ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -นิ-, *นิ* |
|
| hunnid | [ฮัน-นิด] (n, slang) hundred, See also: R. hunnid band |
| | กมลโยนิ | (n) น. "ผู้เกิดจากบัว" คือ พระพรหม |
| | | นิค | (n) NIC, See also: newly industrialized country, Syn. ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ | นิจ | (adv) habitually, See also: regularly, constantly, Syn. สม่ำเสมอ, เป็นกิจวัตร, เสมอๆ, Ant. นานนานครั้ง, Example: เธอโทรศัพท์ไปหาแม่อยู่เป็นนิจ | นิด | (adj) small, See also: a little, a bit, little, Syn. เล็ก, น้อย, กระจิดริด, Ant. เบิ้ม, โต, ใหญ่, Example: น้องของเขามีตาเล็กนิดนึง เรียกว่าเป็นขีดเดียวเท่านั้น | นิดๆ | (adv) slightly, See also: trivially, triflingly, Ant. เหลือเกิน, มาก | นิดๆ | (adv) a little bit, See also: a little, in little, little by little, Syn. น้อยๆ, นิดหน่อย, เล็กน้อย, Ant. มาก, Example: วันนี้อากาศเย็นนิดๆ พอสบาย | นิดๆ | (adj) very small, See also: small, a little, tiny, Syn. เล็กๆ, จ้อย, กะจ้อยร่อย, Ant. มาก, Example: น้องติดใจตุ๊กตาไม้ตัวนิดๆ ที่วางเรียงอยู่ที่หน้าร้าน | นิติ | (n) law, See also: rule, regulation, Syn. กฎหมาย, กฎปฏิบัติ, Example: น้องของเขาเรียนนิติอยู่ที่ธรรมศาสตร์ปี 4 แล้ว, Count Unit: วิชา, Notes: (บาลี) | นิยม | (n) principle, See also: theory, doctrine, Example: ประเทศในยุโรปตะวันออกหลายประเทศได้ยกเลิกการปกครองระบบสังคมนิยม | นิยม | (n) decree, See also: order, decide, appoint, Syn. การกำหนด, การตั้งกฎเกณฑ์, แบบ | นิ่ง | (v) calm, See also: serene, tranquil, Syn. สงบ, Ant. กระดุกกระดิก, เคลื่อนไหว, Example: น้ำในคลองนิ่งมาก ดูแล้วน่ากลัว, Thai Definition: ไม่เคลื่อนไหว, ไม่เคลื่อนที่ |
| นิ | ใช้เสริมท้ายคำบางคำ เช่น สนุกนิ สำนักนิ. | นิกขะ | น. ลิ่ม, แท่ง | นิกขะ | ชื่อมาตรานํ้าหนักของเงินอินเดีย ๕ สุวัณณะ เป็น ๑ นิกขะ. | นิกขันต์ | ก. ออกไป, พ้นไป, จากไป. | นิกร | (-กอน) น. หมู่, พวก. | นิกรอยด์ | (-กฺรอย) น. ชนชาติผิวดำ มีลักษณะผมหยิกขอดติดศีรษะ ปากหนา เช่น นิโกร ซาไก. | นิกาย | น. หมู่, พวก, หมวด, ใช้เกี่ยวกับศาสนา ในกรณีเช่นคณะนักบวชในศาสนาเดียวกัน ที่แยกออกไปเป็นพวก ๆ เช่น มหานิกาย ธรรมยุติกนิกาย นิกายโรมันคาทอลิก นิกายโปรเตสแตนต์ | นิกาย | เรียกคัมภีร์พระสุตตันตปิฎกที่แยกออกเป็น ๕ หมวดใหญ่ คือ ทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตนิกาย อังคุตรนิกาย ขุทกนิกาย. | นิกเกิล | น. ธาตุลำดับที่ ๒๘ สัญลักษณ์ Ni เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเงิน หลอมละลายที่ ๑๔๕๓ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ ชุบฉาบผิวโลหะอื่นเป็นต้น, ทางการค้าเรียกว่า ทองขาว. (ดู ทองขาว) (อ. nickel). | นิคม | น. หมู่บ้านขนาดใหญ่, ถิ่นฐานหรือชุมชนที่เกิดขึ้นจากการตั้งหลักแหล่ง, หมู่บ้านใหญ่หรือตำบลที่ประชาชนเข้าไปตั้งถิ่นฐานอยู่เพื่อประกอบอาชีพเป็นหลักฐาน เช่น นิคมสร้างตนเอง นิคมอุตสาหกรรม. |
| | Book exhibition | นิทรรศการหนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Magazine | นิตยสาร, นิตยสาร เขียนทับศัพท์ว่า แมกาซีน, Example: นิตยสาร (Magazine) คือสิ่งพิมพ์รายคาบที่ออกเป็นระยะสำหรับผู้อ่านทั่วไป มุ่งทั้งให้ความรู้และความบันเทิง ความรู้มักเป็นไปในลักษณะที่ให้ความรอบรู้ มีการหารายได้จากการโฆษณาและวางขายทั่วไปผู้อ่านสามารถบอรับเป็นสมาชิกได้ <p>คำว่านิตยสาร มาจากรากศัพท์ คือ นิตย (สม่ำเสมอ) และสาร (เนื้อหา) คำว่านิตยสารโดยทั่วไปอาจมีความหมาย คาบเกี่ยวกับคำว่า วารสารซึ่งออกตามกำหนดเวลาที่แน่นอน แต่ในทางบรรณารักษ์ศาสตร์ปัจจุบันเมื่อมีการใช้อินเทอร์เน็ต ทำให้มี นิตยสารในอินเทอร์เน็ตซึ่งมิใช่สิ่งพิมพ์ แต่ยังเรียกกันว่า นิตยสาร <p>เป็นที่น่าสังเกตว่า นิตยสารบางชื่อ ไม่ได้ใช้คำว่า นิตยสาร แต่ก็น่าจะจัดเป็นนิตยสารได้ เช่น อนุสารอสท. ของการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ขณะที่สิ่งพิมพ์บางชนิดมีความก้ำกึ่ง ระหว่างหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์และนิตยสารรายสัปดาห์ เช่น มติชนรายสัปดาห์ สยามรัฐรายสัปดาห์ เนชั่นรายสัปดาห์ ทั้งนี้ก็เพราะเนื้อหาในเล่มมีทั้งข่าว วิเคราห์ข่าว และบันเทิงในสัดส่วนที่ พอๆกัน โดยทั่วไปนิตยสารมักจะมีลักษณะผ่อนคลาย เล่าเรื่องไม่นิยมเขียนในลักษณะตำรา เว้นแต่ละแทรกอยู่เป็นบางส่วนของเล่ม นิตยสารสำหรับคนอ่านเฉพาะกลุ่มฉบับแรกของโลกตีพิมพ์ในกรุงลอนดอนเมื่อ พ.ศ. 2274 (สมัยพระเจ้าท้ายสระ) ชื่อนิตยสาร สุภาพบุรุษ (The Gentlemen's Magazine) เลิกกิจการไปเมื่อ พ.ศ.2450 นิตยสารสำหรับผู้บริโภคฉบับแรกของโลกคือ นิตยสารสกอต (The Scots Magazine) ตีพิมพ์ในสกอตแลนด์ เมื่อปี พ.ศ.2282 ซึ่งตรงกับสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และยังคงตีพิมพ์จนถึงปัจจุบันการตีพิมพ์ <p>นิตยสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่จัดพิมพ์ออกเผยแพร่ตามกำหนดเวลา หรือคาบเวลาที่แน่นอน เช่น ออกทุกสัปดาห์ หรือออกทุกเดือน ลักษณะโดยทั่วไปเป็นสิ่งพิมพ์ เข้าเล่มแบบเดียวกับหนังสือ<p> <p>วารสารคือ วารสาร เป็นสิ่งพิมพ์ จัดพิมพ์ออกเผยแพร่เป็นคราวๆ หรือเป็นวาระ ซึ่งอาจมีกำหนดเวลาหรือไม่มีกำหนดเวลาแน่นอนก็ได้ วารสารและนิตยสาร จัดอยู่ในสิ่งพิมพ์ประเภทออกตามรายคาบ หรือออกต่อเนื่องตามลำดับ เนื่องจากสิ่งพิมพ์ประเภทนี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ ทั้งใน ภาษา ไทยและภาษาอังกฤษ บางคำมีความหมายกว้างๆ ใช้แทนกันได้ แต่บางคำมีความหมายแคบ แสดงถึงลักษณะเฉพาะบางอย่าง จนไม่อาจใช้แทนคำอื่นได้ เพื่อให้เข้าใจตรงกัน ในที่นี้จึงขอใช้คำว่า "วารสาร" เป็นคำเรียก แทนสิ่งพิมพ์ประเภทนี้ทั้งหมด <p>ลักษณะของวารสาร จาก ความหมายดังกล่าว วารสาร จึงเป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่องตามกำหนดหรือ ออกตามวาระ สามารถนำมาพิจารณากำหนดเป็นลักษณะของวารสารได้ดังนี้<p> <p> 1. เป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Periodical or Serial) มีกำหนดเวลาออก แน่นอนระยะเวลาที่นิยมกำหนดออก เช่น ( วราวุธ ผลานันต์ 2536 : 5-6)<p> -รายสัปดาห์ (Weekly) กำหนดออกสัปดาห์ละครั้ง ปีละ 52 ฉบับ<p> -รายปักษ์ (Fortnightly) กำหนดออกทุก 2 สัปดาห์ ปีละ 26 ฉบับ<p> -รายครึ่งเดือน (Semimonthly) กำหนดออกเดือนละ 2 ครั้ง ปีละ 24 ฉบับ<p> -รายเดือน (monthly) กำหนดออกเดือนละครั้ง ปีละ 12 ฉบับ<p> -รายหกเดือนหรือรายครึ่งปี (Semiannually) กำหนดออกทุก 6 เดือน<p> -รายปี (Annually) กำหนดออกปีละฉบับ<p> นอกจากนี้บางฉบับอาจมีการกำหนดระยะเวลาออกที่แตกต่างออกไปจากที่กล่าวมาแล้ว เช่น รายครึ่งสัปดาห์ (Semiweekly) กำหนดออกสัปดาห์ละ 2 ฉบับ ปีละ 104 ฉบับ รายทศกำหนดออกทุก 10 วัน ปีละ 36 ฉบับ และรายสะดวกมีกำหนดออกไม่แน่นอน ลักษณะความต่อเนื่องของวารสารไม่มีกำหนดว่าจะสิ้นสุดลงในฉบับใด<p> <p>2. มีเลขกำกับประจำฉบับ ได้แก่ เลขปีที่ (Volume) เลขฉบับที่ ( Issue Number) และวัน เดือน ปี (Date) การนับลำดับฉบับที่อาจนับเป็นปีๆ เช่น วารสารรายเดือน แต่ละปีจะมีตั้งแต่ฉบับที่ 1-12 หรืออาจนับต่อเนื่องไปเรื่อยๆ เช่นวารสารรายเดือน ฉบับแรกของปีที่ 2 ก็นับเป็นฉบับที่ 13 นอกจากเลขปีที่ ฉบับที่ และวันเดือนปี ซึ่งเป็นเลขที่ต้องต่อเนื่องเป็นลำดับกันไปแล้วยังมีเลขอีกชุดหนึ่งเป็นเลข เฉพาะที่แน่นอน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงถือเป็นรหัสประจำวารสารแต่ละชื่อ เพื่อการควบคุมทางบรรณานุกรม ในระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ เรียกว่า เลขสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number-ISSN) ซึ่งศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับสากล มอบให้ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติ ประจำประเทศสมาชิกแต่ละประเทศ เป็นผู้กำหนดให้แก่วารสารแต่ละชื่อในประเทศของตน สำหรับประเทศไทยมีหอสมุดแห่งชาติ เป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย เป็นผู้กำหนดวารสารแต่ละชื่อให้ได้รับหมายเลขสากลประจำวารสาร และจะต้องพิมพ์ไว้ที่หน้าปกหรือหน้าปกใน หรือสันวารสารใกล้ ๆ กับชื่อวารสาร มีอักษร ISSN ตามด้วยเลข อารบิค 8 ตัว มีเครื่องหมายยติภังค์ (-) คั่นระหว่าง เลข 4 ตัวแรก กับเลข 4 ตัวหลัง เช่น วารสาร ซีเนแม็ก ISSN 0858-9305 <p>3. รูปเล่ม มักทำให้มีบางส่วนมีลักษณะเหมือนกันทุกฉบับ เพื่อให้ผู้อ่านสังเกตและจำได้ง่าย เช่น ขนาดความกว้าง ยาว รูปแบบและสีของตัวอักษร ชื่อวารสารที่หน้าปก และสัญลักษณ์ประจำวารสาร <p>4. เนื้อหา ประกอบด้วยบทความหลายบทความ จากผู้เขียนหลาย ๆ คน ถ้าเป็นวารสารมักจะเป็นวิชาการเฉพาะแขนงวิชา ถ้าเป็นนิตยสารมักจะมีบทความทั่ว ๆ ไป สารคดี หรือบันเทิง เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น ลงติดต่อกันเป็นหลายๆ มีคอลัมน์บรรณาธิการ คอลัมน์ประจำ วารสารบางชื่อเนื้อหาอาจเป็นรูปภาพ เป็นบทวิจารณ์ สรุปข่าวและวิเคราะห์ เหตุการณ์บ้านเมือง ฯลฯ ทั้งนี้เป็นไปตามประเภทและวัตุประสงค์ของวารสาร แต่ละฉบับ <p>5. ผู้จัดพิมพ์ ผู้จัดพิมพ์วารสารอาจเป็นเอกชน หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ สถาบัน องค์การ สมาคม ชมรม โดยมีวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ ประชา-สัมพันธ์หน่วยงาน ให้ความบันเทิง ความรู้ทั่วไป หรือเพื่อธุรกิจการค้า เป็นต้น <p>6. การเผยแพร่ มีทั้งการจำหน่ายและแจกฟรี การจำหน่ายอาจวางจำหน่ายตามร้านขายหนังสือ การให้ผู้อ่านบอกรับเป็นสมาชิกประจำ ชำระค่าวารสารล่วงหน้าแล้วผู้จัดพิมพ์เป็นผู้ส่งวารสารไปให้สมาชิก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Fable | นิทานคติธรรม, Example: นิทานอีสป มีต้นกำเนิดอยู่ที่อาณาจักรกรีกโบราณ ซึ่งเจ้าของเรื่องเล่าอันสุดแสนสนุกไม่ใช่นักปราชญ์แต่เป็นทาสที่ไร้การ ศึกษาแต่เปี่ยมไปด้วยเชาวน์ปัญญาต่างหากและชื่อของเขาคือ อีสป ซึ่งเป็นที่มาของชื่อนิทานอีสปนั่นเอง <p>อีสปเป็นชายผิวสีชาวแอฟริกาที่มีชีวิตอยู่ในนครรัฐกรีกและต้องการทำมาหากิน โดยการขายตัวเป็นทาส แต่โชคร้ายที่รูปร่างหน้าตาของเขาไม่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานที่พิจารณา คนที่มีความสามารถด้านการต่อสู้เป็นหลัก แต่พระเจ้ากลับประทานมันสมองอันเลอเลิศให้แก่อีสปเป็นการตอบแทน เขาจึงหันมาใช้สติปัญญาในการหาเลี้ยงชีพแทนการใช้กำลัง สุดท้ายแล้วอีสปก็สามารถเอาชนะใจคนกรีกได้ ด้วยการเล่าเรื่องธรรมดาๆ แต่สอดแทรกด้วยปรัชญา แง่คิด และคติสอนใจต่างๆ ซึ่งเมื่อใครได้ฟังก็สามารถเข้าใจได้ง่ายๆ อีกทั้งยังนำคติสอนใจที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิตประจำวันของ ตัวเองได้ด้วย <p>ลักษณะเด่นอีกอย่งหนึ่งของเรื่องราวจากอีสปก็คือ เขาจะใช้ตัวละครที่เป็นสิงสาราสัตว์ทั่วไป เช่น หมาป่ากับลูกแกะ, สุนัขกับเงา, ราชสีห์กับหนู หรือ สุนัขจิ้งจอกกับกา เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Folk tale | นิทานพื้นบ้าน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Jest | นิทานตลกขบขัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Neuraninidase | นิวรามินิเดส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nucleotide sequence | นิวคลิโอไทด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nucleotide | นิวคลีโอไทด์, Example: <p>nucleotide (นิวคลีโอไทด์) เป็นหน่วยย่อยของดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอ ประกอบด้วยเบสและหมู่ฟอสเฟตเชื่อมต่อกับน้ำตาล เบสที่พบในดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอได้แก่ adenine (A) guanine (G) และ cytosine (C) ที่แตกต่างคือ thymine (T) พบเฉพาะในดีเอ็นเอ ส่วน uracil (U) พบเฉพาะในอาร์เอ็นเอ น้ำตาลที่พบในดีเอ็นเอเป็นดีออกซีไรโบสและน้ำตาลไรโบสพบในอาร์เอ็นเอ ส่วนหมู่ฟอสเฟตเป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อระหว่างนิวคลีโอไทด์โมเลกุลหนึ่งกับอีกโมเลกุลหนึ่งโดยเกิดพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ ทำให้สายดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอยาวขึ้น <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. "โครงสร้างและหน้าที่ของดีเอ็นเอ" ในพันธุวิศวกรรมเบื้องต้น. หน้า 5-41. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Neuropeptide | นิวโรเปปไืทด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Agricultural colony | นิคมเกษตรกรรม [เศรษฐศาสตร์] |
| | นิกส์ | [nik] (x) EN: NICs (Newly Industrializing Countries) | นิกาย | [nikāi] (n) EN: sect ; religious denomination FR: secte [ f ] ; ordre sectaire [ m ] ; confession (religieuse) [ f ] ; église [ f ] ; société religieuse [ f ] | นิกาย | [nikāi Hinayān] (x) EN: Hinayana ; Theravada buddhism FR: bouddhisme hinayana ; bouddhisme du Petit véhicule ; bouddhisme theravada | นิกายมหายาน | [nikāi Mahāyān] (x) EN: Mahayana FR: bouddhisme mahayana ; bouddhisme du grand véhicule [ m ] | นิกายแคธอลิก | [nikāi khaēthølik] (n) EN: Catholicism FR: catholicisme [ m ] | นิกายโปรแตสแตนท์ | [nikāi prōtaēstaēn] (n) EN: Protestantism FR: protestantisme [ m ] | นิการากัว | [Nikārākūa] (n, prop) EN: Nicaragua FR: Nicaragua [ m ] | นิกเกิล | [nikkoēn] (n) EN: nickel FR: nickel [ m ] | นิคม | [nikhom] (n) EN: settlement ; colony ; village FR: colonie [ f ] ; implantation [ f ] | นิคม | [nikhom] (n) EN: district ; area FR: secteur [ m ] |
| doraemon | (n) ชื่อตัวละครของการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องหนึ่ง เป็นหุ่นยนต์มาจากโลกอนาคต มีกระเป๋าสารพัดประโยชน์ คอยใช้ของวิเศษเพื่อช่วยเหลือโนบิตะ การ์ตูนเรื่องนี้เป็นที่นิยมอย่างมากประมาณในช่วงทศวรรษที่ 80 | PHP | (n) ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาหนึ่ง (เป็นแบบ intepreter) เป็นที่นิยมใช้กันมาก โดยเฉพาะในงานพัฒนาเว็บ แต่ก็สามารถใช้ในงานอื่นๆ ได้ รายละเอียดเพิ่มเติมดูได้ที่ http://www.php.net | MMC | [M-M-C] (abbrev, uniq) ย่อมาจาก Multimedia Card อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ลักษณะคล้าย SD (Secure Digital) แต่บางกว่าเล็กน้อย นิยมใช้กับ PDA กล้อง Digital MP3 Player, See also: flash memory, SD, CF, SM, MS, Digital Film | DSLR | (n, abbrev) ย่อมาจาก Digital SLR หมายถึงกล้องดิจิตอลชนิด SLR, See also: SLR, camera | CCD | (n, abbrev) ย่อมาจากคำว่า Charge Coupled Device เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ สำหรับแปลงสัญญาณแสงเป็นสัญญาณไฟฟ้า มักใช้เป็นอุปกรณ์รับภาพสำหรับกล้องถ่ายวิดีโอ กล้องถ่ายภาพนิ่งดิจิตอล และเครื่องอ่านภาพ (Scanner), See also: camera, CMOS sensor | bayer pattern | (n) รูปแบบตารางแผ่นกรองหลากสี สำหรับปะหน้าตัวรับภาพที่แยกแยะได้เฉพาะค่าความสว่าง (เช่น CCD หรือ CMOS Sensor) เพื่อให้สามารถแยกแยะสีของภาพได้ โดยแผ่นกรองนี้จะยอมให้แสงสีที่กำหนดผ่านไปตกบนตัวรับภาพ ณ บริเวณที่กำหนดเท่านั้น bayer pattern ที่นิยมใช้กันมากในกล้องถ่ายภาพมี สองชนิด คือ RGB bayer pattern และ CMY bayer pattern ซึ่งยอมให้แสงสี Red-Green-Blue และ Cyan-Magenta-Yellow ไปตกบนตัวรับภาพได้ ตามลำดับ ชื่อของแบบตาราง มาจากชื่อของ Dr. Bayer นักวิทยาศาสตร์ของบริษัท Kodak ผู้คิดค้น, See also: CCD | flash memory | (n) หน่วยความจำประเภทสารกึ่งตัวนำชนิดหนึ่ง ที่สามารถลบข้อมูลแล้วเขียนใหม่ได้ และสามารถคงข้อมูลไว้ได้แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้าเลี้ยง | memory stick | (n) อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท SONY และใช้กับผลิตภัณฑ์ต่างๆของ SONY มีขนาดเล็กประมาณเท่าแผ่นหมากฝรั่ง magic gate memory stick คือ memory stick ที่มีหมายเลขรหัสประจำในแต่ละแผ่น เพื่อให้สามารถควบคุมการทำสำเนาข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์ (เช่น ข้อมูลเพลง หรือภาพ) ได้ คือ ข้อมูลที่บันทึกจะนำมาใช้ได้เมื่ออ่านจากแผ่นที่มีหมายเลขที่กำหนดเท่านั้น และจะใช้ไม่ได้เมื่อทำสำเนาข้อมูลนั้นไปยังแผ่นหรืออุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่น, See also: flash memory | What's up? | (phrase) เป็นไงบ้าง, สบายดีไหม (ใช้ทักทายเพื่อนฝูง คนสนิท) | Amnesty International | (n) องค์การนิรโทษกรรมสากล |
| absolution | (n) การอภัยโทษ, See also: นิรโทษกรรม, การให้อภัยบาป, Syn. forgiveness | age | (n) การเป็นผู้ใหญ่ตามกฎหมาย, See also: นิติภาวะ | allegory | (n) นิทานเปรียบเทียบ | amnesty | (vt) นิรโทษ, See also: ลดโทษ, อภัยโทษ | amnesty | (n) นิรโทษกรรม, See also: การอภัยโทษ, การยกโทษ, Syn. pardon, reprieve, forgiveness | anonymous | (adj) นิรนาม, See also: ซึ่งไม่ระบุชื่อ, Syn. nameless, unsigned, unknown, Ant. named, signed | backbite | (vt) นินทาลับหลัง, See also: พูดให้ร้าย, ลอบกัด, ทำลายชื่อเสียง, Syn. scandalize | boggy | (adj) นิ่ม เปียกเหมือนกับ | calculi | (n) นิ่ว (คำพหูพจน์ของ calculus), See also: ก้อนนิ่ว | calculus | (n) นิ่ว, See also: ก้อนนิ่ว, Syn. concretion, stone |
| ^ | <คำแปล> hat หมายถึง สัญลักษณ์ที่มีลักษณะคล้ายหมวก (^) ในภาษาไทยเราก็เรียกเครื่องหมายนี้ว่า "หมวก" ใช้แทน แป้นควบคุม (Control Key) เช่น กดแป้นควบคุมและแป้น K จะใช้ย่อ ๆ ว่า กด ^K ในภาษาเบสิกใช้หมายถึงการยกกำลัง เช่น 5^3 มีความหมายว่า 5 ยกกำลัง 3 ดู caret ประกอบ^ (สัญลักษณ์) <เครื่องหมาย>caretหมายถึง สัญลักษณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อกดแป้น Shift+6 (^) สัญลักษณ์นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมของบางภาษา โดยจะแทนคำสั่งเฉพาะบางคำสั่ง มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ^ ในภาษาปาสกาล (Pascal) ใช้แทนตัวชี้ (pointer) , ^ ใน ภาษาซี (C) ใช้แทนตัวดำเนินการ exclusive OR, ^ ใน ภาษาเบสิก (BASIC) ใช้แทนการยกกำลัง เป็นต้น | _ | เครื่องหมาย underscore เป็นอักขระตัวหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีลักษณะดังนี้ (-) ถ้าเป็นแป้นในพิมพ์ดีดจะใช้สำหรับขีดเส้นใต้ (underline) แทน แต่ในคอมพิวเตอร์ การขีดเส้นใต้มักนิยมใช้เป็นคำสั่ง (underline) แทน แต่บนแผงแป้นพิมพ์ก็ยังมีแป้นนี้อยู่ เมื่อกดแป้นนี้ คอมพิวเตอร์จะถือเสมือนเป็นตัวอักขระตัวหนึ่ง แต่ไม่สามารถใช้เป็นการขีดเส้นใต้ได้ต่อไปอีก เช่น อาจตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลว่า A-B ก็ได้ | a | (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง, อันดับหนึ่ง, สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment, artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ | a.m.e. | abbr. African Methodist Episcopal นิกายคริสเตียน (โดยเฉพาะ Anglican Church) ของอาฟริกา | a4 | ใช้บอกขนาดของกระดาษที่เป็นที่นิยม มีความกว้างยาวประมาณ 210x297 มม. หรือ 8 1/4 x11 3/4 นิ้ว (ยุโรป) และ 8 1/2 x11 นิ้ว (อเมริกัน) | a: | A: Drive A ไดรฟ์เอ หมายถึง ชื่อหน่วยบันทึกหน่วยแรกของเครื่องคอมพิวเตอร์ตระกูลไอบีเอ็ม หรือเครื่องเลียนแบบ (compatibles) เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องจะเข้าไปดูในหน่วยนี้ก่อน หากไม่พบสิ่งใด ๆ จึงจะย้ายไปดูหน่วยบันทึกอื่นต่อไป หน่วยที่สองจะนิยมเรียกกันว่า B: และหน่วยจานบันทึกแข็งหรือฮาร์ดดิสก์ มักจะถูกกำหนดให้เป็น C: (เวลาเขียน ต้องมีเครื่องหมาย : ตามหลังเสมอ จึงจะหมายถึงหน่วยบันทึก) | aardvark | (อาร์ด' วาร์ค) n. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่หากินมดและปลวกเป็นอาหาร มีลิ้นยาวมาก อุ้งเท้าที่แข็งแรง และหูที่ยาว (a mammal) | aardwolf | (อาร์ด' วูลฟ) n. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่งในอาฟริกาคล้ายหมา แต่กินแมลงเป็นอาหาร (hyenalike African mammal) | aaronic | (แอร็อน' นิค) adj. ซึ่งเกี่ยวกับ Aaron | aaronical | (รอน' นิคัล) adj. Aaronic, pontifical |
| abolitionist | (n) ผู้นิยมลัทธิการล้มเลิก | acclivity | (n) เนิน, ทางขึ้น | accouchement | (n) การให้กำเนิด, การคลอดลูก | acquaintance | (n) การวิสาสะ, ความสนิทสนม, ความเป็นกันเอง, ความคุ้นเคย | acquiesce | (vi) ยินยอม, ยอมรับ, สงบปากสงบคำ, นิ่งเฉย | acquiescence | (n) การยินยอม, การยอมรับ, การสงบปากสงบคำ, การนิ่งเฉย | actualize | (vt) ดำเนินการ, ทำให้เป็นจริง | actuate | (vt) กระตุ้น, ดุน, ปลุกเร้า, ดำเนินการ | addict | (n) คนติดยา, ขี้ยา, คนที่ทำอะไรจนเป็นนิสัย | addict | (vt) ทำให้ติดยาเสพติด, ทำให้เป็นนิสัย |
| | 中指 | [なかゆび, nakayubi] (n) นิ้วกลาง | 人差指 | [ひとさしゆび, hitosashiyubi] (n) นิ้วชี้ | 小指 | [こゆび, koyubi] (n) นิ้วก้อย | 小説 | [しょうせつ, shousetsu] (n) นิยาย | 指 | [ゆび, yubi] (n) นิ้ว | 親指 | [おやゆび, oyayubi] (n) นิ้วหัวแม่มือ, นิ้วโป้ง |
| 気性 | [きしょう, kishou] นิสัย อารมณ์ | 忍び | [しのび, shinobi] (name) นินจา | 工場団地 | [こうじょうだんち, koujoudanchi] (n) นิคมอุตสาหกรรม | 工業団地 | [こうぎょうだんち, kougyoudanchi] (n) นิคมอุตสาหกรรม | นิคมอุตสาหกรรม | [工業団地, kougyou danchi] นิคมอุตสาหกรรม | メルヘン | [めるへん, meruhen] นิทาน เรื่องเล่า | 雑誌 | [ざっし, zasshi, zasshi , zasshi] (n) นิตยสาร, วารสาร | ニューヨーク | [にゅうようく, nyuuyouku] (n) นิวยอร์ก | ちょっと | [ちょっと, chotto, chotto , chotto] (adv) นิดหน่อย, เล็กน้อย, สักครู่ | 中性子 | [ちゅうせいし, chuuseishi] (n) นิวตรอน, See also: R. neutron |
| 滞る | [とどこうる, todokouru] TH: นิ่งเฉย EN: to stagnate | 法人 | [ほうじん, houjin] TH: นิติบุคคล EN: juristic person | 法学 | [ほうがく, hougaku] TH: นิติศาสตร์ | 黙る | [だまる, damaru] TH: นิ่งเงียบไม่พูดจา EN: to be silent | 憧れる | [あこがれる, akogareru] TH: นิยมชมชอบ EN: to long for |
| Art | (n) |die, pl. Arten| ประเภท, ชนิด, See also: die Sorte, die Katagorie | Ausstellung | (n) |die, pl. Ausstellungen| งานแสดง, นิทรรศการ | Kritik | (n) |die, pl. Kritiken| คำวิจารณ์, ตำหนิ | München | เมืองมิวนิค ทางตอนใต้ของเยอรมัน | Münchner | (n) |der, pl. Münchner| ชาวเมืองมิวนิค, See also: München | Roman | (n) |der, pl. Romane| นิยาย | du | (pron) คุณหรือเธอ, สรรพนามบุรุษที่ 2 (สุภาพน้อยกว่า Sie, ใช้เวลาคุยกับคนที่สนิท หรือ ไม่เป็นทางการ) | Teigwaren | (n) |die, pl.| ประเภทของอาหารที่ทำจากแป้งทุกชนิด เช่น ก๋วยเตี๋ยว, พิซซ่า, สปาเก็ตตี้ | laufen | (vi) |lief, ist gelaufen| ดำเนิน, See also: verlaufen | beschweren | (vt) |beschwerte, hat beschwert| บ่นว่า, ตำหนิ |
| jouer au tennis | (vt) เล่นเทนนิส | faire des grillades | (vt) ปิ้งหรือย่างอาหารบนเตา (ส่วนใหญ่คนยุโรปนิยมจัดงานปิ้งเนื้อในฤดูร้อน ระหว่างเพื่อนฝูงและภายในครอบครัว) | à tout à l'heure! | (phrase) เดี๋ยวเจอกัน (ทิ้งช่วงเวลานานกว่า à tout de suite! นิดหน่อย) | aider | (vt) ช่วยเหลือ เช่น En week-end, elle aide un peu ses parents de faire le ménage. วันหยุดสุดสัปดาห์ เธอช่วยพ่อแม่ทำความสะอาดบ้านนิดหน่อย, See also: regarder | broche | (n) la, = แท่งเหล็กชนิดหนึ่งใช้เป็นแกนหมุน เช่น เหล็กเสียบไก่ย่าง | agresseur | (n) คนที่มีนิสัยก่อกวนหรือหาเรื่องคนอื่น ( Qui attaque, commet une agression ) | embrasser | (vt) 1)จูบหรือหอมแก้ม ex: Embrasse-moi, s'il te plaît! = กรุณาจูบฉันที , Je t'embrasse!!! = นิยมใช้เป็นคำลากับคนสนิท 2) กอดไว้ในอ้อมแขน Image: | course | (n) n.f. การวิ่ง, การวิ่งแข่งขัน(กีฬา), การแข่งม้า (หรือสัตว์ชนิดอื่น เช่น กระต่าย) | oeuf | (n) n.m. ไข่ เช่นไข่ของสัตว์ชนิดต่างๆ, ไข่มนุษย์ | ouef de Pâques | (phrase) ขนมที่ทำจากช็อคโกแลตชนิดหนึ่ง เป็นรูปไข่ ข้างในมักกลวง ไว้ใส่ขนมและลูกอมต่างๆ นิยมมอบให้แก่กันในช่วงวันอีสเตอร์ (Pâques) |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |