ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เจรจา, -เจรจา- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ เจรจา | (v) negotiate, See also: converse, discuss, talk, confer, Syn. พูด, พูดจา, สนทนา, Example: เราต้องเจรจาด้วยถ้อยคำสุภาพอ่อนน้อมไม่แสดงอาการเย่อหยิ่งจองหองหรืออวดดี, Thai Definition: พูดจากันอย่างเป็นทางการ | ผู้เจรจา | (n) negotiator, See also: mediator, intermediary, moderator, Example: ฝ่ายบุคคลของโรงพยาบาลจะต้องเป็นผู้เจรจากับญาติผู้ป่วยถึงกรณีที่เกิดขึ้น, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่ทำหน้าที่พูดจากับฝ่ายตรงข้ามเพื่อตกลงบางอย่างกัน อย่างเป็นทางการ | ช่างเจรจา | (v) be talkative, See also: be chatty, be full of chatter, Syn. ช่างพูด, พูดเก่ง, คุยเก่ง, พูดมาก, ช่างเจรจา, จ้อ, ช่างคุย, ช่างจำนรรจา, Example: คนใต้ไม่ใคร่ช่างเจรจาเท่าใดนัก | การเจรจาต่อรอง | (n) negotiation, Example: การเจรจาต่อรองกับผู้ก่อการร้ายให้ปล่อยตัวประกันไม่เป็นผลสำเร็จ |
| เจรจา | (เจนระจา, เจระจา) ก. พูด, พูดจากัน, พูดจากันเป็นทางการ. | บทเจรจา | น. คำที่ตัวละครพูดเป็นร้อยกรองหรือถ้อยคำธรรมดา. | เกราะ ๔ | (เกฺราะ) ก. พูดเลียบเคียง เช่น อย่าคำเพราะเกราะกล่าวเจรจา (รามเกียรติ์ ร. ๑), เขียนเป็น เกลาะ ก็มี เช่น ใช่จะแกล้งกล่าวเกลาะให้เพราะพริ้ง (อิเหนา). | เกลาะ | (เกฺลาะ) ก. พูดเลียบเคียง เช่น ใช่จะแกล้งกล่าวเกลาะให้เพราะพริ้ง (อิเหนา), เขียนเป็น เกราะ ก็มี เช่น อย่าคำเพราะเกราะกล่าวเจรจา (รามเกียรติ์ ร. ๑). | แกนนำ | ผู้ที่เป็นหลักในการเจรจาเพื่อดำเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น พรรคที่ได้คะแนนเสียงข้างมากเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล. | คร่า | (คฺร่า) ก. ฉุดลากไปอย่างไม่ปรานี เช่น ถ้าเจรจาถึง ๒ ครั้งไซ้ให้คร่ามือออกไปจากพระโรงแลให้ห้ามเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (สามดวง), ท่านให้มาว่ากล่าวร้องฟ้องณะโรงสานตามกระบินเมืองอย่าให้ตีด่าฉุดคร่าเอาโดยกำลังเองศักอันเลย (สามดวง) | จำนรรจ์, จำนรรจา | (-นัน, -นันจา) ก. เจรจา, พูด, กล่าว. | แตกหัก | ว. เด็ดขาดถึงที่สุดไม่ข้างใดก็ข้างหนึ่งเป็นได้รู้ดีกัน เช่น รบขั้นแตกหัก เจรจาขั้นแตกหัก พูดแตกหัก. | ทางสายกลาง | น. มรรคมีองค์ ๘ อันเป็นทางสายเดียวที่จะนำไปสู่ความดับทุกข์ ประกอบด้วย ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การกระทำชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจมั่นชอบ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง | ทูต | น. ผู้นำข้อความไปแจ้งทั้ง ๒ ฝ่าย, ผู้รับใช้ไปเจรจาแทน, ผู้สื่อสาร, ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้แทนไปยังต่างประเทศ เพื่อเจรจาหรือเจริญสัมพันธไมตรีเป็นทางราชการ. | บท ๑, บท- ๑ | คำประพันธ์ที่เขียนขึ้นสำหรับเล่นละคร มีทั้งบทร้องและบทเจรจา เช่น บอกบท เขียนบท | มรรค, มรรค-, มรรคา | ในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, ทางที่จะนำไปสู่ความพ้นทุกข์ เป็น ๑ ในอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค เรียกเต็มว่า มรรคมีองค์ ๘ ประกอบด้วย สัมมาทิฐิ–ความเห็นชอบ ๑ สัมมาสังกัปปะ–ความดำริชอบ ๑ สัมมาวาจา–การเจรจาชอบ ๑ สัมมากัมมันตะ–การงานชอบ ๑ สัมมาอาชีวะ–การเลี้ยงชีวิตชอบ ๑ สัมมาวายามะ–ความพยายามชอบ ๑ สัมมาสติ–ความระลึกชอบ ๑ สัมมาสมาธิ–ความตั้งใจชอบ ๑ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง. | มิจฉาวาจา | น. “การเจรจาถ้อยคำผิด” คือ ประพฤติวจีทุจริต. | ละครดึกดำบรรพ์ | น. ละครแบบหนึ่ง ดำเนินเรื่องรวดเร็ว มีการตกแต่งฉากที่คล้ายของจริง ไม่มีบทบรรยายฉาก บรรยายกิริยาอาการของตัวละคร ตัวละครร้องและเจรจาบทของตนเอง และใช้ดนตรีที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เรียกว่า วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ เรื่องที่แสดง เช่น อิเหนา คาวี สังข์ศิลป์ชัย, ชื่อดึกดำบรรพ์มาจากชื่อโรงละครของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร). | ละครนอก | น. ละครรำแบบหนึ่ง วิวัฒนาการมาจากละครชาตรี ในชั้นต้นตัวละครเป็นชายล้วน ภายหลังหญิงชายแสดงปนกัน มีบทเจรจา การแสดงพลิกแพลงนอกเรื่องได้ไม่ต้องรักษาระเบียบแบบแผนนัก แสดงได้ทุกเรื่อง ยกเว้นเรื่องที่กำหนดให้แสดงในละครใน. | ละครพันทาง | น. ละครแบบหนึ่ง ดัดแปลงมาจากละครรำของเก่า ตัวละครพูดบทของตนเอง มักแสดงเรื่องแต่งจากพงศาวดารชาติต่าง ๆ มีท่ารำ สำเนียงเจรจา และทำนองเพลงตามชาตินั้น ๆ เช่น เรื่องสามก๊ก ราชาธิราช พระลอ. | ละครร้อง | น. ละครแบบหนึ่ง ได้รับอิทธิพลจากละครแบบยุโรป ตัวละครร้องเพลงเองในการดำเนินเรื่องและมีลูกคู่ช่วยร้องเป็นตอน ๆ มีบทเจรจาแทรก มีการจัดฉากและแต่งกายตามสมัยที่ปรากฏในเรื่อง เช่น ละครร้องเรื่องพระร่วง เรื่องสาวเครือฟ้า. | ละครเวที | น. ละครแบบหนึ่ง แสดงบนเวที มีฉากสมจริงและมีการปิดเปิดม่าน ผู้แสดงดำเนินเรื่องด้วยบทเจรจา เช่น เรื่องผกาวลี ดำเนินเรื่องโดยการแสดงบทและเจรจาอาจมีเพลงแทรกบ้าง เช่น ละครอิงประวัติศาสตร์ของหลวงวิจิตรวาทการ ดรรชนีนาง ขุนศึก ศรอนงค์ พันท้ายนรสิงห์. | ลิ้นทูต | ว. มีศิลปะในการเจรจาให้สำเร็จประโยชน์และเป็นที่พอใจด้วยกันทุกฝ่าย. | ส่งภาษา | ก. เจรจาปราศรัยกับผู้ที่พูดอีกภาษาหนึ่ง โดยกล่าวคำเป็นภาษานั้น เช่น ให้ล่ามไปส่งภาษาถามเขาดูว่าต้องการอะไร | สด ๆ, สด ๆ ร้อน ๆ | ซึ่ง ๆ หน้า เช่น เจ้าข้าเอ่ยบุคคลผู้ใดเลย ในโลกนี้ที่น่าจะเจรจาตลบเลี้ยวลดสด ๆ ร้อน ๆ เหมือนเจ้าพระยาเวสสันดรชีไพรเป็นว่าหามิได้นี้แล้วแล (เวสสันดร), โกหกสด ๆ ร้อน ๆ. | สันติวิธี | น. วิธีที่จะก่อให้เกิดความสงบ เช่น เจรจาสงบศึกโดยสันติวิธี. | สัมมาวาจา | น. “การเจรจาชอบ” คือ ประพฤติวจีสุจริต. | สิ้นสุด | ก. ถึงที่สุด, จบ, เช่น การแข่งขันบาสเกตบอลสิ้นสุดลงเมื่อเวลา ๑๘.๐๐ น. การเจรจายุติสงครามสิ้นสุดลงแล้ว, สุดสิ้น ก็ว่า. | สู่ขอ | ก. เจรจาขอหญิงจากพ่อแม่หรือผู้ปกครองเพื่อการแต่งงาน เช่น เขาขอให้พ่อแม่ไปสู่ขอลูกสาวกำนัน. | เสียเหลี่ยม | ก. เสียชั้นเชิงท่าที เช่น ในการเจรจาอย่าให้เสียเหลี่ยมเขาได้, ถูกลบเหลี่ยม เช่น นักเลงโตเสียเหลี่ยม ถูกนักเลงรุ่นน้องดักตีหัว, เสียเหลี่ยมเสียคม ก็ว่า. | หนังสด | น. การมหรสพอย่างหนึ่ง ลักษณะคล้ายโขนแต่เดินเรื่องเร็วกว่า ผู้แสดงสวมหัวโขนไม่ปิดคลุมใบหน้า ร้องและเจรจาเอง ใช้ปี่พาทย์บรรเลงประกอบ, โขนสด ก็เรียก. | หว่านล้อม | ว. ตะล่อมเข้ามาตามที่ต้องการ (มักใช้แก่กริยาพูด) เช่น พูดหว่านล้อม เจรจาหว่านล้อม. | อัษฎางคิกมรรค | (อัดสะดางคิกะมัก) น. ทางปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ตามหลักพระพุทธ-ศาสนา ประกอบด้วยองค์ ๘ คือ ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การงานชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจชอบ เรียกว่า อริยมรรคมีองค์ ๘ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง. | เอกอัครราชทูต | (เอกอักคฺระ-) น. ทูตอันดับหนึ่งซึ่งประมุขของรัฐแต่งตั้งไปประจำยังสำนักของประมุขของอีกรัฐหนึ่ง เพื่อให้เป็นตัวแทนในการเจรจากิจการต่าง ๆ และดูแลผลประโยชน์คนในชาติของตนในรัฐนั้น ๆ. | เอา ๑ | ถือเป็นสำคัญ เช่น เจรจาเอาถ้อยคำ เอาพี่เอาน้อง |
|
| | Contract negotiation | การเจรจาทำสัญญา [เศรษฐศาสตร์] | Collective bargaining | การร่วมเจรจาต่อรอง [เศรษฐศาสตร์] | Collective bargaining | การเจรจาต่อรองร่วม [TU Subject Heading] | Doha Development Agenda (2001-) | การเจรจาการค้าพหุภาคีรอบโดฮา [TU Subject Heading] | Environmental mediation | การเจรจาไกล่เกลี่ยด้านสิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] | Hostage negotiations | การเจรจาต่อรองตัวประกัน [TU Subject Heading] | Negotiation | การเจรจาต่อรอง [TU Subject Heading] | Negotiation in business | การเจรจาต่อรองทางธุรกิจ [TU Subject Heading] | Productivity bargaining | การเจรจาต่อรองเพื่อเพิ่มผลผลิต [TU Subject Heading] | Uruguay Round (1987-1994) | การเจรจาการค้าหลายฝ่ายรอบอุรุกวัย (ค.ศ.1987-1994) [TU Subject Heading] | Uruguay Round | การเจรจารอบอุรุกวัย, Example: การเจรจารอบที่ 8 ของแกตต์ เริ่มการเจรจาเมื่อ พ.ศ. 2529 และสิ้นสุดการเจรจาเมื่อ พ.ศ. 2536 มีประเทศเข้าร่วมเจรจา 117 ประเทศ ได้จัดประชุมระดับรัฐมนตรี จากประเทศภาคี เพื่อเปิดการเจรจาที่เมืองปุนต้า เดล เอสเต้ ประเทศอุรุกวัย จึงได้ใช้ชื่อการเจรจาเพื่อเป็นเกียรติแก่ประเทศเจ้าภาพ การเจรจารอบนี้ถือได้ว่าเป็นการเจรจาที่ครอบคลุมเรื่องต่างๆ อย่างกว้างขวางที่สุดเท่าที่แกตต์ (ดู GATT) ได้เคยขยายการเจรจาออกไปยังเรื่องใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อน ได้แก่ เรื่องการค้าที่เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา การค้าที่เกี่ยวกับมาตรการลงทุน และการค้าสินค้าบริการ ผลทางการเจรจาครอบคลุมกว้างขวางถึงการเปิดเสรีในการค้าสินค้าและการค้า บริการ รวมทั้งการปฏิรูประบบและกลไกของแกตต์ อาทิ ข้อตกลงเปิดตลาดสินค้าเกษตรโดยเปลี่ยนรูปแบบจากการห้ามนำเข้าหรือการจำกัด การนำเข้ามาเป็นภาษีศุลกากร (ดู Tariffication) การลดการอุดหนุนการส่งออก การปรับปรุงกระบวนการยุติข้อพิพาทของแกตต์ การกำหนดกรอบของการเปิดเสรีการค้าบริการการค้าที่เกี่ยวกับทรัพย์สินทาง ปัญญา (ดู IPRs) การเปลี่ยนรูปแบบข้อตกลงแกตต์เป็นสถาบันที่เรียกว่า องค์การการค้าโลก (ดู World Trade Organization) เป็นต้น [สิ่งแวดล้อม] | Aide-memoire หรือ Memoire | แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire [การทูต] | alternative perimeter | แนวเขตที่เสนอเป็นทางเลือกในการเจรจาเขตแดนระหว่างประเทศ [การทูต] | ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] | ASEAN Committees in Third Countries | คณะกรรมการอาเซียนในประเทศที่สาม เป็นกลไกประสานงานของอาเซียนที่จัดตั้งขึ้นในเมืองหลวงของประเทศที่สาม ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นประเทศคู่เจรจาของอาเซียน คณะกรรมการดังกล่าว ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำประเทศนั้น ๆ [การทูต] | ASEAN Dialogue Partners | คู่เจรจาอาเซียน " ประกอบด้วย 9 ประเทศ 1 กลุ่มประเทศ และ 1 องค์การระหว่างประเทศ คือ ออสเตรเลีย แคนาดา จีน อินเดีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี นิวซีแลนด์ รัสเซีย สหรัฐอเมริกา ประชาคมยุโรป และโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ โดยคู่เจรจาเหล่านี้ (ยกเว้นโครงการพัฒนาแห่งสห- ประชาชาติ) จะเข้าร่วมการประชุม PMC ด้วย " [การทูต] | ASEAN Sectoral Dialogue Partners | คู่เจรจาเฉพาะด้านของอาเซียน " ปัจจุบันมีเพียงประเทศเดียว คือ ปากีสถาน ทั้งนี้ คู่เจรจาเฉพาะด้าน มิได้รับเชิญให้เข้าร่วมการประชุม PMC " [การทูต] | ASEAN Vision 2020 | วิสัยทัศน์อาเซียน พ.ศ. 2563 เป็นเอกสารซึ่งที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2540 ได้ให้ความเห็นชอบ เพื่อแสดงถึงความมุ่งมั่นและพันธกรณีของอาเซียนที่จะนำประชาชนในภูมิภาคนี้ ไปสู่ (1) การเป็นภูมิภาคที่มีสันติภาพและเสถียรภาพ (2) ความเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งด้วยการรวมตัวทางเศรษฐกิจ อย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น (3) การเป็นสังคมที่เปิดกว้าง มีความเป็นปึกแผ่นและเอื้ออาทรต่อกัน และ (4) การกระชับความสัมพันธ์กับคู่เจรจาและโลกภายนอก บนพื้นฐานของความเป็นหุ้นส่วนที่เท่าเทียมกันและมีความเคารพซึ่งกันและกัน [การทูต] | Bangkok Declaration : Global Dialogue and Dynamic Engagement | ปฏิญญากรุงเทพ : การหารือและการมีส่วนร่วมอย่างมีพลวัตของประชาคมโลก " หนึ่งในสองของเอกสารผลการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 ที่แสดงฉันทามติของประเทศสมาชิกอังค์ถัด 190 ประเทศ เกี่ยวกับผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งแสดงเจตนารมณ์ร่วมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอังค์ถัดที่จะร่วมมือ กันดำเนินนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพื่อทำให้สมาชิกทั้งหมด โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา ได้รับประโยชน์จากกระบวนการโลกาภิวัตน์ในด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม อีกทั้งเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในระบบเศรษฐกิจโลก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบของกระบวนการโลกาภิวัตน์ได้ แม้ปฏิญญากรุงเทพจะไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่ก็เป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมือง เป็นสัญญาประชาคมที่ทุกประเทศสมาชิกอังค์ถัดมีพันธะที่จะต้องปฏิบัติตามแนว นโยบายที่ได้ร่วมกันแถลงไว้ในเอกสารดังกล่าว และเอกสารนี้สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการเจรจาหารือระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศในเรื่องของการเงิน การค้า การลงทุน และการพัฒนาได้ " [การทูต] | Conference on Disamament | การประชุมว่าด้วยการลดอาวุธ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2522 เพื่อเป็นเวทีเจรจาการลดอาวุธระหว่างประเทศ มีขอบเขตความรับผิดชอบเกี่ยวกับประเด็นด้านการลดอาวุธทุกด้าน และมีหน้าที่ รายงานต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติทุกปี ปัจจุบันมีสมาชิก 65 ประเทศ(ไทยมิได้เป็นสมาชิก) โดยที่ผ่านมาประสบผลสำเร็จในการเจรจาจัดทำความตกลงระหว่างประเทศ ด้านการลดอาวุธหลายฉบับ ที่สำคัญได้แก่ สนธิสัญญาไม่แพร่อาวุธนิวเคลียร์ อนุสัญญาห้ามเคมี อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ และสนธิสัญญาห้ามทดลองนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์ [การทูต] | Communiqué | คำประกาศทางการหรือแถลงการณ์ทางการ ซึ่งรายงานให้ทราบผลของการประชุม หรือการเจรจาเป็นทางการระหว่างเจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ในรัฐบาล เช่น ประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ เอกอัครราชทูต หรือบุคคลอื่นในระดับนั้น คำแถลงการณ์ที่เรียกว่า Communiqué นี้ไม่มีรูปแบบโดยเฉพาะแต่อย่างใด โดยปกติอะไรที่ได้ตกลงกันไว้ในการเจรจาจะบรรจุไว้ด้วยถ้อยคำกว้างๆ ส่วนอะไรที่มิได้ระบุไว้ในแถลงการณ์มักจะมีความสำคัญยิ่งกว่าถ้อยคำที่เขียน ไว้เสียด้วย [การทูต] | Conference Diplomacy | กระบวนการเจรจาระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาลในรูปของการ ประชุม แทนที่จะกระทำโดยวิถีทางการทูตตามปกติ คือ โดยทางเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนทางการทูตถาวร การประชุมแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า การประชุมโต๊ะกลม เพื่อทำหน้าที่ระงับปัญหาระหว่างประเทศนั้น เริ่มนิยมกระทำกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การประชุมระหว่างประเทศนี้จะประกอบด้วยคณะผู้แทน ซึ่งมีหัวหน้าคณะที่ได้รับมอบอำนาจเต็ม และรัฐบาลของประเทศที่ร่วมประชุมเป็นผู้ส่งไป ในเรื่องนี้มีความเห็นแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างเห็นว่า ควรเป็นการประชุมทางการทูตตามประเพณีที่กระทำกันโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยอาชีพ ซึ่งเป็นไปตามวิถีทางการทูตตามปกติมากกว่า [การทูต] | ASEAN Committee on Science and Technology | คณะกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี " มีหน้าที่ดูแลความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างประเทศสมาชิกอา เซียนและกับประเทศคู่เจรจาและองค์กรอื่น ๆ ประชุมปีละ 2 ครั้ง โดยแยกเป็นอนุกรรมการ 9 คณะ คือ (1) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร (2) ด้านอุตุนิยมวิทยาและธรณีฟิสิกส์ (3) ด้านไมโครอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (4) ด้านวัสดุศาสตร์และเทคโนโลยี (5) ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ (6) ด้านการวิจัยพลังงานนอกแบบ (7) ด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล (8) ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและทรัพยากรด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (9) ด้านเทคโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ " [การทูต] | Diplomatist หรือ Diplomat | ใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต] | Functions of Diplomatic Mission | ภาระหน้าที่ต่าง ๆ ของคณะผู้แทนทางการทูต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง หน้าที่ที่ปฏิบัติเป็นประจำของผู้แทนทางการทูตนั้น ได้แก่ หน้าที่การเจรจา การสังเกต และการคุ้มครอง อย่างไรก็ดี มีบางประเทศได้มอบอำนาจให้ผู้แทนทางการทูตของตนปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล และกิจกรรมเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ด้วย ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญใด ๆ กับการทูตเลยเกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ว่า1. นอกจากประการอื่นแล้ว การหน้าที่ของคณะผู้แทนทางการทูตประกอบด้วยก. ทำหน้าที่แทนรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับข. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่งและของคนชาติของรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดอันกฎหมายระหว่างประเทศได้อนุญาตให้ค. เจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับง. สืบเสาะให้แน่ด้วยวิถีทางทั้งมวลอันชอบด้วยกฎหมายถึงสถาวะและพัฒนาการในรัฐ ผู้รับ แล้วรายงานไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่งจ. ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ2. ไม่มีข้อความในอนุสัญญานี้ ที่จะหมายความได้ว่าเป็นการห้ามไม่ให้คณะผู้แทนทางการทูตปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล [การทูต] | Ganga-Suwanabhumi-Mekong Cooperation | ความร่วมมือลุ่มน้ำคงคา-สุวรรณภูมิ-ลุ่มน้ำโขง ประกอบด้วย ไทย-ลาว-พม่า-เวียดนาม-กัมพูชา และอินเดีย เป็นกรอบความร่วมมือที่เสนอในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับ รัฐมนตรีต่างประเทศประเทศคู่เจรจา ครั้งที่ 33 เมื่อ 28 กรกฎาคม 2543 โดยมีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2543 [การทูต] | General Agreement on Tariffs and Trade | ความตกลงต่าง ๆ เกี่ยวกับพิกัดอัตราภาษีศุลกากร และการค้า โดยจุดประสงค์ที่จะให้ประเทศทั้งหลายตัดทอนข้อกีดขวาง ทางการค้าระหว่างกันให้น้อยลง การเจรจาทำความตกลงเหล่านี้ได้กระทำผ่านทางองค์การการค้าระหว่างประเทศ [การทูต] | good offices | การช่วยเป็นสื่อกลางให้มีการเจรจากัน [การทูต] | Good Offices และ Mediation | วิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้ [การทูต] | India-Brazil-South Africa | เวทีเจรจาสามฝ่าย ระหว่างอินเดีย บราซิล และแอฟริกาใต้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสิมความร่วมมือในกรอบใต้-ใต้ใน วงกว้าง เป้าหมายหลัก IBSA คือการส่งเสริมและขยายโอกาส ด้านการค้า การลงทุน การพัฒนาสังคม และการเลแกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างกัน [การทูต] | Indian Ocean Rim Association for Regional Cooperation | สมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคมหาสมุทรอินเดีย ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2537 โดย Charter of the Indian Ocean Rim Association for Regional Co-operation มีสมาชิกทั้งหมด 19 ประเทศ และมีอียิปต์กับญี่ปุ่นเป็นประเทศคู่เจรจาด้วย สำนักงานเลขาธิการตั้งอยู่ที่สาธารณรัฐมอริเชียส [การทูต] | negotiating conference | การประชุมเจรจา [การทูต] | New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] | Normal Diplomacy | การติดต่อทางการทูตโดยวิถีทางทูตตามปกติ มักจะกระทำกันดังนี้ เมื่อรัฐบาลต้องการจะหยิบยกปัญหาขึ้นกับอีกรัฐบาลหนึ่ง ตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจะส่งคำสั่งไปยังเอกอัครราชทูตของ ประเทศตนที่ประจำอยู่ในประเทศผู้รับส่งให้ยกเรื่องนั้นขึ้นเจรจากับรัฐบาล ของประเทศผู้รับ โดยปกติเอกอัครราชทูตจะมีหนังสือทางการทูต (Diplomatic Note) เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงการต่างประเทศ ของประเทศผู้รับนั้นก่อน หรือไม่ก็ไปพบกับรัฐมนตรีด้วยตนเอง ณ กระทรวงการต่างประเทศ การเจรจากันอาจทำให้จำเป็นต้องมีการบันทึกของทูตแลกเปลี่ยนกันขึ้น ในรูปบันทึกช่วยจำ (Aide-Memoire ) ในบางกรณี เอกอัครราชทูตจำเป็นต้องไปพูดจา ณ กระทรวงการต่างประเทศ อีกหลายครั้งกว่าจะเสร็จเรื่อง ในระหว่างนั้น เอกอัครราชทูตมีหน้าที่จะต้องรายงานผลการเจรจาแต่ะครั้งไปยังกระทรวงการต่าง ประเทศของตน และบางคราวอาจจะต้องขอคำสั่งเพิ่มเติมอีกเมื่อเกิดกรณีใหม่โดยมิได้คาดหมาย มาก่อนเป็นต้น ในขณะเดียวกันกระทรวงการต่างประเทศของประเทศผู้รับก็จะส่งคำสั่งไปยังเอก อัครราชทูตของตน แนะว่าควรดำเนินการอย่างไรเกี่ยวกับปัญหาที่กำลังเจรจากันกับรัฐบาลของ ประเทศที่ตนประจำอยู่ผลการเจรจาอาจเป็นที่ตกลงกันได้ระหว่างรัฐบาลทั้งสอง ฝ่าย หรืออาจจะจบลงด้วยภาวะชะงักงัน ( Stalemate ) หรือรัฐบาลทั้งสองอาจจะตกลงกันว่าไม่สามารถตกลงกันได้ และปล่อยให้ปัญหาคาราคาซังไปก่อน จนกว่าจะมีการรื้อฟื้นเจรจากันใหม่ บางคราวปัญหาที่ยังตกลงกันไม่ได้นั้น อาจกลายเป็นปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงต่อไปก็ได้ [การทูต] | Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] | PA | Palestinian Authority หรือ Palestinian National Authority (PNA) เป็นองค์การบริหารดินแดนยึดครอง (Occupied Territories) ในเขต Gazza และเขต West Bank ได้รับการจัดตั้งเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.2537 ซึ่งเป็นผลจากความตกลงออสโล (Oslo Accords) ระหว่างอิสราเอลกับ Palestinian Liberation Organization (PLO) เพื่อเป็นองค์กรบริหารดินแดนยึดครองก่อนที่การเจรจา Final Statua จะประสบความสำเร็จ [การทูต] | Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] | Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] | peace making | การทำให้เกิดสันติภาพ เป็นการดำเนินการทางการทูตโดยมักใช้วิธีไกล่เกลี่ย และเจรจาเพื่อยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี [การทูต] | Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] | Pacific Islands Forum | PIF เป็นองค์กรระดับภูมิภาคของประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 เพื่อขยายความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจ การพัฒนาที่ยั่งยืน ธรรมาภิบาลและความมั่นคง ปัจจุบันมีสมาชิก 16 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ นาอูรู หมู่เกาะคุก ตองกา ฟิจิ ซามัว หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะมาร์แชลล์ ปาปัวนิวกีนี วานูอาตู ปาเลา ไมโครนีเซีย คิริบาส นีอูเอ และตูวาลู มีประเทศคู่เจรจา (Dialogue Partner) จำนวน 12 ประเทศและ 1 กลุ่มเศรษฐกิจ ประกอบด้วย แคนาดา จีน ฝรั่งเศส อินเดีย อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ไทย และสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีประเทศผู้สังเกตการณ์ (Observer Status) อีก 3 ประเทศ คือ ติมอร์เลสเต นิวแคลิโดเนีย และเฟรนซ์โปลินีเซีย สำนักเลขาธิการ PIF ตั้งอยู่ที่กรุงซูวา ประเทศฟิจิ [การทูต] | Post Ministerial Conferences | การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจา " เป็นการประชุมที่มีขึ้นหลังการประชุมประจำปีของรัฐมนตรีต่าง- ประเทศอาเซียน ปัจจุบันประกอบด้วยรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน 10 ประเทศ และรัฐมนตรีต่างประเทศของคู่เจรจา 10 ประเทศ/กลุ่มประเทศ " [การทูต] | ASEAN Post Ministerial Conferences 10+1 Session with a Dialogue Partner | การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรีต่างประเทศของคู่เจรจาเป็น รายประเทศ เป็นส่วนหนึ่งของการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรีต่างประเทศ ของคู่เจรจา (PMC) ในลักษณะของการแยกหารือในประเด็นของความสัมพันธ์ระหว่างสิบประเทศสมาชิกอา เซียนกับแต่ละคู่เจรจา [การทูต] | ASEAN Post Ministerial Conferences 10+10 Session | การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรีต่างประเทศของคู่เจรจาทั้ง หมด เป็นส่วนหนึ่งของการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรีต่างประเทศ ของคู่เจรจา (PMC) ในลักษณะของการหารือร่วมกันทั้งหมดระหว่างสิบประเทศสมาชิกอาเซียนกับประเทศ คู่เจรจาในประเด็นที่มีความกังวลร่วมกันหรือปรารถนาที่จะมีความร่วมมือ ระหว่างกัน [การทูต] | Shuttle Diplomacy | การทูตแบบกระสวย หมายถึง การเดินทางไปเจรจาทางการทูตเพื่อคลี่คลายปัญหาหรือกรณีพิพาทโดยผู้ไกล่ เกลี่ยจะต้องเดินทางกลับไป-กลับมาระหว่างประเทศหรือคู่กรณีที่มีความขัดแย้ง กัน เช่น การแก้ปัญหาในตะวันออกกลาง [การทูต] | Stalemate | ภาวะจนมุม เป็นคำที่ยืมมาจากเกมหมากรุกและใช้ในความหมายที่ว่า ตกอยู่ในสภาพชะงักงันหรือทางตัน คำนี้จะใช้กันแพร่หลายในด้านการทูต และในด้านการเจรจาระหว่างประเทศ คือ ทั้งสองฝ่ายต่างยึดมั่นในหลักการของแต่ละฝ่าย ซึ่งแตกต่างกันได้ก็ด้วยอาศัยมือที่สาม หรือประเทศที่สามเข้ามาแทรกแซงแก้ไขให้ [การทูต] | Summit Diplomacy | การเจรจาตัวต่อตัวโดยตรง (Direct face-to-face negotiation) ระหว่างประมุขของรัฐ (Head of State) หรือ ระหว่างหัวหน้าของรัฐ (Head of Government) ในปัจจุบันเรียกว่า การเจรจาสุดยอด [การทูต] | visit | การเยือน " - State Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในระดับประมุขของรัฐ หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญของต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ ที่มีสถานะเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี โดยเป็นการเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของรัฐผู้รับ รัฐผู้รับจะจัดพิธีการต้อนรับอย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Official Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของ รัฐบาล หมายถึง การเยือนเป็นทางการของประมุขของรัฐ มกุฎราชกุมาร หัวหน้ารัฐบาล หรือหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่ง เทียบเท่า โดยเป็นแขกรับเชิญของรัฐบาล และจัดพิธีการรับรองต่าง ๆ อย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Visit as Guest of the Royal Thai Government การเยือนในฐานะแขกของรัฐบาล หมายถึง การเยือนของประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาลและหัวหน้า องค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าซึ่งไม่ได้เดินทางมาเยือนอย่าง เป็นทางการหรือเพื่อเจรจาทำงาน รวมทั้งการเสด็จฯ เยือนของพระราชวงศ์ รองประธานาธิบดีและบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งเทียบเท่า ซึ่งรัฐบาลไทยปรารถนาที่จะแสดงไมตรีจิตโดยเชิญให้มาเยือนประเทศไทยในฐานะแขก ของรัฐบาล และจัดการต้อนรับให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเยือนในแต่ละกรณี - Working Visit การเยือนเพื่อเจรจาทำงาน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ เจรจาในปัญหาหรือประเด็นใดเป็นการเฉพาะในระยะเวลาอันสั้น - Visit as Guest of Their Majesties the King and Queen of Thailand การเยือนในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วนพระองค์ หมายถึง การเสด็จเยือนของพระราชวงศ์ต่างประเทศ หรือการเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วน พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ - Private Visit การเยือนส่วนตัวหรือแวะผ่าน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ พระราชวงศ์ หัวหน้ารัฐบาล หรือผู้นำองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่า และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเยือนเป็นการส่วนตัวหรือการแวะผ่านประเทศในระยะเวลา อันสั้น รัฐผู้รับจะจัดการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้ตามความเหมาะสม " [การทูต] | working lunch | งานเลี้ยงอาหารกลางวันเพื่อเจรจาทำงาน [การทูต] | Concentration, Minimal Inhibitory | ค่าความเข้มข้นต่ำสุดของยาที่สามารถยับยั้งการเจรจา [การแพทย์] |
| Barker refused to negotiate. | Barker ปฏิเสธที่จะเจรจา In the Name of the Father (1993) | He just wants a little conversation. | เขาแค่อยากเจรจาอะไรนิดหน่อย Léon: The Professional (1994) | (Door closes as film dialogue continues) | (ปิดประตูการเจรจาเป็นภาพยนตร์อย่างต่อเนื่อง) The Shawshank Redemption (1994) | They were in the Middle East negotiating peace when... | ขณะที่พวกเขากำลังเจรจาสันติภาพ ที่ตะวันออกกลาง Jumanji (1995) | At least till we've negotiated this loan. | อย่างน้อย ให้การเจรจากู้ยืมนี้ผ่านไปก่อน The Great Dictator (1940) | - Epstein refuses to lend the money. | - เอฟสติน ยกเลิกการเจรจากู้ยืนเงิน The Great Dictator (1940) | He complained of the persecution and said he wouldn't have any dealings with a mediaeval maniac. | เขาไม่พอใจกับการสังหารหมู่ยิวครับ และ มันจะไม่เจรจา กับ พวกที่บ้าอำนาจ The Great Dictator (1940) | He wants to discuss it. | เขาจะ เจรจาครับ The Great Dictator (1940) | His Excellency invites you to Tomainia to discuss the matter. | ท่านผู้นำ เชิญท่าน มา โทไมเนีย เพื่อเจรจาครับ The Great Dictator (1940) | Did any good ever come from all that talk around all those tables? | นั่งเจรจากันบนโต๊ะ Beneath the Planet of the Apes (1970) | -What about the negotiator? | - สิ่งที่เกี่ยวกับการเจรจาต่อรองหรือไม่ The Godfather (1972) | The negotiator plays cards until Mike is back safe. | การเจรจาต่อรองที่เล่นไพ่จนไมค์กลับมาอยู่ที่ปลอดภัย The Godfather (1972) | He's a reasonable man open to negotiation. | เขาเป็นคนมีเหตุผล ...ถึงได้เปิดเจรจา The Road Warrior (1981) | one's got basic diplomacy skills. | คนนึงมีทักษะการเจรจาต่อรอง Spies Like Us (1985) | you're the diplomat. talk to them. all right. | - นายลองเจรจาดูสิ ยอมแพ้ซะ แล้วฉันจะคืนดวงอาทิตย์ให้ นี่คือน้องสาวฉัน ฉันยกให้ ได้ยินว่า เธอเจ๋งมาก Spies Like Us (1985) | that's right! | - ลักพาตัว การเจรจาลดอาวุธนิวเคลียร์ Spies Like Us (1985) | I see the chief United States delegate mr. Emmett Fitz-Hume. mr. | ผมเห็นหัวหน้าคณะเจรจาฝ่ายสหรัฐฯ คุณ Emmett Fitz-Hume ทุกคนอยากรู้ว่า การเจรจาเป็นอย่างไรบ้าง Spies Like Us (1985) | well, ed, right now we're at an extremely sensitive juncture. | ขณะนี้ การเจรจา กำลังอยู่ในจุดที่ละเอียดอ่อน Spies Like Us (1985) | and, of course, the slightest misperceived phrase or gesture could upset everything we've achieved today. | วลีหรือท่าทางที่ไม่เหมาะสม แม้เพียงเล็กน้อย อาจทำให้การเจรจาที่ทำมา ล้มเหลวทั้งหมด Spies Like Us (1985) | Emmett Fitz-Hume, chief state department negotiator here at the disarmament talks re-entering what he has called | หัวหน้าคณะเจรจาฝ่ายสหรัฐฯ ในการเจรจาลดอาวุธนิวเคลียร์ Spies Like Us (1985) | "the delicately balanced negotiations." | กลับเข้าไปในการเจรจาที่เขาเรียกว่า "การต่อรองเพื่อดุลยภาพอย่างมีชั้นเชิง" Spies Like Us (1985) | Everything will be fine if we can make a deal with the Count. | ทุกอย่างต้องเรียบร้อย หลังเราเจรจากับเคานท์ Vampire Hunter D (1985) | What's important is diplomacy and political maneuvering, which you seem to despise. | สิ่งสำคัญก็คือความชำนาญในการเจรจาและยุทธศาสตร์ทางการเมือง เหล่านี้ดูเหมือนเป็นสิ่งที่คุณชิงชังยิ่งนัก Akira (1988) | We can still talk, can't we? | ก็พอเจรจากันไหวนี่ Casualties of War (1989) | You are a tough negotiator, Charles. | คุณเป็นผู้เจรจาต่อรองที่ยากชาร์ลส์ Teenage Mutant Ninja Turtles (1990) | I had a date. So I sent my chief negotiator. | ผมไม่ได้ไปผมมีนัด ก็เลยส่งลูกพี่ ผมไปเจรจาแทน Good Will Hunting (1997) | Then perhaps His Majesty should speak to their leader. | พระองค์น่าจะเจรจากับตัวผู้นำ The Man in the Iron Mask (1998) | Bargain me to Louis for all your lives. You've done your best. | เจรจามอบตัวข้าให้พวกท่านรอด พวกท่านทำดีที่สุดแล้ว The Man in the Iron Mask (1998) | He patched things up with the Okadas. | เจรจาไกล่เกลี่ยกับพวกโอกาดะแล้ว Blues Harp (1998) | We believe it's extremely likely that he'll target the secret talks that are scheduled with the Republic of Gavel. | เชื่อว่า เป้าหมายอยู่ที่การเจรจาลับ นั่นคือกำหนดการเกี่ยวกับสาธารณะรัฐแกเวล Ghost in the Shell (1995) | As a precaution, we've put everyone attending the talks under surveillance. | เพื่อเป็นการป้องกัน, เราได้ให้ทุกคนเฝ้าระวัง ในระหว่างที่มีการเจรจา Ghost in the Shell (1995) | Paul, the son-of-a-bitch pilot wants to renegotiate his rate. | พอลลูกชายของ-เลวนักบิน ต้องการที่จะเจรจาอัตราของเขา Dante's Peak (1997) | All right, now. Me and Mr. Jenkins is all settled up. | ตอนนี้ ปู่กับคุณเจนกินส์ เจรจากันเรียบร้อย The Education of Little Tree (1997) | Mr Neski was killed before a meet. | เนสกี้ถูกฆ่า ระหว่างที่เรากำลัง เจรจาขอซื้อข้อมูลนี้จากเขา The Bourne Supremacy (2004) | Keep on pedaling, you're almost to a busy intersection. | จะเหยียบไว้นะ เพราะดูเหมือนการเจรจาธุรกิจของเธอกำลังยุ่งอยู่ Eating Out (2004) | The problem is, General Bizimungu, I have information that the hterhamwe militia will not heed the peace agreement. | คือว่านะ นายพล Bizimungu ผมได้ยินมา ว่าแกนนำพวกผู้ร่วมชุมนุม ไม่ต้องการเจรจาสันติภาพ Hotel Rwanda (2004) | Negotiation has replaced confrontation... | การเจรจา เข้ามาแทนที่ การเผชิญหน้า Hotel Rwanda (2004) | I better go have a word with them. | เดี๋ยวผมจะออกไปเจรจาเอง Hotel Rwanda (2004) | Diplomacy, therefore, as we've demonstrated, | การเจรจาทางการทูต ตามที่เราได้สาธิตไปนั้น The Constant Gardener (2005) | Nobu has taught me a great deal, patience, for one thing. | โนบุสอนผมเรื่องการเจรจา ความอดทนและอีกอย่าง ผมก็อยากสอนเขากลับบ้าง Memoirs of a Geisha (2005) | You gonna help me out here? | นายจะช่วยฉันเจรจามั้ย The Longest Yard (2005) | Negotiate? . | ใช้การเจรจา ? Æon Flux (2005) | We need to put together a committee and talk to the government. | เราต้องรวบรวมกลุ่มเพื่อจัดตั้งคณะกรรมการและเจรจากับรัฐบาล X-Men: The Last Stand (2006) | Then you realise, while you're talking about organising and committees, the extermination has already begun. | ในขณะที่เราพุดถึงการจัดตั้งกรรมการและการเจรจาอยู่นี้ การทำลายล้างได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว X-Men: The Last Stand (2006) | - I'm here to negotiate. | - ฉันมานี่เพื่อขอเจรจา Pirates of the Caribbean: Dead Man's Chest (2006) | Come to negotiate, eh, have you, you slimy git? | มาเจรจากัน .. เอ่ย ดีไหม .. แก .. Pirates of the Caribbean: Dead Man's Chest (2006) | See, rumor has it the Athenians have already turned you down. | เราจำต้องเจรจา 300 (2006) | What makes this woman think she can speak among men? | เดินมาเถิด เผื่อจะเจรจาคล่องปาก 300 (2006) | Your son starts the agoge next year. | ท่านมีเวลาเจรจาสองวัน ก่อนประชุมสภา 300 (2006) | He has my cell number. Just to let me know we're on. | เขามีเบอร์ผม แค่ให้ผมรู้ผลเจรจาเร็วๆละกัน Little Miss Sunshine (2006) |
| เจรจา | [jēnrajā = jēnjā] (v) EN: talk ; speak ; converse ; discuss ; negotiate ; confer ; exchange views FR: négocier ; discuter ; converser ; échanger un point de vue | เจรจาธุรกิจ | [jēnrajā thurakit = jēnjā thurakit] (v, exp) EN: talk about business FR: parler affaires | เจรจา | [jērajā] (v) EN: negotiate FR: négocier | การเจรจา | [kān jēnrajā] (n) EN: negotiation FR: négociation [ f ] ; pourparler [ m ] ; dialogue [ m ] | การเจรจาหกฝ่าย | [kān jēnrajā hok fāi] (x) EN: six-party talks | การประชุมเจรจา | [kān prachum jēnrajā = kān prachum jēnjā] (n, exp) EN: negotiating conference FR: table de négociations [ f ] | เข้าร่วมการเจรจา | [khaoruam kān jēnrajā] (v, exp) EN: take part in negotiations FR: prendre part à une réunion de négociation | คู่เจรจา | [khū jērajā] (n, exp) EN: negotiating party | พักการเจรจา | [phak kān jēnrajā] (v, exp) EN: suspend negotiations FR: suspendre les négociations | ผู้เจรจา | [phūjērajā] (n) EN: negotiator FR: négotiateur [ m ] | โต๊ะเจรจา | [to jērajā] (n, exp) EN: negotiating table FR: table de négociation [ f ] |
| bargain | (n) การต่อรอง, See also: การเจรจา, การต่อรองราคา | bargain | (vi) ต่อรอง, See also: ต่อ, เจรจา, ต่อราคา, Syn. negotiate, barter | barter | (vi) เจรจาต่อรอง, See also: ต่อรองการค้า, Syn. trade | break down | (phrv) เสื่อมโทรม (สุขภาพ), See also: ล้มเหลว การเจรจา | cease-fire | (n) การหยุดรบ, See also: การยุติการสู้รบ, การตกลงหยุดสู้รบเพื่อการเจรจาหาสันติ, Syn. truce, armistece, cease-fire | chatty | (adj) ช่างคุย, See also: ช่างเจรจา, ช่างพูด, พูดเก่ง, คุยเก่ง, Syn. gabby, talkative, talky | diplomacy | (n) ความเชี่ยวชาญในการคบค้าสมาคม, See also: ทักษะในการเจรจาต่อรอง, Syn. tact, artfulness statesmanship, Ant. tactlessness, crudeness | diplomatic | (adj) เกี่ยวกับการทูต, See also: เกี่ยวกับการเจรจาต่อรอง, Syn. polite, statesmanlike, wise, Ant. direct, blunt | interlocution | (n) การสนทนา, See also: การพูดคุย, การเจรจา, Syn. conversation | interlocutor | (n) ตัวแทนเจรจา, See also: ตัวแทนในการต่อรอง คำทางการ | negotiate with | (phrv) เจรจาต่อรองกับ | negotiability | (n) การเจรจาต่อรองกันได้ | negotiable | (adj) ซึ่งสามารถเจรจากันได้, Syn. assignable, conveyable, transferable, Ant. inalienable, unalienable | negotiate | (vi) เจรจาต่อรอง, Syn. compromise, reconcile | negotiate | (vt) เจรจาต่อรอง, Syn. compromise, reconcile | negotiation | (n) การเจรจาต่อรอง, See also: การต่อรอง, Syn. bargaining, conciliation | negotiator | (n) ผู้เจรจาต่อรอง, See also: คนต่อรอง, Syn. mediator | palaver | (n) การเจรจา, Syn. conference, discussion | palaver | (vi) เจรจา, See also: ถกเถียง, แลกเปลี่ยนความคิดเห็น, Syn. confer | palter | (vi) เจรจาแลกเปลี่ยน, See also: พูดต่อรอง, Syn. haggle, bargain, chaffer | parley | (n) การเจรจา, See also: การประชุม, การสนทนา, การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น, Syn. discussion, conference, colloquium | parley | (vi) เจรจา, See also: เจรจา, ประชุม, สนทนา, Syn. talk, converse, speak | parley with | (phrv) เจรจาตกลงกับ | renegotiable | (n) ซึ่งเจรจาอีกครั้ง | renegotiate | (vi) เจรจาอีกครั้ง, See also: ต่อรองใหม่, เจรจาใหม่ | renegotiate | (vt) เจรจาอีกครั้ง, See also: ต่อรองใหม่, เจรจาใหม่ | renegotiation | (n) การเจรจาอีกครั้ง, See also: การต่อรองใหม่ | wheeler-dealer | (sl) ผู้เจรจาต่อรอง (มักใช้วิธีการไม่ถูกต้องในการต่อรอง) | talk | (vt) พูดคุย, See also: สนทนา, เจรจา, กล่าวคำ, Syn. discuss, speak, chat | talk | (vi) พูดคุย, See also: สนทนา, เจรจา, กล่าวคำ, Syn. discuss, speak, chat | talkative | (adj) ช่างพูด, See also: ช่างคุย, ช่างเจรจา, ซึ่งพูดมาก, Syn. chatty, gabby | transact | (vt) เจรจา | treatment | (n) การเจรจา |
| interlocution | (อินเทอโลคิว'เชิน) n. การสนทนา, การเจรจา, Syn. conversation | interlocutor | (อินเทอลอค'คิวเทอะ) n. ผู้สนทนา, ผู้เจรจา, Syn. conversationalist | negotiable | (นิโก'ชิอะเบิล) adj. โยกย้ายกันได้, เจรจากันได้, ซื้อขายกันได้., See also: negotiability n. | negotiant | (นิโก ช 'เอินทฺ) n. ผู้เจรจา | negotiate | (นิโก'ช ' เอท) vi., vt. เจรจา, จัดการ, แลกเป็นเงิน, ซื้อขาย., See also: negotiator n. | negotiation | (นิโกชิเอ' เชิน) n. การเจรจา, Syn. mediation | palaver | (พะแลฟ'เวอะ) v., n. (การ) พูดแบบน้ำท่วมทุ่ง, เจรจา, หารือ, คะยั้นคะยอ, See also: palaverer n. | parley | (พาร์'ลี) n. การเจรจา, การประชุม | peace conference | n. การประชุมเจรจาสันติภาพ | speak | (สพีค) { spoke, spoken, speaking, speaks } vi., vt. พูด, คุย, กล่าว, แสดงความเห็น, สนทนา, เจรจา, ปราศรัย, ตรัส, บรรยาย, แถลง, แสดงถึง, เกิดเสียง, Syn. talk, mention | talk | (ทอล์ค) vi., vt., n. (การ) พูด, สนทนา, เจรจา, ปราศรัย, โจษจัน, เรื่องสนทนา, See also: talkability n. talkable adj. talker n. -Phr. talk big คุยโต คุยโว, Syn. converse, utter, speech | talkative | (ทอลคฺ'คะทิฟว) adj. ขี้คุย, ช่างคุย, ชอบเจรจา, พูดมาก., See also: talkativeness n., Syn. taciturn | treat | (ทรีท) vt., vi., n. (การ) กระทำกับ, ปฎิบัติกับ, รักษา, เยียวยา, จัดการ, พิจารณา, ใส่กับ, เลี้ยง, ต้อนรับ, จัดหาอาหารให้. vi. จัดการ, เลี้ยง, เจรจา., See also: treatable adj. treater n. treatment n., Syn. behave, medicate, entertainment | treaty | (ทรีท'ที) n. สนธิสัญญา, ข้อตกลง, การเจรจาเพื่อตกลงกัน, See also: treatyless adj. |
| interview | (n) การสัมภาษณ์, การสนทนา, การเจรจา, การไต่ถาม | interview | (vt) สัมภาษณ์, สนทนา, เจรจา, ไต่ถาม | negotiable | (adj) ตกลงกันได้, เจรจากันได้, เปลี่ยนมือกันได้ | negotiate | (vi, vt) เจรจาตกลง, ซื้อขาย, แลกเปลี่ยน, จัดการ, โยกย้าย | negotiation | (n) การเจรจา, การประชุม, การซื้อขาย | negotiator | (n) ผู้เจรจา, ผู้ซื้อขาย, ผู้แลกเปลี่ยนกัน | parley | (n) การตกลง, การเจรจาข้อพิพาท, การประชุม | parley | (vi) ตกลง, เจรจาข้อพิพาท, ประชุม, สนทนา | speak | (n) การสนทนา, การพูด, การเจรจา, การตรัส | talk | (n) การพูด, การสนทนา, การเจรจา, ปาฐกถา | talk | (vi) พูด, สนทนา, เจรจา, คุย | treaty | (n) สนธิสัญญา, สัญญาระหว่างชาติ, ข้อตกลง, การเจรจา |
| course of dealing | (n) การเจรจาทำความตกลงกัน | negotiate | (n, modal, verb, adj, adv) เจรจาต่อรอง | negotiator | (n) ผู้เจรจา | pointman | ตัวแทนเจรจา | weng | [เหวง] (n, modal, verb) พูดไม่รู้เรื่อง, มึนงง, พูดนอกเรื่อง บอกเป็นนัย ๆ ว่าข้าพเจ้าเป็นฝ่ายถูก มักจะถูกนำมาใช้เมื่อกำลังไม่ได้สิ่งที่ตนเองต้องการ (เริ่มใช้ครั้งแรกบนโต๊ะเจรจา), Syn. confuse | weng | [เหวง] (vt) พูดไม่รู้เรื่อง, มึนงง, พูดนอกเรื่อง บอกเป็นนัย ๆ ว่าข้าพเจ้าเป็นฝ่ายถูก มักจะถูกนำมาใช้เมื่อกำลังไม่ได้สิ่งที่ตนเองต้องการ (เริ่มใช้ครั้งแรกบนโต๊ะเจรจา), See also: wenger, Syn. confuse |
| 外交官 | [がいこうかん, gaikoukan] TH: ผู้เจรจาทางการทูต EN: diplomat | 話合い | [はなしあい, hanashiai] TH: การเจรจาตกลงกัน | 相談 | [そうだん, soudan] TH: การเจรจา EN: discussion | 話し合う | [はなしあう, hanashiau] TH: เจรจาพูดคุย EN: to discuss |
| Verhandlung | (n) |die, pl. Verhandlungen| การเจรจา, การประนีประนอม | ein Gespräch führen | นำหรือทำการเจรจา, เจรจา | Gipfel | (n) |der, pl. Gipfel| การเจรจาระหว่างผู้นำชั้นสูงระดับประเทศ เช่น Gipfeltreffen |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |