปลงไป, เช่น ศรกลายเป็นทิพย์กระยาหาร เปรี้ยวหวานตกลงตรงหน้า (รามเกียรติ์ ร. ๒), (โบ; กลอน) ใช้ในความว่า กราย ก็มี เช่น ไปกลายบ๋านชองตนกดี (จารึกสยาม), จักเจริญสวัสดิภาพศักดิศรี ศัตรูไพรี บห่อนจะใกล้กลายตน (โชค–โบราณ). | กันภัย, กันภัยมหิดล | น. ชื่อไม้เถาชนิด Afgekia mahidoliae Burtt et Chermsir. ในวงศ์ Leguminosae พบทางจังหวัดกาญจนบุรี ใบเป็นใบประกอบ ช่อหนึ่งมีใบย่อยหลายใบ ด้านล่างของใบมีขนสีนํ้าตาล ดอกเป็นช่อตั้ง สีขาวปนม่วง ฝักสั้นป้อมแบน ๆ ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์เพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี. | กันลอง ๔ | ก. กระโดด, ข้าม, ผ่าน, ล่วง, พ้น, เช่น มหาโพยมกันลองดศรีรไถงถา (กล่อมช้างของเก่า). | กามน | (กา-มน) ว. เต็มไปด้วยกาม เช่น ฤๅโฉมพระศรีศริ อภิลาศกามน (สุธน). | กามสมังคี | ว. พร้อมด้วยกามคุณ เช่น เสด็จเสวยอุฬาริกราชกามสมังคีศรีสุขุมสุข (ม. ร่ายยาว นครกัณฑ์). | กำด้น | น. ท้ายทอย, ส่วนที่คอกับศีรษะต่อกัน, เช่น เหมือนกดคอยอกำด้นลูกสาวศรี (มณีพิชัย). | กำดัด | กำหนัด เช่น โอ้เจ้าพี่ศรีสวัสดิ์กำดัดสวาท นุชนาฏแม่อย่าลืมเนื้อความหลัง (โคบุตร). | ขจ่าง | (ขะ-) ก. กระจ่าง เช่น จวบแจ้งขจ่างจา มิกราจำรัสศรี (สรรพสิทธิ์). | ขวัญ | ข้าวบายศรี เรียกว่า ข้าวขวัญ | ขวัญ | ไข่ปอกที่เสียบไม้ปักไว้บนยอดบายศรี เรียกว่า ไข่ขวัญ , ไข่ข้าว ก็เรียก | ข้าวขวัญ | น. ข้าวบายศรี. | ขุนหลวง | น. คำเรียกพระเจ้าแผ่นดิน เช่น ขุนหลวงพะงั่ว ขุนหลวงหาวัด ขุนหลวงตาก ภายหลังใช้เป็นบรรดาศักดิ์ของขุนนางด้วย เช่น ขุนหลวงพระไกรศรี. | แขก ๒ | น. คำเรียกชาวอินเดีย ศรีลังกา ปากีสถาน บังกลาเทศ อัฟกานิสถาน เนปาล ชวา มลายู ชาวเอเชียตะวันออกกลางและตะวันออกใกล้ ยกเว้นชาวยิว แอฟริกาเหนือ และ นิโกร. | ไข่ขวัญ | น. ไข่ปอกที่เสียบไม้ปักไว้บนยอดบายศรี, ไข่ข้าว ก็เรียก. (ดู ขวัญ) |
| ring gear | ๑. เฟืองวงแหวน๒. เฟืองบายศรี๓. เฟืองสตาร์ต [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | crown wheel | เฟืองบายศรี [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Art, Sri Lankan | ศิลปะศรีลังกา [TU Subject Heading] | Art, Srivijaya | ศิลปะศรีวิชัย [TU Subject Heading] | Bodhi Tree | พระศรีมหาโพธิ [TU Subject Heading] | Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman, or Degrading Treatment or Punishment (1984) | อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี (ค.ศ. 1984) [TU Subject Heading] | Dignity | ศักดิ์ศรี [TU Subject Heading] | Dignity in literature | ศักดิ์ศรีในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Maitreya (Buddhist deity) | พระศรีอาริย์ [TU Subject Heading] | Sri Lanka | ศรีลังกา [TU Subject Heading] | Srivijaya (Kingdom) | ศรีวิชัย (อาณาจักร) [TU Subject Heading] | Bangladesh-India-Myanmar- Sri Lanka and Thailand Economic Cooperation | กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างบังกลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา และไทย " ในช่วงแรกบังกลาเทศ-อินเดีย-พม่า-ไทย ได้ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพ เพื่อจัดตั้งความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างบังกลาเทศ-อินเดีย-ศรีลังกา-ไทย (BIST-EC) เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2540 ต่อมา ได้รับพม่าเข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการ และเปลี่ยนชื่อจาก BIST-EC เป็น BIMST-EC เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2540 " [การทูต] | Buakaew | ตราบัวแก้ว ตราบัวแก้วซึ่งเป็นรูปเทพยดานั่งในดอกบัว ถือดอกบัวข้างขวา ถือวชิระข้างซ้ายนั้น เป็นตราของกระทรวงการต่างประเทศซึ่งใช้มาตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ตราบัวแก้วเป็นตราซึ่งเจ้าพระยาพระคลังใช้ประทับในเอกสารของกรมท่า และที่เกี่ยวข้องกับต่างประเทศ เช่น สนธิสัญญาต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2418 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แยกราชการด้านการคลังออกจากกรมท่า ตราบัวแก้วจึงเป็นตราประจำตำแหน่งเสนาบดีจตุสดมภ์กรมท่า และต่อมาเมื่อได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดระบบราชการใหม่โดยแบ่งเป็น 12 กระทรวง ตราบัวแก้วจึงเป็นตราประจำเสนาบดีว่าการต่างประเทศ และกลายมาเป็นตราของกระทรวงการต่างประเทศ [การทูต] | Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman and Degrading Treatment or Punishment | อนุสัญญาต่อต้านการทรมาน และการปฏิบัติ หรือการลงโทษอื่น ที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี [การทูต] | COlombo Plan Secretariat | สำนักเลขาธิการแผนโคลัมโบ สำนักเลขาธิการแผนโคลัมโบ ตั้งอยู่ที่กรุงโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา โดยมีเลขาธิการแผนโคลัมโบเป็นผู้บริหารงานภายใต้แผนโคลัมโบ ซึ่งเป็นความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจแงะสังคมในภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิก [การทูต] | Order of Precedence | หมายถึง ลำดับอาวุโสทางการทูต โดยถือยศหรือตำแหน่งเป็นบรรทัดฐาน โดยเฉพาะในโอกาสที่ไปร่วมพิธีต่าง ๆ ตลอดจนการเลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ นักการทูตทั่วโลกต่างถือลำดับอาวุโสเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพิถีพิถันกันไม่ น้อย เพราะในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ หากมีการจัดลำดับอาวุโสไม่ถูกต้อง เขาผู้นั้นซึ่งคำนึงถึงศักดิ์ศรีในฐานะตัวแทนของประเทศย่อมต้องรู้สึกว่า นอกจากจะไม่ได้รับความถูกต้องแล้ว ยังเป็นการดูแคลนประเทศของตนด้วยในสมัยก่อน ผู้ที่ทำหน้าที่ชี้ขาดในเรื่องลำดับอาวุโสของบรรดาประมุขของรัฐทั้งหลาย คือสมเด็จพระสันตะปาปา ต่อมาในการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาเมื่อปี ค.ศ. 1815 ที่ประชุมได้ตกลงกันให้ถือวันที่เดินทางมาถึงประเทศผู้รับ และได้แจ้งให้ทราบเป็นทางการว่าเป็นเรื่องลำดับอาวุโส ผู้ที่มาถึงก่อนย่อมมีอาวุโสกว่าผู้ทีมาทีหลัง อย่างไรก็ดี มาในทุกวันนี้มีหลายประเทศถือหลักว่า ผู้แทนทางการทูตที่ยื่นสารตราตั้งก่อนจะมีอาวุโสกว่าผู้ยื่นสารตราตั้งที หลัง และในกรณีที่เกิดความเห็นไม่ลงรอยกันระหว่างบุคคลในคณะทูตเรื่องลำดับอาวุโส ประเทศเจ้าภาพหรือประเทศผู้รับจะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติเกี่ยวกับลำดับอาวุโสของผู้แทนทางการ ทูตไว้ดังนี้ ?ข้อ 16 1. ให้หัวหน้าคณะผู้แทนมีลำดับอาวุโสในแต่ละชั้นของตนตามลำดับวันและเวลาที่ เข้ารับการหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้ง หรือเมื่อได้บอกกล่าวการมาถึงของตนและได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง ต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงตามแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป 2. การเปลี่ยนแปลงในสารตราตั้งของหัวหน้าคณะผู้แทน ซึ่งไม่เกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงชั้นใด ๆ จะไม่กระทบกระเทือนลำดับอาวุโสของหัวหน้าคณะผู้แทน 3. ข้อนี้ไม่เป็นที่เสื่อมเสียแก่ทางปฏิบัติใด ซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับ ในเรื่องลำดับอาวุโสของผู้แทนของโฮลี่ซี ข้อ 17 ลำดับอาวุโสของสมาชิกคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทนนั้น ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้บอกกล่าวแก่กระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน? [การทูต] | Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] | Placement | หมายถึง วิธีจัดที่นั่งโต๊ะในการเลี้ยงอาหารสำหรับนักการทูต โดยคำนึงถึงลำดับอาวุโส เพื่อป้องกันมิให้เกิดความรู้สึกขุ่นเคืองหรือหัวเสีย เรื่องการจัดที่นั่งในการเลี้ยงอาหารโดยคำนึงถึงลำดับอาวุโสนี้ นักการทูตส่วนใหญ่ไม่ว่าที่ไหน มักจะถือว่ามีความสำคัญไม่น้อย เพราะถือเป็นเรื่องของศักดิ์ศรีในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ ฝ่ายที่รับผิดชอบโดยตรงต่อการจัดที่นั่งเช่นนี้ได้แก่ กรมพิธีการทูตของกระทรวงการต่างประเทศ ส่วนลำดับของอาวุโสก็ถือตามวันเวลาที่นักการทูตแต่ละคนได้เข้าประจำตำแหน่ง ที่ในประเทศผู้รับ กล่าวคือ ผู้ที่เข้าประจำตำแหน่งก่อนก็คือผู้ทีมีอาวุโสกว่าผู้ที่มาประจำตำแหน่ง หน้าที่ทีหลัง [การทูต] | South Asian Association for Regional Cooperation | สมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคเอเชียใต้ จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนธันวาคม 2528 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและวิชาการระหว่างกัน โดยมีสมาชิกประกอบด้วยประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ 7 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย ปากีสถาน เนปาล ศรีลังกา ภูฏาน บังกลาเทศ และมัลดีฟส์ [การทูต] | The Great Wonders of Suwannabhumi | โครงการสิ่งมหัศจรรย์แห่งสุวรรณภูมิ หมายถึง โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวระหว่างกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคที่นับถือศาสนาพุทธ อันประกอบด้วย ไทย ลาว กัมพูชา และพม่า โดยร่วมกันจัดรายการนำเที่ยวในโบราณสถานที่สำคัญต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของ 4 ประเทศ ได้แก่ วัดพระศรีรัตนศาสดารามในกรุงเทพฯ นครวัดในกัมพูชา โบราณสถานในพุกาม/มัณฑะเลย์ในพม่า และแขวงหลวงพระบางในลาว เพื่อที่จะดึงดูดชาวต่างชาติให้มาสนใจในดินแดนแห่งนี้ และนำมาซึ่งการพัฒนาสถานที่ดังกล่าว รวมทั้งยังจะเป็นการเชื่อมโยงการเดินทางระหว่าง 4 ประเทศอย่างสมบูรณ์ โครงการนี้เสนอโดย ฯพณฯ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศลาว กัมพูชา และพม่า เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2542 ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ครั้งที่ 3 ที่กรุงมะนิลา [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] | watershed | สันปันน้ำ แนวสันเขาซึ่งโดยปกติเป็นส่วนที่สูงที่สุดของภูเขาที่แบ่งน้ำให้ตกออกสอง ข้างของภูเขานั้น ๆ เป็นลักษณะทางธรรมชาติซึ่งรัฐที่เกี่ยวข้องอาจพิจารณานำมาใช้เป็นเส้นเขตแดน ระหว่างประเทศได้ เช่น สันปันน้ำของเทือกเขาตะนาวศรีเป็นเส้นเขตแดนระหว่างไทยกับพม่า [การทูต] |
| บายศรี | [bāisī] (n) EN: rice offering ; offering of cooked rice under a conical arrangement of folded leaves and flowers | จำลอง ศรีเมือง | [Jamløng Sīmeūang] (n, prop) EN: Chamlong Srimuan ; Maj-Gen Chamlong Srimuang ; Maj-Gen Chamlong FR: Chamlong Srimuang | จังหวัดนครศรีธรรมราช | [Jangwat Nakhøn Sī Thammarāt] (n, prop) EN: Nakhon Si Thammarat province FR: province de Nakhon Si Thammarat [ f ] | จังหวัดพระนครศรีอยุธยา | [Jangwat Phra Nakhøn Si Ayutthayā] (n, prop) EN: Phra Nakhon Si Ayutthaya province FR: province de Phra Nakhon Si Ayutthaya [ f ] | จังหวัดศรีสะเกษ | [Jangwat Sī Sakēt] (n, prop) EN: Si Sa Ket province FR: province de Si Sa Ket [ f ] | เขื่อนศรีนครินทร์ | [Kheūoen Sīnakharin] (n, prop) EN: Sri Nakharin Dam | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | [Mahāwitthayālai Sīnakharinwirōt] (org) EN: Srinakharinwirot Unversity FR: université Srinakharinwirot [ f ] | มหาวิทยาลัยศรีปทุม | [Mahāwitthayālai Sī Pathum] (org) EN: Sripatum University | มีศักดิ์ศรี | [mī saksī] (adj) EN: dignified ; honorable | นครศรีธรรมราช | [Nakhøn Sī Thammarāt] (n, prop) EN: Nakhon Si Thammarat (Soth) FR: Nakhon Si Thammarat (Sud) | น้ำพริกศรีราชา | [nāmphrik Sī Rātchā] (n, exp) FR: sauce rouge de Sri Ratcha [ f ] | ถราดร ศรีชาพันธุ์ | [Parādøn Sīchāphan] (n, prop) EN: Paradorn Srichapan FR: Paradorn Srichapan | พิธีบายศรีสู่ขวัญ | [phithī bāi sī sū khwan] (n, exp) EN: wrist-binding ceremony FR: rituel de l'offrande du cordon-bracelet [ m ] | พระนครศรีอยุธยา | [Phra Nakhøn Sī Ayutthayā] (n, prop) EN: Phra Nakhon Si Ayuthaya (Central) FR: Phra Nakhon Si Ayuthaya (Centre) | พระพุทธรูปสำริดสมัยศรีวิชัย | [Phraphuttharūp samrit samai] (xp) EN: bronze Buddha image of the Srivichai period | ประเทศศรีลังกา | [Prathēt Sī Langkā] (n, prop) EN: Sri Lanka FR: Sri Lanka [ m ] ; Ceylan (anc.) | ศักดิ์ศรี | [saksī] (n) EN: honour ; honor (Am.) ; glory ; fame ; renown ; dignity ; prestige FR: prestige [ m ] ; dignité [ f ] | ศรี | [sī] (n) EN: luck ; fortune ; success ; greatness FR: chance [ f ] ; bonne fortune [ f ] | ศรี | [sī] (n) EN: glory ; honour splendour ; magnificence ; fame ; renown FR: gloire [ m ] ; honneur [ m ] ; célébrité [ f ] ; renommée [ f ] | ศรี | [sī] (n) EN: majesty ; honour ; glory ; fame ; renown FR: prospérité [ f ] ; gloire [ f ] ; honneur [ f ] | ศรี- | [sī-] (pref) EN: [ majestic, glorious ] FR: [ majestueux, glorieux ] | ศรีลังกา | [Sī Langkā] (n, prop) EN: Sri Lanka FR: Sri Lanka [ m ] ; Ceylan (anc.) | ศรีมาลา | [sī mālā] (n, exp) EN: Red Passion Flower ; Red Grandilla | ศรีราชา | [Sī Rāchā] (n, prop) EN: Sri Racha ; Si Racha FR: Sri Racha | ศรีสะเกษ | [Sī Sakēt] (n, prop) EN: Si Sa Ket FR: Si Sa Ket | ศรีตรัง | [sītrang] (n) EN: Green ebony ; Jacaranda | ศรีวิชัย | [Si Wichai] (n, prop) EN: Srivijaya | สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ | [Somkhit Jātusīphithak] (n, prop) EN: Somkif Jatusripitak FR: Somkid Jatusripitak | ตะนาวศรี | [Tanāosī] (n, prop) EN: Tanesserim | ธนาคารกรุงศรีอยุธยา | [Thanākhān Krung Si Ayutthayā] (tm) EN: Bank of Ayudhya ; Krungsri FR: Bank of Ayudhya ; Krungsri | ยุคพระศรีอาริย์ | [yuk Phra Sīān] (n, exp) EN: Sri Aryayuga ; age of universal well-being |
| | Ayutthaya | (n) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, See also: อยุธยา | Ayutthaya | (n) พระนครศรีอยุธยา, See also: อยุธยา | bald | (adj) ล้าน, See also: ศรีษะล้าน, Syn. hairless, Ant. hairy | banana split | (n) ไอศรีมที่ประกอบด้วยกล้วยหอม ครีมและอื่นๆ, Syn. ice cream with topping, parfait | beckon | (vt) ส่งสัญญาณเรียกโดยการใช้มือหรือศีรษะ, See also: ผงกศรีษะ, กวักมือเรียก, Syn. summon | beckon | (vt) ทำให้สนใจ, See also: ผงกศรีษะ, กวักมือเรียก | bow | (vi) คำนับ, See also: น้อมศรีษะ, Syn. nod | deign | (vt) ถ่อมตัวลงมา, See also: ลดตัวลงมา, ยอมลดเกียรติ / ศักดิ์ศรีลงมา, Syn. condescend, vouchsafe, stoop | deign | (vi) ถ่อมตัวลงมา, See also: ลดตัวลงมา, ยอมลดเกียรติ / ศักดิ์ศรีลงมา, Syn. condescend, vouchsafe, stoop | filet | (n) สายรัดผม, See also: สายคาดผม, เชือกผูกผม, ริบบิ้น, รัดเกล้า, มงคลสวมศรีษะ, ริบบิ้นหรือเชือกสำหรับผูกผม, Syn. band, ribbon | fillet | (n) สายรัดผม, See also: สายคาดผม, เชือกผูกผม, ริบบิ้น, รัดเกล้า, มงคลสวมศรีษะ, ริบบิ้นหรือเชือกสำหรับผูกผม, Syn. band, ribbon | Hinayana | (n) นิกายหินยานของพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา พม่า ไทยและกัมพูชา, See also: ชื่อนิกายในพระพุทธศาสนาฝ่ายใต้ที่นับถือกันในศรีลังกา พม่า ไทยและกัมพูชาและกัมพูชา, ชื่ | ice | (n) ไอศรีม, See also: ไอติม | malted milk | (n) เครื่องดื่มผสมนมและไอศรีม, Syn. malted | migraine | (n) อาการปวดศรีษะเพียงข้างเดียว, See also: อาการปวดศีรษะอย่างมาก, Syn. sick headache, headache, throbbing head | milkshake | (n) เครื่องดื่มปั่น ประกอบด้วยนมและไอศรีม | Nakhon Si Thammarat | (n) นครศรีธรรมราช | Nakhon Si Thammarat | (n) จังหวัดนครศรีธรรมราช, See also: นครศรีธรรมราช | nod | (vi) พยักหน้ารับ, See also: ผงกศรีษะรับ, แสดงอาการรับรู้, Syn. agree, greet, salaam, Ant. dissent, deny | nod | (vt) พยักหน้ารับ, See also: ผงกศรีษะรับ, แสดงอาการรับรู้, Syn. agree, greet, salaam, Ant. dissent, deny | nod | (n) การพยักหน้า, See also: การผงกศรีษะ, Syn. acceptance | pekoe | (n) ชาดำชั้นดีจากศรีลังกา อินเดียและชวา, Syn. iced tea, herb tea, pekoe | Phra Nakhon Si Ayutthaya | (n) พระนครศรีอยุธยา | Phra Nakhon Si Ayutthaya | (n) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา | prestigious | (adj) ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือ, See also: ซึ่งมีเกียรติ, ซึ่งมีศักดิ์ศรี, Syn. famous, important | pullover | (n) เสื้อที่ถอดออกทางศรีษะ, Syn. slipover | self-esteem | (n) การหยิ่งในศักดิ์ศรีของตนเอง, See also: ความภูมิใจในตัวเองอย่างมาก, Syn. pride | Singhalese | (adj) เกี่ยวกับประเทศศรีลังกา | zodiac | (n) จักรราศรี, See also: แผนภูมิวงกลมแสดงความเชื่อมโยงของหมู่ดาวกับราศีทั้งสิบสองราศีของนักพยากรณ์หรือหมอดู, Syn. celestial meridian, signs of the zodiac |
| amour-propre | (อะมัวพรอ' พระ) n., fr. ความรักตัวเอง, ความหยิ่งในศักดิ์ศรี | ceylon | (ซิลอน') n. ประเทศศรีลังกา, See also: Ceylonese n. -adj. | cga | (ซีจีเอ) ย่อมาจาก color gragphic adapter แปลว่า ตัวปรับสำหรับภาพกราฟิก ที่จะมองเห็นบนจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวปรับนี้เป็นมาตรฐานจอภาพของเครื่องไอบีเอ็ม แต่ภาพที่ปรากฏให้เห็นบนจอนั้นยังดูแข็ง ๆ ไม่ได้ผสมกลมกลืนสนิท ดูแล้วอาจจะปวดศรีษะได้ คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จึงพัฒนาตัวปรับสีนี้ใหม่ มีชื่อ เรียกว่า EGA หรือ VGA ดู EGA และ VGA ประกอบ | chaplet | (แชพ'ลิท) n. มาลัยบนศรีษะ, สายลูกประคำ, พวกลูกประคำ -chapleted adj. | character | (แค'ริคเทอะ) n. ตัวอักษร, อักขระ, อุปนิสัย, คุณสมบัติ, ลักษณะพิเศษ, หลักความประพฤติ, ความรักหรือหยิ่งในศักดิ์ศรี, ชื่อเสียงที่ดี, เกียรติคุณ, ฐานะตัวในเรื่อง, บทบาทในละครหรือภาพยนตร์, สัญลักษณ์, See also: characterisation, characterization n. | color graphic adapter | ตัวปรับต่อภาพสีใช้ตัวย่อว่า CGA หมายถึง ตัวปรับสำหรับภาพกราฟิกที่จะมองเห็นบนจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวปรับนี้เป็นมาตรฐานจอภาพของเครื่องไอบีเอ็ม แต่ภาพที่ปรากฏให้เห็นบนจอนั้นยังดูแข็ง ไม่ได้ผสมกลมกลืนสนิท ดูแล้วพาลจะปวดศรีษะได้ง่าย ๆ คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จึงพัฒนาตัวปรับสีนี้ใหม่ มีชื่อ เรียกว่า EGA หรือ VGA | corporal | (คอร์'เพอเริล) adj. เกี่ยวกับร่างกายมนุษย์, เกี่ยวกับเนื้อหนังมังสา, โดยส่วนตัว, เกี่ยวกับร่าง (แตกต่างจากศรีษะและแขนขา) , เกี่ยวกับวัตถุ n. สิบโท, จ่าอากาศโท, See also: corporalcy n. ดูcorporal corporalship n. ดูcorporal | coxcomb | (คอคซฺ'โคม) n. หงอนไก่, คนขี้โอ่หรือคนสำรวยที่โง่และหยิ่ง, ศรีษะ, See also: coxcombic adj. ดูcoxcomb coxcombical adj. ดูcoxcomb, Syn. popinjay | cranium | (เคร'เนียม) n. กะโหลกศีรษะ, ส่วนของกะโหลกศรีษะที่หุ้มสมอง -pl. craniums, crania | cringe | (ครินจฺ) { cringed, cringing, cringes } vi. งอ, โค้ง, ยืนงอตัว, ก้มศรีษะหรือไขว้มือ (ในท่าประจบประแจง หรือมีความกลัว) n. การนอบน้อม, การงอตัว, ก้มศีรษะหรือไขว้มือ (ในท่าประจบหรือด้วยความกลัว), See also: cringingly adv., Syn. flinch | emu | (อี'มู) n. นกอีมู คล้ายนกกระจอกเทศแต่ศรีษะของคอมีขน | fame | (เฟม) n. ชื่อเสียง, กิตติศัพท์, เกียรติยศ, เกียรติคุณ, ศักดิ์ศรี, ข่าวลือ, การเล่าลือ. vt. ทำให้มีชี่อเสียง, เลื่องลือ. | hinayana | (ฮีนะยา'นะ) n. นิกายหินยานของพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา พม่า ไทยและกัมพูชา, Syn. Theravada. -Hinayanist n. | honor | (ออน'เนอะ) n. เกียรติยศ, ชื่อเสียง, ศักดิ์ศรี, เกียรติศักดิ์, ความเคารพ, ความนับถือ, เหรียญตรา, ปริญญาขั้นเกียรตินิยม. vt. เคารพ, นับถือ, ให้เกียรติแก่กัน, จ่ายเงินตามตั๋วแลกเงิน | honorable | (ออน'เนอะระเบิล) เกี่ยวกับเกียรติยศ, น่าเคารพนับถือ, ซื่อตรง, น่าเชื่อถือ, มีหน้ามีตา, มีศักดิ์ศรี., See also: honourableness, honorbleness n., Syn. virtuous, ethical | honour | (ออน'เนอะ) n. เกียรติยศ, ชื่อเสียง, ศักดิ์ศรี, เกียรติศักดิ์, ความเคารพ, ความนับถือ, เหรียญตรา, ปริญญาขั้นเกียรตินิยม. vt. เคารพ, นับถือ, ให้เกียรติแก่กัน, จ่ายเงินตามตั๋วแลกเงิน | honourable | (ออน'เนอะระเบิล) เกี่ยวกับเกียรติยศ, น่าเคารพนับถือ, ซื่อตรง, น่าเชื่อถือ, มีหน้ามีตา, มีศักดิ์ศรี., See also: honourableness, honorbleness n., Syn. virtuous, ethical | indian | (อิน' เดียน) n. ชาวอินเดีย, ชาวอินเดียนแดง, ภาษาอินเดีย, ภาษาอินเดีย, ภาษาอินเดียนแดง, สมาชิกขององค์การ. -adj. เกี่ยวกับชาวอินเดียหรืออินเดียนแดง, เกี่ยวกับภาษาอินเดียหรืออินเดียแดง, เกี่ยวกับตะวันออก, เกี่ยวกับบริเวณประเทศอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศและศรี | invertebrate | (อินเวอ'ทะบริท) adj. ไม่มีกระดูกสันหลัง, เกี่ยวกับสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง, อ่อนแอ, ไร้ความสามารถ, ไม่รักศักดิ์ศรี., See also: invertebracy, invertebrateness n. | prestige | (เพรสทิจฺ') n. ชื่อเสียง, เกียรติคุณ, เกียรติศักดิ์, เกียรติภูมิ, ศักดิ์ศรี, บารมี adj. มีชื่อเสียง, Syn. reputation, weight | prostitute | (พรอส'ทิทิวทฺ) n. โสเภณี, บุคคลที่ร่วมประเวณีเพื่อหาเงิน (มักเป็นหญิง) , บุคคลที่ขายศักดิ์ศรีของตัวเอง. vt. ขายตัวเป็นโสเภณี, ขายศักดิ์ศร', Syn. whore, harlot, call girl | respectable | (รีสเพค'ทะเบิล) adj. น่านับถือ, น่าเคารพ, น่ายำเกรง, มีหน้ามีตา, สูงส่ง, สมควร, ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, มีศักดิ์ศรี, มากมาย, See also: respectableness n. respectably adv., Syn. admirable, proper, appreciable | self-respect | (เซลฟฺ'รีสเพคทฺ') n. การเคารพตัวเอง, การหยิ่งในศักดิ์ศรีของตัว เอง., See also: self-respectful, self-respecting adj. | singhalese | (ซิงกะลีซ) adj., n. (เกี่ยวกับ) ศรีลังกา , ประเทศ, ประชาชน, วัฒนธรรม, ภาษา, Syn. Sinhalese | spin | (สพิน) { spun, spun, spinning, spins } vt., vi., n. (การ) ปั่น, กรอ, ฟั่น, ทอ (ไหม) , พ่น (ไหม) , ม้วน, ทำให้หมุน, ควง, แทง (บิลเลียด) , เรียบเรียง, เล่า, สาธยาย, เหวี่ยงออก, ขว้างออก, ยืดเยื้อ, หมุน, เคลื่อนตัวอย่างรวดเร็ว, วิงเวียนศรีษะ, พลิก, Syn. rotate, whi | spinal accessory nerve | เส้นประสาทของcranial nerves คู่ที่ 11 ที่หล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อ ที่ทำให้ศรีษะและไลห่เคลื่อนไหว | swim | (สวิม) { swam, swum, swimming, swims } vi., vt., n. (การ) ว่าย, ว่ายน้ำ, ลอยน้ำ, ลอยคว้าง, ล่องลอย, ท่วม, จุ่ม, แช่, วิงเวียนศรีษะ, ทำให้ว่ายน้ำ, ทำให้ลอยตัว. in the swim มีบทบาทมาก, See also: swimmer n. | swirl | (สเวิร์ล) vi., vt., n. (การ) หมุน, หมุนรอบ, วน, วนเวียน, วิงเวียนศรีษะ, สิ่งที่บิดงอ, เส้นขดงอ, ความยุ่งเหยิง, ความสับสน.. | tamil | (แทม'มิล) n., adj. พวกทมิฬในอินเดียและศรีลังกา, ภาษาทมิฬ | tiara | (เทีย'รา) n. ผ้าโพกศรีษะของชาวเปอร์เซียสมัยโบราณ, มงกุฎขององค์สันตะปาปา, ตำแหน่งหน้าที่และอำนาจขององค์สันตะปาปา | tire | (ไท'เออะ) vt., vi. เหนื่อย, เหน็ดเหนื่อย, เมื่อยล้า, เพลีย, หน่าย, เบื่อหน่าย, หน่ายแหนง, ใส่ยาง, ตกแต่ง, ประดับ, แต่งตัว, แต่งศรีษะ n. ความเหน็ดเหนื่อย, ความอ่อนเพลีย, ยางรถ, ยางนอก, แผ่นยางหรือเหล็กรอบล้อเพื่อกันสึก, สื้อผ้าอาภรณ์, สิ่งประดับ, เครื่องประดับศรีษ | tonsure | (เทน'เชอะ) n. การตัดผม, การโกนผม, การปลงผม, ศรีษะ, ศรีษะที่โกนผมแล้ว (เช่นของพระ) , ส่วนของศรีษะที่โกนผมออก, หัวโล้น, ภาวะหัวโล้น. vt. โกนผม, ปลงผม | trigemental nerve | เส้นประสาทของcranial nerves คู่ที่5 รับความรู้สึกจากบริเวณหน้าศรีษะ ฟันเกี่ยวกับความรู้สึกเจ็บปวด สัมผัส ร้อน เย็น ควบคุมการเคี้ยว | tufted titmouse | n. นกเล็ก มีส่วนที่เป็นพู่ที่ศรีษะ | turban | (เทอ'เบิน) n. หมวโพกศรีษะของชาวมุสลิมในตอนใต้ของเอเซีย, หมวกที่คล้ายหมวกดังกล่าว, หมวกสตรีที่โพกคล้ายหมวกแขก, See also: turbaned adj. | vertex | (เวอ'เทคซฺ) n. จุดสุดยอด, จุดสุดขีด, จุดสูงสุด, กระหม่อม, ยอดศรีษะ, จุดที่รวมกัน, จุดที่ไกลสุดจากฐาน, จุดตัดของสองด้านของแนวราบ pl. vertexes, vertices, Syn. apex | vertigo | (เวอ'ทิโก) n. อาการวิงเวียนศรีษะ, ความรู้สึกวิงเวียนที่ทำให้การทรงตัวลำบาก pl. vertigoes, vertigoes |
| Ceylon | (n) ประเทศศรีลังกา | fame | (n) กิตติศัพท์, ชื่อเสียง, เกียรติศักดิ์, ศักดิ์ศรี | honourable | (adj) น่าเคารพนับถือ, มีศักดิ์ศรี, มีหน้ามีตา, น่ายกย่อง | prestige | (n) ชื่อเสียง, อิทธิพล, ศักดิ์ศรี, บารมี, รัศมี, เกียรติยศ | SELF-self-respect | (n) การหยิ่งในศักดิ์ศรีตัวเอง, ความนับถือตัวเอง | utopia | (n) แดนสุขารมณ์, โลกพระศรีอาริย์, โลกในอุดมคติ | utopian | (adj) เหมือนแดนสุขารมณ์, เหมือนโลกพระศรีอาริย, เหมือนกับโลกในอุดมคติ |
| -kuy- | [[ kuːy ]] (n) kuy (n ) ภาษากูย หรือ ภาษากวย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มกะตู พบในไทยพื้นที่จังหวัดแถบภาคอีสานใต้ เช่น จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด | acoustic trademark | (n) เครื่องหมายการค้าที่อยู่ในรูปของเสียง (เช่นเสียงรถไอศรีมวอลล์) | Assumption College Sriracha | [-] (name) โรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 29 หมู่ 10 ตำบลสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20110 โทรศัพท์ 038-311055-6 | Bank of Ayudhya | (org) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา | kuy | (n) ภาษากูย หรือ ภาษากวย หรือ ภาษาส่วย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มกะตู พบในไทย ในจังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด | lightheaded | (adj) วิงเวียนศรีษะ , สะเพร่า | satinwood | ดอกแก้ว, ต้นไม้จำพวก Chloroxylon swietenia ใช้ทำตู้และเครื่องเรือน เป็นต้นไม้พื้นเมืองของประเทศซีลอน (ประเทศศรีลีังกาในปัจจุบัน) | Srirangapatna | ศรีรังคปัฏนา เป็นเมืองในรัฐกรณาฏกะ ประเทศอินเดีย | บายศรี | (n) rice offering บายศรี Image: | แรด | (n, vt) N = บุคคลที่แสดงกริยาท่าทางในเชิงลบ ในเรื่องหรือ/และการกระทำต่อเพศตรงข้าม คำนี้มีความหมายตรงข้ามเรียบร้อย เช่น สมศรีแรดมาก S = สามารถใช้เป็นคำแสลง เพื่อแสดงออกในกริยา เช่น วันนี้เค้าไปแรดมา เห็นว่าได้เสื้อมา 2 ตัว (แรด ในที่นี้มีความหมายว่า ไปซื้อของ), See also: A. เรียบร้อย, Syn. กระซู่ |
| 自尊心 | [じそんしん, jisonshin] ความหยิ่งในศักดิ์ศรี |
| | mal à la tête | อาการปวดศรีษะ อาการปวดหัว เช่น J'ai mal à la tête. ฉันมีอาการปวดหัว |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |