ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ความคิด, -ความคิด- |
English | (n, vi, vt, modal, ver) การเป็นอาจารย์ที่ดีในความคิดของข้าพเจ้า |
|
| | | เต่าถุย | (slang) คนพวกเต่าถุยคือ คนพวกที่อยู่ในกะลามากกว่ากบ มีชีวิตไปวันๆ แบบที่พ่อแม่สั่งสอนไม่เคยจะยอมฟัง มีความเชื่อมั่นในความคิดเต่าล้านปีของตัวเองสูง บางคนถึงกับบอกว่าตนเองนั้นเป็นบัวเหล่าพิเศษ คือเต่ากินแล้วยังต้องถุยออกมา |
| ความคิด | (n) though, See also: idea, notion, Syn. ความนึกคิด, Example: คำตอบที่แท้จริงได้เรียบเรียงและกลั่นกลองออกมาจากความคิด | ความคิดถึง | (n) miss, See also: regard, consideration, Syn. การนึกถึง, ความระลึกถึง, ความนึกถึง, Example: ความคิดถึงภรรยาทำให้เขาต้องโทรศัพท์ทางไกลกลับบ้านทุกวัน | แนวความคิด | (n) idea, See also: concept, thought, notion, Syn. แนวคิด, Example: จุดมุ่งหมายของบทความชุดนี้ก็คือให้ผู้อ่านทราบแนวความคิดและการนำไปใช้งานของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์, Thai Definition: แนวทางความคิด | กรอบความคิด | (n) concept idea, See also: set of ideas or beliefs, Syn. แนวคิด, เค้าโครงความคิด, Example: กรอบความคิดของทิศทางการพัฒนาประเทศเป็นไปอย่างก้าวหน้า | ความคิดอ่าน | (n) thinking, See also: contemplation, consideration, Syn. ความคิด, ความตรึกตรอง, ความคิดความอ่าน, Example: ทฤษฎีฟอยด์ถือว่าความคิดอ่านของคนเราต้องอยู่ภายใต้อิทธิพลแห่งแรงกระตุ้นสัญชาตญาณ | ความคิดเห็น | (n) opinion, See also: view, sentiment, Syn. ความเห็น, Example: ในการประชุมทุกครั้งเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมทุกคนได้แสดงความคิดเห็น | เจ้าความคิด | (n) idea person, See also: resourceful person, Example: ผมนี่แหละเป็นเจ้าความคิดเรื่องนี้เอง, Thai Definition: คนที่เป็นตัวตั้งตัวตี หรือคิดริเริ่ม | เจ้าความคิด | (adj) smart, See also: clever, acute, astute, canny, bright, keen, sharp, shrewd, Example: เขาคือนายตำรวจเจ้าความคิด ผู้เคยฝากผลงานการแต่งเพลงให้นักร้องดังมาแล้วมากต่อมาก, Thai Definition: ที่ฉลาด มีหัวคิดดี | กระแสความคิด | (n) train of thought, Syn. แนวความคิด, Example: ข้อเท็จจริงจากคณะปาฐกส่งเสริม และสนับสนุนให้เกิดกระแสความคิดในทางสร้างสรรค์ดีงามยิ่งขึ้น, Thai Definition: แนวความคิดจากหลายทาง, แนวความคิดที่เห็นไปในทางเดียวกัน | ความคิดคำนึง | (n) thinking, See also: imagination, thought, Syn. การคิดคำนึง, การใคร่ครวญ, ห้วงคำนึง | ไม่มีความคิด | (v) have no brain, Syn. ไม่มีสมอง, Example: พวกคนสวยมักไม่มีความคิด เอาแต่สนใจความสวยไปวันๆ, Thai Definition: ไม่คิดพิจารณาถึงเหตุผลอย่างเหมาะสม | ความคิดรวบยอด | (n) concept, See also: idea, abstract notion, Thai Definition: ภาพในใจหรือแบบของความคิดที่เป็นตัวแทนสิ่งของทั้งประเภท | ความคิดริเริ่ม | (n) intuitiveness, See also: origination, Example: นักออกแบบทุกคนควรมีความคิดริเริ่มเป็นของตัวเอง | ความคิดล่องลอย | (n) autism, See also: imagination, melancholy, conjecture, Syn. ความคิดฝัน, ความเพ้อฝัน | เปลี่ยนความคิด | (v) change one's idea, See also: change one's thought, Example: ผมอยากจะเปลี่ยนความคิดให้ประชาชนคนไทยทุกคนมาร่วมกันแก้ไขปัญหาประเทศชาติ | แสดงความคิดเห็น | (v) voice/give one's opinion, See also: show/express one's opinion, Syn. ให้ความคิดเห็น, Example: กองทัพบกเปิดโอกาสให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกองทัพ ทั้งทางจดหมายและโทรศัพท์ | หยั่งความคิดเห็น | (v) sound out, Syn. หยั่งเสียง, ซาวเสียง, Example: ที่ผมลองสอบถามพวกคุณก็เพื่อหยั่งความคิดเห็นเท่านั้นล่ะ | ความคิดสร้างสรรค์ | (n) creativity, Example: ประติมากรรมไทยเป็นผลงานที่แสดงความคิดสร้างสรรค์ของบรรพบุรุษ, Thai Definition: ความสามารถที่จะสร้างความคิดใหม่ๆ ที่ให้ผลในทางบวก | การแสดงความคิดเห็น | (n) opinion, See also: voice, view, idea, point of view, Syn. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น, การเสนอความคิดเห็น, Example: รัฐบาลยอมรับการแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ |
| ความคิด | น. สิ่งที่นึกรู้ขึ้นในใจ | ความคิด | ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ก่อให้เกิดการแสวงหาความรู้ต่อไป เช่น เครื่องบินเกิดขึ้นได้เพราะความคิดของมนุษย์ | ความคิด | สติปัญญาที่จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างถูกต้องและสมควร เช่น คนทำลายของสาธารณะเป็นพวกไม่มีความคิด. | แลกเปลี่ยนความคิดเห็น | ก. ผลัดกันแสดงความคิดเห็นในการประชุมเป็นต้น. | กระแส | เส้น, สาย, แนว, ทาง, เช่น กระแสความ กระแสความคิด | กระแสสังคม | น. ความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่ในสังคมที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น กระแสสังคมกดดันให้ตำรวจไม่ดำเนินคดีกับเด็กที่ผิดกฎหมาย. | กลับลำ | ก. เปลี่ยนความคิด เช่น เมื่อวานเขาให้สัมภาษณ์ว่าจะไม่ยอมให้มีวันหยุดชดเชย วันนี้กลับลำอนุญาตให้มีตามเดิมแล้ว. | กามวิตก | น. ความครุ่นคิดในกาม, ความคิดคำนึงในทางกาม (ป.). | การเปิดอภิปรายทั่วไป | น. กลไกที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมฝ่ายบริหาร เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี หรือฝ่ายบริหารจะรับฟังความคิดเห็นของฝ่ายนิติบัญญัติ เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปที่คณะรัฐมนตรีร้องขอให้มีขึ้นเพื่อรับฟังความคิดเห็นเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากสมาชิกสภา. | แก่วัด | ว. อยู่วัดนาน, มีท่าทีหรือความคิดเห็นแบบคนที่ได้รับการอบรมจากวัดหรืออยู่วัดนาน | ไก่นา ๑ | น. คนที่มีความคิดไม่ทันสมัย. | ขอยืม | ก. ขอสิ่งของ เงิน เป็นต้น มาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้วคืนให้หรือใช้คืน, นำของของผู้อื่นมาใช้เป็นของของตน เช่น ขอยืมคำในภาษาบาลีมาใช้ ขอยืมวัฒนธรรมตะวันตกมาใช้ ขอยืมความคิด, (คณิต) ในการลบเลข ถ้าเลขตัวตั้งในหลักใดน้อยกว่าเลขที่จะนำมาลบ ให้นำเลขจากหลักสูงถัดไปมาเพิ่มเลขตัวตั้งเพื่อให้มากพอที่จะลบได้ เช่น ๔๓ - ๕ ในที่นี้ ๕ ลบจาก ๓ ไม่ได้ ๓ ต้องขอยืม ๔ ซึ่งเป็นหลักสิบมา ๑ รวมเป็น ๑๓ แล้วลบออกเสีย ๕ เหลือ ๘ ๔ เมื่อถูกขอยืมไป ๑ ก็เหลือ ๓ ผลลัพธ์ ๓๘, ยืม ก็ว่า. | ข้ออ้าง | น. สิ่งที่นำมาอ้างสนับสนุนความคิดเห็นหรือการกระทำของตน. | เขว | (เขฺว) ก. แปรไปจากแนวทางเดิม เช่น พูดมากทำให้ความคิดฉันเขว. | คตินิยม | น. แบบอย่างความคิดเห็น ความเชื่อ หรือวิธีการคิดรวมกันที่เป็นลักษณะของกลุ่มชน เช่น คตินิยมของกลุ่มวิชาชีพ คตินิยมทางศาสนา คตินิยมทางการเมือง. | คลื่นลูกใหม่ | น. คนรุ่นใหม่ที่มีการศึกษาและมีความคิดก้าวหน้าที่เข้ามามีบทบาทในการดำเนินงานด้านต่าง ๆ แทนคนรุ่นเก่า. | ค่าย | ฝ่ายที่มีความคิดเห็นแนวเดียวกัน เช่น ค่ายโลกเสรี. | คำ ๒ | น. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคำอื่นมีความหมายเช่นนั้น เช่น คำนาม คำกริยา คำบุรพบท | โฆษณาชวนเชื่อ | ก. เผยแพร่อุดมการณ์หรือความคิดเห็น ด้วยกลอุบายต่าง ๆ เพื่อโน้มน้าวจิตใจผู้อื่นให้เห็นคล้อยตาม. | งมงาย | ก. หลงเชื่อโดยไม่มีเหตุผล หรือโดยไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นหรือเหตุผลของผู้อื่น. | จิตแพทย์ | (จิดตะ-) น. แพทย์ผู้รักษาโรคทางจิตใจ ซึ่งมีอาการแสดงความรู้สึก ความคิด อารมณ์ หรือพฤติกรรมที่ผิดปรกติ. | จิตไร้สำนึก | น. ความคิด ความรู้สึก และแรงผลักดัน ซึ่งถูกกดเก็บไว้ภายในจิตใจโดยไม่รู้ตัว แม้จะพยายามนึกอย่างไรก็นึกไม่ออก. | จิตวิสัย | เรียกการสอบแบบที่ให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็น ว่า การสอบแบบจิตวิสัย, อัตนัย ก็ว่า. | จินดา | น. ความคิด, ความนึก | จินดามัย | ว. ที่สำเร็จด้วยความคิด. | จินตกวี | น. กวีผู้มีความสามารถในการแต่งร้อยกรองตามแนวความคิดและจินตนาการของตนเอง. | จุดยืน | น. ความคิดแน่วแน่, ความมั่นคงในหลักการตามความคิดความเชื่อของตน. | จูงจมูก | ก. อาการที่จับเชือกที่สนตะพายจมูกวัวควายแล้วจูงไป, โดยปริยายใช้แก่คนว่า ถูกจูงจมูก หมายความว่า ถูกเขาชักนำไปโดยไม่ใช้ความคิดของตน. | เจ้า ๑ | ผู้ชำนาญ เช่น เจ้าปัญญา เจ้าความคิด เจ้าบทเจ้ากลอน | ฉันท- ๒, ฉันท์ ๒, ฉันทะ | ความร่วมความคิดความเห็นกัน เช่น ลงมติเป็นเอกฉันท์, ความไว้เนื้อเชื่อใจ เช่น มอบฉันทะ. | ชวน- | (ชะวะนะ-) น. ความเร็ว, ความไว, ความเร็วของปัญญาหรือความคิด, แผลงเป็น เชาวน์ ก็มี. | ช่องว่าง | ความไม่เข้าใจกันของคนที่มีความคิด ฐานะ หรืออื่น ๆ ที่แตกต่างกัน เช่น ช่องว่างระหว่างคนมั่งมีกับคนยากจน ช่องว่างระหว่างวัย. | ชั่วแล่น | น. ระยะเวลาที่รวดเร็ว เกิดขึ้นทันทีทันใด เช่น ความคิดชั่วแล่น. | เชาวน์ | (เชา) น. ปัญญาหรือความคิดฉับไว, ปฏิภาณ, ไหวพริบ. | ซาวเสียง | ก. ลองพูดหรือทำอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อฟังความคิดเห็นจากผู้อื่นหรือคนจำนวนมาก, หยั่งเสียง ก็ว่า. | ญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป | น. มาตรการสำคัญอย่างหนึ่งของระบบรัฐสภาที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมและตรวจสอบฝ่ายบริหาร และฝ่ายบริหารใช้ประโยชน์จากฝ่ายนิติบัญญัติในการรับฟังความคิดเห็นจากฝ่ายนิติบัญญัติ. | ไดโนเสาร์ | น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานยุคดึกดำบรรพ์หลายชนิด รูปร่างคล้ายกิ้งก่า ส่วนใหญ่ที่พบโครงกระดูกที่เป็นซากดึกดำบรรพ์มีขนาดใหญ่มาก บางชนิดกินพืช เช่น ชนิด Phuwiangosaurus sirindhornae Martin, Buffetaut & Suteethorn ในวงศ์ Nemegtosauridae, ชนิด Psittacosaurus satayaraki Buffetaut & Suteethorn ในวงศ์ Psittacosidae บางชนิดกินเนื้อสัตว์ เช่น ชนิด Siamotyrannus isanensisSuteethorn & Tong ในวงศ์ Tyrannosauridae, ชนิด Siamosaurus suteethorniBuffetaut & Ingavat ในวงศ์ Spinosauridae, (สำ) ผู้ที่มีความคิดล้าสมัย, มักใช้ว่า ไดโนเสาร์เต่าล้านปี. | ตกผลึก | โดยปริยายหมายความว่าลึกซึ้งแจ่มแจ้งจากการสะสมความรู้หรือความคิด เช่น เขาศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างจริงจังจนความรู้ตกผลึก, งวดเข้า เช่น คดีนี้จวนจะตกผลึก. | ตรงกัน | ก. เหมือนกัน เช่น ความคิดตรงกัน, เป็นแนวเดียวกัน เช่น เข้าแถวให้ตรงกัน. | ตรรก-, ตรรกะ | (ตักกะ) น. ความตรึก, ความคิดอย่างใช้เหตุผล. | ตรับ, ตรับฟัง | (ตฺรับ) ก. เอาใจใส่คอยฟังข่าวคราวทุกข์สุขหรือความคิดเห็นของผู้อื่นเป็นต้น, มักใช้เข้าคู่กับคำ สดับ เป็น สดับตรับฟัง, เช่น เคยดัดฤดีตาตื่นตรับ สยงสารสงงคีตขับทรอท่อ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). | ตักกะ | น. ตรรก, ความตรึก, ความคิดอย่างใช้เหตุผล. | ต่างจิตต่างใจ | ว. ต่างคนก็ต่างความคิด. | ตามอำเภอใจ | ว. เอาแต่ใจตัว ไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น. | ตื้น | ผิวเผิน, ไม่ลึกซึ้ง, เช่น ความคิดตื้น, ตรงข้ามกับ ลึก. | เต่าล้านปี | น. ผู้ที่มีความคิดล้าสมัย, มักใช้ว่า ไดโนเสาร์เต่าล้านปี. | แตกแถว | ก. แยกตัวออกจากพวกด้วยการกระทำหรือด้วยความคิด | ถึง ๑ | ใช้เป็นคำจ่าหน้าในจดหมายระบุตัวผู้รับ. สัน. แม้ เช่น ถึงเขาจะเป็นเด็ก เขาก็มีความคิด | ทัศนคติ | น. แนวความคิดเห็น. | ทาสปัญญา | (ทาดสะ-) น. “ปัญญาอย่างทาส”, ความคิดตํ่า. |
| public hearing; hearing | ๑. การให้มาชี้แจง (ต่อคณะกรรมาธิการของสภา)๒. การสืบพยาน๓. การฟังความคิดเห็นของประชาชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | pattern of thought | รูปแบบความคิด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | referential idea; idea of reference | ความคิดว่าถูกพาดพิง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | opinion | ๑. ความคิดเห็น, ความเห็น๒. มติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | opinion leader | ผู้ชี้นำความคิดเห็น [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | abstract thinking | ความคิดเชิงนามธรรม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | centrist | กลุ่มที่มีความคิดเห็นกลาง ๆ, กลุ่มสายกลาง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | concept | แนวคิด, แนวความคิด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | control, thought | อาการหลงผิดว่าความคิดถูกควบคุม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | conceptual framework | กรอบความคิด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | concrete thinking | ความคิดเชิงรูปธรรม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | disorder, thought | ความผิดปรกติในความคิด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | framework, conceptual | กรอบความคิด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | flight of ideas | (จิตเวช.) อาการความคิดแล่นเตลิด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | fixed idea | ความคิดตายตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | idea, fixed | ความคิดตายตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | idea, referential; idea of reference | ความคิดว่าถูกพาดพิง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | ideal | ๑. -ความคิด, -มโนคติ๒. อุดมคติ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | idea | ความคิด, มโนคติ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | idea of reference; idea, referential | ความคิดว่าถูกพาดพิง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | thinking, abstract | ความคิดเชิงนามธรรม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | thinking, concrete | ความคิดเชิงรูปธรรม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | thought control | อาการหลงผิดว่าความคิดถูกควบคุม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | thought control | อาการหลงผิดว่าความคิดถูกควบคุม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | thought disorder | ความผิดปรกติในความคิด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | thought disorder | ความผิดปรกติในความคิด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | thought withdrawal | อาการหลงผิดว่าความคิดถูกถอน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | thought withdrawal | อาการหลงผิดว่าความคิดถูกถอน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | thought, pattern of | รูปแบบความคิด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | thought blocking | อาการความคิดชะงัก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | thought broadcasting | อาการหลงผิดว่าความคิดถูกป่าวประกาศ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | hearing, public; hearing | ๑. การให้มาชี้แจง (ต่อคณะกรรมาธิการของสภา)๒. การสืบพยาน๓. การฟังความคิดเห็นของประชาชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | hearing; hearing, public | ๑. การให้มาชี้แจง (ต่อคณะกรรมาธิการของสภา)๒. การสืบพยาน๓. การฟังความคิดเห็นของประชาชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | withdrawal, thought | อาการหลงผิดว่าความคิดถูกถอน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Educational Technology | เทคโนโลยีการศึกษา, การประยุกต์เอาระเบียบวิธีการ แนวความคิดต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนผลิตผลอันเกิดจากผลของวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น [เทคโนโลยีการศึกษา] | Knowledge broker | นายหน้าความรู้, นายหน้าความรู้ ทำหน้าที่เชื่อมโยงคน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ต่อกัน อันจะก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ประสบการณ์อย่างแคล่วคล่องมากขึ้น ซึ่งความรู้ได้นี้จะเป็นความรู้ในคนหรือความรู้ฝังลึก (Tacit knowledge) เป็นหลัก [การจัดการความรู้] | Systems Thinking | ระบบความคิด [การจัดการความรู้] | Concept | ความคิด หรือ การออกแบบ [ทรัพย์สินทางปัญญา] | กลวง | ไร้ความคิด [ศัพท์วัยรุ่น] | Action research | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ, การวิจัยแบบมีส่วนร่วม เน้นการปฏิบัติและมีการร่วมมือ ใช้การทำงานเป็นกลุ่ม ผู้ร่วมวิจัยทุกคนมีส่วนสำคัญและมีบทบาทเท่าเทียมกันในทุกกระบวนการของการวิจัย ทั้งการเสนอความคิดเชิงทฤษฎี และการปฏิบัติ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจัย [Assistive Technology] | Field research | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ, การวิจัยแบบมีส่วนร่วม เน้นการปฏิบัติและมีการร่วมมือ ใช้การทำงานเป็นกลุ่ม ผู้ร่วมวิจัยทุกคนมีส่วนสำคัญและมีบทบาทเท่าเทียมกันในทุกกระบวนการของการวิจัย ทั้งการเสนอความคิดเชิงทฤษฎี และการปฏิบัติ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจัย [Assistive Technology] | Creative thinking | ความคิดสร้างสรรค์ [TU Subject Heading] | Creative thinking in children | ความคิดสร้างสรรค์ในเด็ก [TU Subject Heading] | Group facilitation | การสร้างบรรยากาศของการแลกเปลี่ยนความคิด [TU Subject Heading] | Keynesian economics | ทฤษฎีตามแนวความคิดของเคนส์ [TU Subject Heading] | New Thought | ความคิดใหม่ [TU Subject Heading] | Thought and thinking | ความคิดและการคิด [TU Subject Heading] | Asia Cooperation Dialogue | ความร่วมมือเอเชีย เวทีความร่วมมือในระดับทวีปเอเชีย โดยเป็นความคิดริเริ่มของไทยในการสร้างกรอบความร่วมมือที่ครอบคลุมทุกอนุ ภูมิภาคของเอเชีย มีวัตถุประสงค์ที่จะเชื่อมโยงจุดแข็งและต่อยอดความร่วมมือต่าง ๆ ของประเทศเอเชีย โดยอาศัยความแตกต่างหลากหลายและทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ซึ่งเอเชียมีอยู่มา ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมุ่งสร้างความร่วมมือในวงกว้างทั้งทวีปเอเชีย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ซึ่งจะทำให้ภูมิภาคเอเชียแข็งแกร่งและเป็นหุ้นส่วนที่เข้มแข็งสำหรับภูมิภาค อื่น ๆ เอซีดีได้มีการประชุมครั้งแรกเมื่อ 18-19 มิถุนายน 2545 โดยมีผู้แทนระดับรัฐมนตรีจาก 18 ประเทศเข้าร่วม ที่ประชุมได้แบ่งกรอบความร่วมมือเป็น 2 มิติ ได้แก่ มิติการหารือ (dialogue dimension) และมิติโครงการความร่วมมือ (project dimension) เช่น การท่องเที่ยว ความมั่นคงทางพลังงาน และการพัฒนาตลาดพันธบัตรเอเชีย (Asian Bond Market) [การทูต] | ASEAN-EU Ministerial Meeting | การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียน-สหภาพยุโรป เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิก อาเซียน 10 ประเทศ กับรัฐมนตรีต่างประเทศของสหภาพยุโรป 15 ประเทศ จัดขึ้นทุก 18-24 เดือน เพื่อหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็นทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน [การทูต] | Asia-Europe Vision Group | กลุ่มวิสัยทัศน์เอเชีย-ยุโรป เป็นกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งจัดตั้งภายหลังจากการประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป (อาเซม) ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน เพื่อระดมความคิดเกี่ยวกับอนาคตของกระบวนการอาเซม [การทูต] | Agreement for the Application of the Bolivarian Alternative for the Peoples of our America and the People’s Trade Agreements | ความตกลงอัลบา เกิดขึ้นจากแนวความคิดของประธานาธิบดี Hugo Cha'vez แห่งเวเนซุเอลาหลังประกาศถอนตัวจากการเป็นสมาชิกประชาคมแอนเดียนเพื่อแสดง ความไม่พอใจที่โคลัมเบียและเปรูจัดทำความตกลงการค้าเสรีกับสหรัฐฯ ข้อตกลง ALBA จึงเป็นทางเลือกในการจัดทำความตกลงทางการค้าตามแนวสังคมนิยมแทนการจัดทำเขต การค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา (FTAA) ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 3 ประเทศ ได้แก่ เวเนซุเอลา คิวบา และโบลิเวีย [การทูต] | Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] | ASEAN-EU Senior Officials Meeting | การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน-สหภาพยุโรป เป็นการประชุมระดับปลัดกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียนกับ ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป จัดขึ้นทุก 12-18 เดือน เพื่อหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ [การทูต] | ASEAN-US Dialogue | การประชุมอาเซียน-สหรัฐอเมริกา " เป็นการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (ปลัดกระทรวงต่างประเทศ) จัดขึ้นทุก 18 เดือน เพื่อหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ " [การทูต] | Cultural Diplomacy | การทูตวัฒนธรรม หมายถึง กิจกรรมด้านวัฒนธรรมในกรอบกว้าง ทั้งภาษา ความคิด อุดมการณ์ ทัศนคติ ประเพณี วิทยาการความรู้ การกีฬาและวิถีชีวิต (ไม่เพียงแต่การส่งคณะนาฏศิลป์ไปแสดงในต่างประเทศเท่านั้น) ทั้งนี้ เพื่อ ใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมือสร้างความรู้สึกที่ดีต่อกัน โดยใช้แนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในลักษณะซึมลึกเพื่อให้เข้าถึงประชาชน [การทูต] | East Asia Vision Group | กลุ่มวิสัยทัศน์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อเสนอของประธานาธิบดีคิม แด จุง แห่งสาธารณรัฐเกาหลี ในระหว่างการประชุมหัวหน้ารัฐบาลอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี ที่กรุงฮานอย เมื่อเดือนธันวาคม 2541 เพื่อเป็นเวทีระดมความคิดและแสวงหาแนวทางขยายความร่วมมือระหว่างกันในทุก ด้านและทุกระดับเพื่อมุ่งแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจและพัฒนาภูมิภาคนี้อย่างต่อเนื่อง [การทูต] | Flexible Engagement | ความเกี่ยวพันอย่างยืดหยุ่น " ความเกี่ยวพันอย่างยืดหยุ่นเป็นข้อเสนอของ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยที่เสนอในการประชุมรัฐมนตรีต่าง ประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting : AMM) ครั้งที่ 31 เมื่อเดือนกรกฎาคม 2541 ณ กรุงมะนิลา ฟิลิปปินส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกอาเซียนมีการหารือและแลก เปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างสร้างสรรค์ เปิดกว้างและเป็นกันเองในเรื่องหรือประเด็นต่าง ๆ ที่เห็นว่าเป็นผลประโยชน์ร่วมกันหรือที่จะมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์และความ มั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจของนานาประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันสืบเนื่องจากการที่อาเซียนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศ และอยู่ในภาวะที่เผชิญปัญหาท้าทายต่าง ๆ ซึ่งมีความเชื่อมโยงและเกี่ยวพันกัน " [การทูต] | food security | ความมั่นคงทางด้านอาหาร หมายถึง การที่ประชากรโลกมีอาหารเพียงพอกับความต้องการ (availibility) มีเสถียรภาพ (stability) และสามารถเข้าถึงได้ (accessibility) แนวความคิดเรื่องความมั่นคงทางด้านอาหารนี้ เป็นผลสืบเนื่องมาจากการรับรองปฏิญญากรุงโรม ของที่ประชุมสุดยอด อาหารโลก เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2539 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่จะขจัดความหิวโหย และลดปัญหาทุโภชนาการของประชากรโลก โดยตั้งเป้าหมายที่จะลดจำนวนประชากรที่ขาดอาหารให้เหลือครึ่งหนึ่งจากที่มี อยู่ในปัจจุบัน ภายในปี พ.ศ. 2558 [การทูต] | Intellectual Property | ทรัพย์สินทางปัญญา " หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ซึ่งผู้เป็นเจ้าของสามารถถือครอง และ/หรือเก็บเกี่ยวสิทธิประโยชน์ได้ นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ - Patent สิทธิบัตร หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างใหม่ ยังไม่เคยมีการเปิดเผยมาก่อน และเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น และการประดิษฐ์นั้นสามารถประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมได้ - Copy Rights ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรี งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ - Neighboring Rights สิทธิข้างเคียง เป็นความคุ้มครองที่แตกแขนงมาจากลิขสิทธิ์ เนื่องจากงานที่สร้างขึ้นไม่สามารถถูกจัดเข้าเป็นงานลิขสิทธิ์ได้โดยตรง เพราะผลงานที่เกิดขึ้นนั้นได้มีบุคคลอื่นเข้ามาเป็นสื่อกลาง และก่อให้เกิดผลงานโดยใช้ เครื่องมือในทางวิชาชีพสร้างงานขึ้นมา ดังนั้น บุคคลผู้ที่เข้ามาเป็น สื่อกลางเพื่อผลิตงานให้แก่ผู้สร้างงานจึงควรมีสิทธิในผลงานนั้นเหมือนกับ เจ้าของงานลิขสิทธิ์ด้วย - Trade Marks เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้าเพื่อให้ประชาชนทั่วไปแยกแยะได้ว่าสินค้านั้นเป็นของ ผู้ใด ใครเป็นเจ้าของ และมีความแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งโดยทั่วไปจะเรียกว่า ยี่ห้อ สำหรับเครื่องหมายการค้านั้น จะเป็นภาพ เป็นคำ หรือเป็นตัวอักษรก็ได้ Service Marks เครื่องหมายบริการ เป็นเรื่องที่เกิดใหม่เนื่องจากสินค้าบริการได้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น การให้บริการด้านการเงิน การโทรคมนาคม จึงทำให้ผู้ให้บริการต้องการที่จะใช้เครื่องหมาย เพื่อชี้ให้เห็นถึงการบริการของตน เช่นเดียวกับการใช้เครื่องหมายการค้า " [การทูต] | Look West Policy | นโยบายมองตะวันตก (ของไทย) เป็นแนวความคิดที่จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในทางการ เมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยสอดคล้องกับความเป็นจริงของยุคหลังสงครามเย็น ประเทศเป้าหมาย ได้แก่ ประเทศต่าง ๆ ในเอเชียใต้ ตะวันออกกลาง และแอฟริกา [การทูต] | Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] | Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] | Responsibility to protect | หลักการความรับผิดชอบในการคุ้มครอง เป็นหลักการที่ได้รับการรับรองในการประชุมระดับผู้นำ เพื่อทบทวนผลของปฏิญญาสหัสวรรษ(High Level Panel Meeting - HLPM) เมื่อวันที่ 14-16 กันยายน พ.ศ. 2548 ณ นครนิวยอร์ก ที่เกี่ยวข้องกับการแทรกแซงทางมนุษยธรรม ( humanitarian interference/intervention of humanity)เพื่อคุ้มครองประชาชนจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ การฆ่าล้างชนชาติ โดยจะถือเป็นความรับผิดชอบและที่จะต้องดำเนินการร่วมกันโดยประชาคมระหว่าง ประเทศ อย่างไรก็ตาม หลักการเรื่องนี้มีนัยเกี่ยวข้องกับกฏหมายระหว่างประเทศ อธิปไตย ของรัฐ ความอ่อนไหวทางการเมือง และความชอบธรรมในการปฏิบัติ จึงยังไม่มีการนิยามแนวความคิด R2P รวมถึงขอบเขตของ R2P ที่ชัดเจน [การทูต] | security community | ประชาคมความมั่นคง เป็นการรวมตัวกันของบรรดาประเทศในภูมิภาคเพื่อศึกษาและเสริมสร้างความมั่นคง ของภูมิภาค โดยเน้นการส่งเสริมความร่วมมือบนพื้นฐานของแนวความคิดของความมั่นคงร่วมกัน [การทูต] | Basic concept | แนวความคิดเบื้องต้น [การบัญชี] | Concept | แนวความคิด [การบัญชี] | Ability to Initiate | ความคิดริเริ่มในการเล่น [การแพทย์] | Affect, Appropriate | อารมณ์สอดคล้องกับความคิด [การแพทย์] | Affect, Inappropriate | อารมณ์ไม่เหมาะสม, อารมณ์ไม่สอดคล้องกับความคิด [การแพทย์] | Ambivalence | ความคิดสองจิตสองใจ, ความรู้สึกสองฝักสองฝ่าย, อารมณ์รวนเร [การแพทย์] | Autistic | ความคิดหมกมุ่นในตนเองอย่างผิดปกติ [การแพทย์] | Behavioral Objective Approach | แนวความคิดที่ยึดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมเป็นแกน [การแพทย์] | Case-Study Approach | แนวความคิดกรณีศึกษา [การแพทย์] | Cognition, Impaired | ความคิดความอ่านเสื่อม [การแพทย์] | Cognitive Thought | ความรู้ความคิด [การแพทย์] | Concept | ความคิดรวบยอด, ความคิด, มโนภาพ, แนวคิด, ความคิดรวบยอด, สังกัป, ความคิดรวบยอดรวม, ความคิดเห็น, แนวความคิด, ความรู้, มโนทัศน์ [การแพทย์] | Concept Learning | การเรียนความคิดรวบยอด, การเรียนรู้ความคิดรวบยอด [การแพทย์] | Concept, Key | ความคิดรวบยอดหลัก [การแพทย์] | Conceptual Skill | แนวความคิดรวบยอด [การแพทย์] | Conceptualization of a Value | ความคิดรวบยอดทางค่านิยม [การแพทย์] | Concrete Operation | ความคิดแบบรูปธรรม [การแพทย์] | Confusion | จิตสับสน, สับสน, ความคิดสับสน, งุนงง, อาการสับสน, บุคลิกเปลี่ยนแปลงสับสน [การแพทย์] |
| อาหารความคิด | [āhān khwāmkhit] (n, exp) EN: food for thought | เจ้าความคิด | [jao khwāmkhit] (n, exp) EN: thinker ; originator of the idea ; resourceful person ; idea man FR: homme d'idées [ m ] ; débrouillard [ m ] (fam.) | จมอยู่ในความคิด | [jom yū nai khwām khit] (v, exp) EN: be immersed in meditation FR: être plongé dans les pensées | การระดมความคิด | [kān radom khwāmkhit] (n, exp) EN: brainstorming FR: brainstorming [ m ] (anglic.) | การแสดงความคิดเห็น | [kān sadaēng khwām khit-hen] (n, exp) EN: opinion ; voice ; view ; idea ; point of view FR: opinion [ f ] ; point de vue [ m ] | การสำรวจความคิดเห็น | [kān samrūat khwām khithen] (n, exp) EN: poll FR: sondage d'opinion [ m ] | การสำรวจความคิดเห็นจากประชาชนที่เพิ่งลงคะแนนเสร็จสด ๆ ร้อน ๆ | [kān samrūat khwām khithen jāk prachāchon thī phoeng longkhanaēn set sot-sot røn-røn] (xp) EN: exit poll FR: sondage effectué à la sortie des bureaux de vote [ m ] | เค้าโครงความคิด | [khaokhrōng khwāmkhit] (n, exp) EN: concept idea | คนที่มีความคิดเห็นรุนแรง | [khon thī mī khwām khithen runraēng] (n, exp) EN: extremist FR: extrémiste [ m, f ] | ความคิด | [khwāmkhit] (n) EN: idea ; thought ; notion FR: idée [ f ] ; pensée [ f ] | ความคิดเชิงบวก | [khwāmkhit choēng būak] (n, exp) EN: positive thinking FR: pensée positive [ f ] | ความคิดเชิงกลยุทธ์ | [khwāmkhit choēng konlayut] (n, exp) EN: strategic thinking FR: pensée stratégique [ f ] | ความคิดเชิงระบบ | [khwāmkhit choēng rabop] (n, exp) EN: systems thinking | ความคิดเชิงวิทยาศาสตร์ | [khwāmkhit choēng witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific thinking FR: pensée scientifique [ f ] | ความคิดอ่าน | [khwāmkhit ān] (n) EN: thinking ; contemplation ; consideration | ความคิดอนุรักษ์นิยม | [khwāmkhit anurakniyom] (n, exp) EN: conservative ideas FR: idées conservatrices [ fpl ] | ความคิดเห็น | [khwām khithen] (n) EN: opinion ; view ; sentiment FR: opinion [ f ] ; point de vue [ m ] ; avis [ m ] ; sentiment [ m ] ; critique [ f ] ; commentaire [ m ] ; jugement [ m ] | ความคิดเห็นไม่ตรงกับ | [khwām khithen mai trong kap] (xp) FR: une autre idée que ; une idée différente de | ความคิดจัญไร | [khwāmkhit janrai] (n, exp) EN: wicked idea FR: idée diabolique [ f ] | ความคิดคำนึง | [khwāmkhit khamneung] (n) EN: thinking ; imagination ; thought | ความคิดล่องลอย | [khwāmkhit lǿngløi] (n, exp) EN: autism ; imagination ; melancholy ; conjecture | ความคิดปรัชญา | [khwāmkhit pratyā = pratchayā] (n, exp) EN: philosophical thinking FR: pensée philosophique [ f ] | ความคิดริเริ่ม | [khwāmkhit riroēm] (n) EN: iniative ; intuitiveness ; origination FR: intuition [ f ] | ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ | [khwāmkhit riroēm sāngsan] (n, exp) EN: creativity | ความคิดรวบยอด | [khwāmkhit rūap yøt] (n, exp) EN: concept ; idea ; abstract notion | ความคิดสร้างสรรค์ | [khwāmkhit sāngsan] (n, exp) EN: creativity ; creative thinking FR: créativité [ f ] | ความคิดทางการเมือง | [khwāmkhit thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political thought FR: pensée politique [ f ] | ความคิดทางการเมืองไทยสมัยใหม่ | [khwāmkhit thāng kānmeūang Thai samaimai] (n, exp) EN: Thai modern political thought | ความคิดถึง | [khwāmkhittheung] (n) EN: miss ; regard ; consideration | ความคิดที่เฉียบแหลม | [khwāmkhit thī chīeplaēm] (n, exp) EN: convergent thinking | ความคิดที่ดี | [khwāmkhit thī dī] (n, exp) EN: a good idea FR: bonne idée [ f ] | ความคิดที่ดีมาก | [khwāmkhit thī dī māk] (n, exp) EN: great idea FR: excellente idée [ f ] | ความคิดที่ดีทีเดียว | [khwāmkhit thī dī thīdīo] (n, exp) EN: good idea FR: excellente idée [ f ] ; idée géniale [ f ] | กระแสความคิด | [krasaē khwāmkhit] (n, exp) EN: train of thought FR: courant de pensée [ m ] | ไม่มีความคิด | [mai mī khwāmkhit] (xp) EN: have no brain FR: être sans jugement ; ne pas avoir d'avis ; sans avis | แนวความคิด | [naēo khwāmkhit] (n, exp) EN: thinking ; idea ; philosophy ; line of tought ; way of thinking ; concept FR: concept [ m ] | นักสำรวจความคิดเห็น | [nak samrūat khwām khithen] (n, exp) EN: pollster FR: sondeur [ m ] ; institut de sondage [ m ] | ภาพในความคิด | [phāp nai khwām khit] (n) EN: image FR: image [ f ] | ผู้สำรวจความคิดเห็น | [phū samrūat khwām khithen] (n, exp) EN: pollster FR: sondeur [ m ] ; institut de sondage [ m ] | เปลี่ยนความคิด | [plīen khwāmkhit] (v, exp) EN: change one's idea ; change one's thought FR: changer d'idée | เปลี่ยนความคิดเห็น | [plīen khwām khithen] (v, exp) EN: change opinion FR: changer d'avis | ระดมความคิด | [radom khwāmkhit] (v, exp) EN: brainstorm | ระดมความคิดเห็น | [radom khwām khithen] (v, exp) EN: brainstorm | แสดงความคิดเห็น | [sadaēng khwām khithen] (v, exp) EN: voice/give one's opinion ; show/express one's opinion FR: exprimer son opinion ; faire entendre sa voix ; exprimer son point de vue | สำนักความคิด | [samnak khwām khit] (n, exp) EN: school of thought FR: école de pensée [ f ] | สำรวจความคิดเห็น | [samrūat khwām khithen] (n, exp) EN: polling FR: sonder l'opinion ; prendre le pouls (fig.) | แสดงความคิดเห็น | [theū wisāsa sadaēng khwām khithen] (v, exp) EN: make bold to express one's view ; venture an opinion | ทฤษฎีความคิด | [thritsadī khwāmkhit] (n, exp) EN: cognitive theory | หยั่งความคิดเห็น | [yang khwām khithen] (v, exp) EN: sound out |
| food for thought | สิ่งที่ทำให้คนเราระลึกถึงและใช้ความคิดใคร่ครวญ, อาหารสมอง | conventional wisdom | (noun, phrase) ความคิดเห็นหรือคำอธิบายที่ได้รับการยอมรับจากผู้เชี่ยวชาญทำให้เกิดความยอมรับจากสาธารณชน ซึ่ง conventional wisdom อาจถูกหรือผิดก็ได้ | mansplaining | (n, slang) การกระทำที่ผู้พูด (มักเป็นผู้ชาย) อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟัง (มักเป็นผู้หญิง) ในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม https://dict.longdo.com/blog/word-of-the-day-mansplaining/ | Cancel Culture | [แคน'เซิล คัล'เชอะ] (n) การแบนหรือคว่ำบาตรคนดัง ศิลปิน องค์กร หรือใครก็ตามแต่ที่แสดงความคิดเห็น สนับสนุน หรือมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมลงในโซเชียลมีเดีย ที่ทำให้คนทั่วไปไม่พอใจหรือผิดหวังในตัวคนคนนั้น | networking | (n) กิจกรรมการพบปะผู้คน, ทำความรู้จักคนใหม่ๆ, สนทนา และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เช่น ในงานสัมมนาอาจมีช่วงงานเลี้ยงที่เป็น networking party ให้ผู้เข้าร่วมได้พบปะทำความรู้จักกัน |
| abstract | (n) ความคิดในทางทฤษฎี | afterthought | (n) ความคิดหรือการพิจารณาภายหลัง, Syn. second thought, reconsideration, after-thought | after-thought | (n) ความคิดหรือการพิจารณาภายหลัง, Syn. second thought, reconsideration, after-thought | antilogy | (n) ความแย้งกันของความคิดหรือข้อคิดเห็น | aside | (adv) ออกไปจาก, See also: ออกไปจากใจ, ออกไปจากความคิด, Syn. out of the way | aspect | (n) มุมมอง, See also: ความคิดเห็น, Syn. view, viewpoint, perspective | association | (n) ความคิดที่เชื่อมโยง, See also: ความเห็นที่เชื่อมโยง, Syn. train of thought, chain of ideas | attitude | (n) ทัศนคติ, See also: ความคิดเห็น, ทัศนะ, ความเห็น, Syn. opinion, viewpoint | act out | (phrv) แสดง (ความคิด, ความกลัวที่ซ่อนใต้จิตสำนึก, ความเพ้อฝัน) ออกมา, Syn. play out | adhere to | (phrv) ศรัทธาต่อ (ความคิด, ความเชื่อ, ความเห็น), See also: เชื่อมั่นต่อ ความเชื่อ, ความคิด, แผนงาน อย่างแน่วแน่, ยึด, ยึดตาม, ทำตาม, Syn. cleave to, cling onto, cling to, hold to, keep to, stick to, stay with, Ant. depart from, deviate from | animadvert on | (phrv) แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ (อย่างวางท่า) | animadvert upon | (phrv) แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ (อย่างวางท่า) | bear | (vt) ส่งผ่าน(ความคิด), Syn. transmit | belief | (n) ความคิดเห็น | besmirch | (vt) ทำลายความคิดเห็น, Syn. sully | block | (n) การหยุดชะงักของพัฒนาการของกระบวนการทางความคิดหยุดชะงัก | bombard | (vt) ระดม (คำถาม ความคิด คำวิจารณ์) เข้าใส่, Syn. assail | bourgeois | (n) ชนชั้นกลาง (ตามแนวความคิดแบบมาร์กซิส), Syn. middle-class | brainchild | (n) ความคิดหรือสิ่งประดิษฐ์ | brainstorm | (n) กระแสประสาท, See also: ความคิด | brainstorming | (n) การระดมความคิด | brainwave | (n) ความคิดดีที่นึกได้ทันที, Syn. brainstorm | be in line with | (idm) เป็นไปตาม (ความคิด, หลักการ, กฎเกณฑ์), See also: ยึดตาม, Syn. be out of, Ant. be out of | be plunged in thought | (idm) คิดหมกมุ่นกับ, See also: จมอยู่กับ ความคิด | be with | (phrv) เข้าใจสิ่งที่อธิบาย, See also: ตามทันการสนทนา, ความคิด | borrow from | (phrv) คัดลอก (ความคิด, รูปแบบ, แนว)จาก | breathe on | (phrv) มีความคิดที่แย่หรือไม่ดีเกี่ยวกับ, Syn. breathe upon | breathe upon | (phrv) มีความคิดที่แย่หรือไม่ดีเกี่ยวกับ, Syn. breathe on | bring around | (phrv) โน้มน้าวให้เปลี่ยนความคิด, Syn. bring round | bring away | (phrv) กลับไปพร้อมกับ (บางสิ่งเช่น ความคิดหรือความรู้สึกบางอย่าง), Syn. come away with, go away with | bring back | (phrv) กลับไปใช้วิธี ความคิดหรือการกระทำเแบบเดิม, Syn. come back | bring forward | (phrv) แนะนำ, See also: เสนอแนะ, เสนอความคิดเห็น, Syn. come forward | bring in | (phrv) แนะนำ, See also: เสนอความคิด, เสนอแนะ | bring over | (phrv) โน้มน้าวให้เปลี่ยนความคิด, Syn. bring round | bring round | (phrv) โน้มน้าวให้เปลี่ยนความคิด, Syn. bring around, bring over, come around, come over, fetch over | broaden out | (phrv) ขยาย (ความคิด, ทักษะ ฯลฯ), See also: ทำให้กว้างขึ้น | buy it | (idm) ตอบรับ, See also: ยอมรับ, เห็นด้วยกับ ความคิด, คำแนะนำ, ข้อเสนอแนะ | call-in | (n) รายการที่ให้ผู้ชมหรือผู้ฟังโทรเข้าไปแสดงความคิดเห็น, Syn. phone-in | canvass | (n) การสำรวจความคิดเห็น | centrist | (n) ผู้ที่มีความคิดทางการเมืองเป็นกลาง, Syn. moderate, moderationist | cerebral | (adj) ที่เกี่ยวกับความคิด (มากกว่าทางอารมณ์), Syn. intellectual | cerebrate | (vi) คิด, See also: ใช้ความคิด, Syn. think | chasm | (n) ช่องว่าง, See also: ช่วงที่ขาดตอน, ความแตกต่างทางความคิดหรือความรู้สึก, Syn. gap | chaste | (adj) ที่มีความคิดบริสุทธิ์, See also: ที่ไม่คิดในทางชั่วร้าย, Syn. moral, virtuous | clamor | (n) การแสดงความคิดเห็นของสาธารณะชน, Syn. protesting, complaint | clout | (n) อิทธิพลของความคิด (คำไม่เป็นทางการ), Syn. influence, power, pull | coincide | (vi) พ้องกัน (ความคิด), See also: ตรงกัน, เหมือนกัน, ต้องกัน, Syn. correspond, agree, accord, match, tally, jibe, square, concur, harmonise, harmonize, admit, resemble, Ant. differ, contradict | color | (vt) มีอิทธิพลต่อ (ความคิด), Syn. influence, control, power | colour | (vt) มีอิทธิพลต่อ (ความคิด), Syn. influence, control, power | comment | (vi) แสดงความคิดเห็น, Syn. commentate |
| aesthetic | (al) (เอสเธท' ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับความรู้สึกต่อความงาม, เกี่ยวกับสุนทรีย์ศาสตร์, เกี่ยวกับอารมณ์และความรู้สึกที่บริสุทธิ์, ทฤษฏีหรือความคิดเห็นที่ถือความงามเป็นใหญ่., Syn. esthetic al -esthetician n. | affluence | (แอฟ' ฟลูเอินซฺ) n. ความมั่นคง, ความร่ำรวย, ความหลากหลาย (ความคิด, คำพูดและอื่น), Syn. wealth, plenty, Ant. poverty | aftertaste | (อาฟ' เทอะธอท, แอฟ-') n. ความคิดหรือการพิจารณาภายหลัง, ความคิดที่ล่าช้า, สิ่งเพิ่มเติมที่ไม่ได้คิดมาก่อน, Syn. addendum | air | (แอร์) vt., vi., n. เผย, กินอากาศ, ผึ่งอากาศ, ทำให้ลมเข้าออกได้สะดวก, ออกความคิดเห็น, ออกอากาศ, ออกโทรทัศน์, การหายใจ, ลมที่พัดเบา, อากาศ, ลักษณะท่าทาง, อาการกลืนอากาศ, เพลง, อาการ. -airless adj. -airlike adj. | apprehension | (แอพพริเฮน'เชิน) n. ความสงสัย, ความกลัว, ความหวาดหวั่น, ความเข้าใจ, การหยั่งรู้, ความคิดเห็น, การจับกุม, Syn. dread, alarm, capture, comprehension | association | (อะโซชีเอ'เชิน) n. สมาคม, บริษัท, การร่วมกัน, ความสัมพันธ์, สันนิบาตพันธมิตร, สหภาพ, การเชื่อมติดกัน, ความคิดเห็นร่วมกัน, กลุ่มของพืชที่อยู่ร่วมกัน, เกมฟุตบอล, การสังสรรค์, Syn. fellowship, organization, link | autism | (ออ'ทิสซึม) n. การคิดหมกมุ่นอยู่กับตัวเอง, ความคิดเพ้อฝัน. -autistic adj. | babbage, charles | (ชาร์ลส์ แบบเบจ) เป็นชื่อนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่ง มีชีวิตอยู่ตั้งแต่ ค.ศ 1791-1871 เป็นคนแรกที่ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีชื่อว่า Analytic Engine ซึ่งมีลักษณะความคิดที่เป็นต้นเค้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดิจิตอล ในปัจจุบัน กล่าวคือเป็นเครื่องจักรที่ทำงานไปตามโปรแกรมซึ่งเขียนเก็บไว้ในหน่วยความจำ | barren | (บาร์'เริน) adj. แห้งแล้ง, ปราศจากพืชผล, ไม่ได้ผล, ไม่มีบุตร, เป็นหมัน, ขาดแคลน, ไม่น่าสนใจ, ไร้ความคิด, จืดชืด, Syn. sterile, Ant. fertile, creative | bee | (บี) n. ผึ้ง, งานสังสรรค์, กวี, ความคิดที่แปลก | brain-wash | (เบรน'วอช) vt. ล้างสมอง, เอาความคิดยัดเยียดให้, กระบวนการล้างสมอง, See also: brainwashing n., Syn. persuade | brainwash | (เบรน'วอช) vt. ล้างสมอง, เอาความคิดยัดเยียดให้, กระบวนการล้างสมอง, See also: brainwashing n., Syn. persuade | budge | (บัดจฺ) { budged, budging, budges } vt. เคลื่อน, เริ่มเคลื่อน, เปลี่ยนความคิดเห็น, เปลี่ยนตำแหน่ง. vt. ทำให้เคลื่อน | bury | (เบ'รี) { buried, burying, buries } vt. ฝัง, ซ่อน, ปิด, กลบ, หมกมุ่น, หมก, ขจัด (ความคิด) ออก -Id. (bury the hatchet อโหสิ), Syn. inhume | cerebrum | (เซอ'ริบรัม) n. สมองใหญ่ เป็นส่วนที่อยู่ด้านหน้า แบ่งเป็น 2 ซีก มี cerebralcortex ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการติดต่อของเส้นประสาททั่วร่างกาย สมองส่วน cerebrum ทำหน้าที่เกี่ยวกับความคิด ความฉลาด ไหวพริบ ความทรงจำ ความยั้งคิดและความรู้สึกรับผิดชอบต่าง ๆ และนอกจากยัง nerve center ท่ควบคุมการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของร่างกายส่วนต่าง ๆ | cliche | (คลิเ?') n. สำนวนซ้ำ ๆ ซาก ๆ น่าเบื่อ, ความคิดที่เก่าคร่ำครึ adj. คร่ำครึ, ซ้ำ ๆ ซาก ๆ , เก่า, Syn. platitude | clout | (เคลาทฺ) { clouted, clouting, clouts } n. การตี, การต่อย, การตบ, การตีลูกไกล, อิทธิพลของความคิด, ปาฏิหาริย์, เป้า, ลูกกระสุนที่ถูกเป้า, เศษผ้าปะ, เศษของที่ใช้ซ่อมแซม, เศษผ้า, ผ้าขี้ริ้ว. vt. พันผ้า, ปะ, ซ่อมแซม, ตอกตะปูเสริม, ตี, ต่อย, Syn. blow, wal | complex | (คอม'เพลคซฺ) adj. ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ , ซับซ้อน, เชิงซ้อน, ซึ่งประกอบด้วย2ส่วน (คำ) n. ความซับซ้อน, ภาวะเชิงซ้อน, ความคิดเห็นที่ครอบงำ, จิตครอบงำ, Syn. complicated, maze, Ant. integral | complexion | (คัมเพลค'เชิน) n. สีหน้า, สีผิว, คุณลักษณะ, เค้า, ความคิดเห็น, ความเชื่อ | computernik | ชาวคอมพิวเตอร์หมายถึง คนที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์ รวมทั้งคนที่ชอบใช้อินเตอร์เน็ต หรือเล่นเกมคอมพิวเตอร์ด้วย คนกลุ่มนี้มักจะมีความคิดเห็น ความสนใจไปในทางเดียวกัน | conceit | (คันซีท') { conceited, conceiting, conceits } n. ความหยิ่ง, ความทะนง, ความถือดี, ความคิด, จินตนาการ, ความเพ้อฝัน, ข้ออุปมาแห่งจินตนาการ vt. จินตนาการ, ติดอกติดใจ, Syn. egoism, egotism, self-esteem, notion, Ant. modesty, diffidence | conceive | (คันซีฟว') { conceived, conceiving, conceives } vt. นึกคิด, คิดได้, ก่อขึ้นในใจ, เชื่อ, ตั้งครรภ์, เข้าใจ. vi. คิด, มีความคิด, จินตนาการ, Syn. start, originate | concentrate | (คอน'เซินเทรท) { concentrated, concentrating, concentrates } vt., vt. รวม, เพ่งเล็ง, รวมศูนย์, รวมกำลัง, อัดแน่น, ทำให้แน่น, ตั้งอกตั้งใจ, สำรวมความคิด. n. สิ่งที่อัดแน่น, สิ่งที่เข้มข้น, See also: concentrative adj. ดูconcentrate concentrator n. ดูconcent | concept | (คอน'เซพทฺ) n. ข้อคิดเห็น, ความคิด, มโนคติ, มโนภาพ, Syn. thought, idea | conception | (คันเซพ'เชิน) n. การคิด, สร้างมโนคติ, ภาวะตั้งครรภ์, การริเริ่ม, การตั้งต้น, อำนาจความคิด, แบบแผน, โครงการ., See also: conceptive adj. ดูconception, Syn. ideation, idea, view | conceptual | (คันเซพ'ชวล) adj. เกี่ยวกับความคิด, เกี่ยวกับการสร้างความคิด, Syn. thoughtful | consciousness | (คอน'เชิสเนส) n. ความมีสติ, ความมีจิตสำนึก, ความคิดและความรู้สึกรวมกัน, ภาวะจิต, ความตระหนัก, Syn. knowledge | consensus | (คันเซน'ซัส) n., (pl. -suses) ความสอดคล้องกัน, ความลงรอยกัน, ความคิดเห็นของส่วนใหญ่, มติมหาชน, Syn. unanimity | contrast | (n. คอน'แทรสทฺ, คันแทรสทฺ') { contrasted, contrasting, contrasts } n. ความผิดแผกกัน, ความตรงกันข้าม, สิ่งหรือบุคคลที่ผิดแผกกันอย่างชัดเจน, ความแตกต่างระหว่างบริเวณดำและขาวในภาพถ่าย. -v. เปรียบเทียบความคิดแผกกัน., See also: contrastable adj. ดูcontrast | course | (คอร์ส) { coursed, coursing, courses } n. เส้นทาง, วิถีทาง, แนวทางเดิน, แนวทางปฏิบัติ, แนวความคิด, ลำน้ำ, สาย, หลักสูตร, กระบวนวิชา, ช่วงระยะเวลาการรักษา, จานหนึ่ง (อาหาร) , ชุดหนึ่ง (ยา, การบรรยาย) , ระดู, การไล่ล่า (โดยสุนัขล่าเนื้อ) vt. วิ่งผ่าน, วิ่งข้าม, ไล่, ไล่ตาม, ไล่ล่า, ก่ | crank | (แครงคฺ) { cranked, cranking, cranks } n. ข้อเหวี่ยง, ที่หมุน, ด้ามหมุน, คนที่มีนิสัยฉุนเฉียวง่าย, ความคิดที่ประหลาด, คนระห่ำ vt., vi. งอเป็นรูปด้านหมุน, หมุนข้อเหวี่ยง, หมุนมือหมุน, บิดไปมา adv. ไม่แน่นอน, บ้า ๆ บอ ๆ adj. กลิ้งได้ง่าย, พลิกง่าย, คว่ำง่าย, ร่าเริง, มีชีวิตชี | creative | (ครีเอ'ทิฟว) adj. เกี่ยวกับการสร้างหรือประดิษฐ์ขึ้น, ซึ่งสร้างหรือประดิษฐ์ขึ้น, ซึ่งเกิดจากความคิดสร้างสรรค์, เจ้าความคิด, ช่างประดิษฐ์., See also: creativeness n. ดูcreative, Syn. prolific, productive, inventive, Ant. barren | crotchet | (ครอท'ชิท) n. ตะขอเล็ก ๆ , เครื่องมือหรือส่วนที่มีลักษณะเป็นตะขอ, เครื่องมือผ่าตัดรูปตะขอ, ความคิดแปลก ๆ , ความคิดวิตถาร, โน๊ตดนตรีที่แบ่งเสียง 4, Syn. vagaru | crotchety | (ครอท'ชีที) adj. เกี่ยวกับความคิดแปลก ๆ หรือวิตถาร, See also: crotchetiness n. | daydream | vi., n. (การ) ฝันกลางวัน, ปล่อยความคิดไปตามอารมณ์, See also: daydreamer n. ดูdaydream daydreamy adj. ดูdaydream, Syn. wish | delusion | (ดิลู'เ??ชิน) n. การลวงตา, การหลอกลวง, ความเชื่อผิด ๆ , ความคิดเพ้อเจ้อ, การเข้าใจผิด, มหันต์ | depth | (เดพธฺ) n. ความลึก, ความซับซ้อน, ความรุนแรง, ความคิดลึกซึ้ง, ความเข้มข้น, ความต่ำของระดับเสียง, ส่วนลึก, -Phr. (in depth อย่างยิ่ง, เต็มที่) adj. มาก, ละเอียด, Syn. bottom, Ant. surface | dissent | (ดิเซนทฺ') vi. ไม่เห็นด้วยอย่างแรง, ไม่ลงรอยกัน, ทะเลาะ, ขัดแย้ง, คัดค้าน n. ความแตกต่างของความคิด, การแยกจากโบสถ์, ความแตกแยก., Syn. differ, disagree, except, disagreement, Ant. assent | dogmatic | (ดอกแมท'ทิค) adj. เกี่ยวกับหลักเกณฑ์คำสอน ความเชื่อ หรือความคิดเห็นที่ไร้ข้อพิสูจน์, หยั่ง, หัวรั้น, มั่นใจ, ดันทุรัง, Syn. dogmatical, opinionated, settled, one-sided | doxy | (ดอค'ซี) n. ความคิดเห็น, ทฤษฎี, ความคิดเห็นทางศาสนา, ภรรยาลับ, หญิงชู้, โสเภณี, Syn. doxie | eidos | n. รูปแบบ, ความคิด, องค์ประกอบที่สำคัญ -pl. eide | estimate | (เอส'ทิเมท) v., n. (การ) ประมาณ, ประเมิน, กะ, ตีราคา, คำนวณ, คิด, วินิจฉัย, ความคิดเห็น, ค่าที่ประเมิน, ราคาที่ประเมิน., See also: estimator n. ดูestimate, Syn. evaluate | estimation | (เอสทิเม'เชิน) n. การประมาณ, การประเมิน, การวินิจฉัย, ความคิดเห็น, ความนับถือ, ความเคารพ, Syn. estimate | express | (อิคซฺเพรส') { expressed, expressing, expresses } vt. แสดงเป็นคำพูด, แสดงความคิดเห็น, แสดงเป็นเครื่องหมายหรือเป็นสูตร, ส่งด่วน, บีบ, คั้น adj. ชัดเจน, ชัดแจ้ง, แน่นอน, เหมาะสม, ด่วน, เร็วเป็นพิเศษ, โดยเฉพาะ, พิเศษ. n. ขบวนรถด่วน, การส่งด่วน, บริษัทขนส่งด่วน, คนเดินหนังสือพิ | eye | (อาย) n. ตา, นัยน์ตา, จักษุ, สายตา, การดู, การจ้อง, ความตั้งใจ, ความคิด, ข้อคิด, ทัศนะ, ช่อง, รู, ทิศทางลม, ตาของหน่อพืช, จุดของแสง, หลอดไฟที่มีแสง, สิ่งที่มีรูปคล้ายตา. -Phr. (keep an eye on เฝ้าดู, ดูแล, เพ่งเล็ง) -pl. eyes, eyen, Syn. observe, wa | feeler | (ฟีล'เลอะ) n. แผ่นเหล็กวัดความห่าง, ผู้สัมผัส, หนวดสัมผัส (ของแมลง) , ความคิดเห็นทัศนคติ, วิธีการหยั่งดู, ผู้สืบ, ผู้หยั่ง | feeling | (ฟีล'ลิง) n. ความรู้สึก, ความคิดเห็น, ความรู้สึกสัมผัส, อารมณ์, จิตใจ, ความเห็นใจ, ความสำนึก. adj. ไว (ความรู้สึก) , เห็นใจ, มีอารมณ์., See also: feelingly adv. feelingness n., Syn. sensation | flare-up | (แฟล'อัพ) n. การลุกไหม้เป็นเพลิงโชติช่วงอย่างกะทันหัน, การปะทุขึ้นของอารมณ์หรือความคิดอย่างกะทันหัน, ช่วงเวลาที่สั้นมาก, การโด่งดังของชื่อเสียงที่สั้นมาก, การระบาดของโรคอย่างกะทันหัน, Syn. storm | focus | (โฟ'คัส) { focused, focusing, focuses } n.โฟกัส, จุดรวมแสง, จุดความสนใจ, จุดศูนย์รวม, จุดแรกเริ่มของโรค. vt. ทำให้รวมกันที่จุดหนึ่ง, ทำให้รวมแสง, เพ่งความคิด. vi. รวมกันที่จุดหนึ่ง, รวมแสง, Syn. hub, center, eye, heart -pl. focuses, foci | form | (ฟอร์ม) { formed, forming, forms } n. รูปแบบ, รูปร่าง, แบบฟอร์ม, ระดับ, ความสามารถ, ฝีเท้า. vt. สร้างเป็นรูปร่าง, ก่อรูปแบบ, ผลิต, ประกอบ, ทำ, จัด, เรียง, จัดแถว, จัดตั้ง, คิด, เกิดความคิด. vi. เป็นรูปเป็นร่างขึ้น, กลายเป็น, จัดขึ้น |
| afterthought | (n) ความคิดภายหลัง | autism | (n) ความคิดเพ้อฝัน, ความหมกหมุ่น | concentrate | (vi, vt) สำรวมความคิด, จดจ่อ, ตั้งอกตั้งใจ, ตั้งสมาธิ, รวมกำลัง | concept | (n) มโนภาพ, ความคิด, มโนคติ | conception | (n) ความคิดเห็น, การสร้างมโนภาพ, มโนคติ, การตั้งครรภ์ | conceptual | (adj) เกี่ยวกับความคิดเห็น, เกี่ยวกับมโนภาพ, เกี่ยวกับความนึกคิด | creative | (adj) เกี่ยวกับการสร้าง, ในเชิงประดิษฐ์, เจ้าความคิด, ช่างประดิษฐ์ | crotchet | (n) ตะขอ, โน้ตเพลงรูปตะขอ, ความคิดวิตถาร | daydream | (n) การฝันกลางวัน, การฝันหวาน, ความคิดฝัน, การสร้างวิมานในอากาศ | desist | (vt) ระงับ, ล้มเลิก, หยุด, เลิกล้มความคิด | estimate | (n) การประมาณ, การตีราคา, ความคิดเห็น, ค่าที่ประเมิน | estimation | (n) การประมาณ, การประเมิน, การตีราคา, ความคิดเห็น, การวินิจฉัย | expression | (n) เครื่องหมาย, การแสดง, การแสดงความคิด, ลักษณะท่าทาง, น้ำเสียง | eye | (n) นัยน์ตา, จักษุ, การมอง, การมองเห็น, สายตา, ทัศนะ, ความคิด, ช่อง | fantasy | (n) การนึกฝัน, ความเพ้อฝัน, จินตนาการ, ความคิดฟุ้งซ่าน | feeler | (n) ผู้สืบ, ผู้รู้สึก, สิ่งที่ทำให้รู้สึก, ความคิดเห็น, ทัศนคติ | feeling | (n) ความรู้สึก, อารมณ์, จิตใจ, ความสำนึก, ความคิดเห็น | focus | (vt) ทำให้รวมแสง, สำรวม, เพ่งความคิด | freethinker | (n) คนที่ถือศาสนาโดยอิสระ, คนนอกรีต, ผู้มีความคิดอิสระ | head | (n) ศีรษะ, หัว, ยอด, หัวหน้า, ประมุข, สมอง, สติปัญญา, ความคิด, หัวข้อ | headless | (adj) ไม่มีหัว, โง่, ไม่มีสมอง, ไม่มีความคิด, ไม่มีหัวหน้า | heresy | (n) ความนอกศาสนา, บาป, ความคิดนอกคอก | heterodoxy | (n) ความนอกศาสนา, ความคิดนอกคอก, ความนอกรีต | homesickness | (n) ความคิดถึงบ้าน | idea | (n) ความคิด, ความคิดเห็น, มโนคติ, ความเชื่อ | imaginative | (adj) ซึ่งนึกฝัน, เจ้าความคิด, ซึ่งนึกเอาเอง | initiative | (n) ความคิดริเริ่ม, การทาบทาม | mentality | (n) จิตใจ, ความคิด, เชาวน์, ปัญญา | mentally | (adv) ทางจิตใจ, ทางความคิด, ทางใจ, ทางปัญญา | mind | (n) จิตใจ, เชาวน์, ความตั้งใจ, ความคิด, สติปัญญา, ความทรงจำ | notion | (n) ความคิดเห็น, ความนึกคิด, ความเชื่อ, สิ่งประดิษฐ์ | opine | (vi) ออกความเห็น, แสดงความคิดเห็น | opinion | (n) ความคิดเห็น, ทัศนะ, ข้อเสนอ | originality | (n) ความคิดริเริ่ม, ความแหวกแนว | phantasm | (n) ความคิดฝันไป, ภาพหลอน, ความเพ้อฝัน, การฝันเฟื่อง | plagiarism | (n) การคัดลอกผลงาน, การขโมยความคิด | plagiarize | (vt) ลอกคัดผลงาน, ขโมยความคิด | poll | (n) การสำรวจความคิดเห็น, การออกเสียงเลือกตั้ง, รายหัว, หัว | preconception | (n) ความคิดล่วงหน้า, การไตร่ตรองไว้ล่วงหน้า | profundity | (n) ความคิดลึกซึ้ง, ความเต็มที่, การหลับสนิท | pronouncement | (n) การประกาศ, การกล่าว, คำวินิจฉัย, คำแถลง, ความคิดเห็น | remembrance | (n) ความทรงจำ, ความคิดถึง, การรำลึกถึง | resourceful | (adj) เจ้าความคิด, เจ้าปัญญา, อุดมสมบูรณ์, มั่งคั่ง | sentiment | (n) อารมณ์, ความรู้สึกทางใจ, ความคิดเห็น | speculation | (n) การหมุนเงิน, ความคิด, การเดา, การเสี่ยงโชค | speculative | (adj) เกี่ยวกับการเสี่ยงโชค, เกี่ยวกับความคิด | territory | (n) ดินแดน, ขอบข่าย, อาณาเขต, แนวความคิด, แนวทางปฎิบัติ | theorem | (n) ทฤษฎี, บทพิสูจน์, หลักเกณฑ์, สูตร, ความเชื่อ, ความคิดเห็น | thought | (n) ความคิด, การนึก, การไตร่ตรอง, การรำพึง, ปัญญา | thoughtless | (adj) สะเพร่า, เลินเล่อ, ไม่มีความคิด, ประมาท |
| CDM | [ซี ดี เอ็ม] (n) กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) เป็นกลไกที่กำหนดขึ้นภายใต้พิธีสารเกียวโต เพื่อช่วยให้ประเทศอุตสาหกรรมที่มีพันธกรณีในการลดก๊าซเรือนกระจกสามารถบรรลุพันธกรณีได้ และเพื่อส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศกำลังพัฒนา แนวความคิดของกลไกการพัฒนาที่สะอาดคือ โครงการที่เกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนาและสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ผู้ดำเนินโครงการจะได้รับ Certified Emission Reduction (CERs) จากหน่วยงานที่เรียกว่า CDM Executive Board (CDM EB) และ CERs ที่ผู้ดำเนินโครงการได้รับนี้ สามารถนำไปขายให้กับประเทศอุตสาหกรรม ที่สามารถใช้ CERs ในการบรรลุถึงพันธกรณี่ตามพิธีสารเกียวโตได้ | climate | (n) ขอแสดงความคิดเห็นนะครับ ไม่ใช่คำแปล คำนี้ไม่ได้มีความหมายคล้ายกับ weather คนไทยส่วนใหญ่ไม่ได้เข้าใจความหมายอย่างชัดเจนระหว่างคำสองคำนี้ จึงอยากให้ทางลองดูช่วยให้ความหมายอย่างชัดเจนว่า climate หมายถึง ลักษณะภูมิอากาศของภูมิประเทศ ส่วน weather คือ ลักษณะอากาศขณะหนึ่ง | conflict of opinion | (phrase) ความขัดแย้งทางความคิด | discourse | (n) วาทกรรม - ชุดความคิดที่มีลักษณะเป็นระบบและสืบทอดต่อเนื่อง | distinct concept | ความคิดที่ชัดเจน | grean | [เกรียน] (n, adv) เป็นนิสัยหนึ่งของบุคคลยังไม่พ้นจากทางโลก ไม่รับฟังความเห็นผู้อื่น ตั้งตนเองเป็นหลัก มีความคิดอยู่ในฝันของตนเอง มีผู้อื่นยกย่องเห็นในตวามสามารถในด้านถนัดของตนเองแล้วมีความสุข | grim idea | ความคิดที่เป็นลบ | introject | (n) ความคิดหรือสิ่งที่ผู้ปกครองปลูกฝังให้แก่เด็ก | mansplaining | การกระทำที่ผู้พูด อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟังในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม | mind set | (n) รูปแบบความคิด | mindset | แนวความคิด | pregnant | (adj) ซึ่งเต็มไปด้วยความคิดความหมาย มีนัย | recalibrate | [riːˈkæl.ɪ.breɪt] (vt) เปลี่ยนการกระทำ, เปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับบางสิ่ง | spectrum | (n) ความคิด วิธีการซึ่งมีหลากหลายและสัมพันธ์หรือมีผลกระทบต่อกัน (ที่จะทำอะไรสักอย่างหนึ่ง เช่นวิธีแก้ปัญหาคนไร้ที่อยู่อาศัย) | thought-provoking | (adj) กระตุ้นความคิดหรือสิ่งที่สนใจ | zeitgeist | (n) ความคิดตามสมัย |
| 明敏 | [めいびん, meibin] (n, adj, adv) ความคิด, เชาวน์, ไหวพริบ, มีไหวพริบ, เข้าใจภาษา, เป็นเรื่องเป็นราว, ฉลาด, รู้จักคิด, รู้จักเหตุผล, ข่าวคราว |
| 抽出 | [ちゅうしゅつ, chuushutsu] ความคิดในทางทฤษฎี | 握りつぶす | [にぎりつぶす, nigiritsubusu] บดบี้ในมือ, การระงับข้อเสนอหรือความคิด | 知恵 | [ちえ, chie] (n) wits, wisdom, ideas ความคิดเห็น เชาว์ปัญญา | 尊重 | [そんちょう, sonchou] (adj) ยอมรับ(ความคิด) | 提案 | [ていあん, teian] การยื่นข้อเสนอ การเสนอความคิด ข้อเสนอแนะ | 创意 | [chuang4 yi4, chuang4 yi4] (n) ความคิดสร้างสรรค์ | 主張 | [しゅちょう, shuchou] การยืนกราน การยืนยันความคิดของตนเอง | 単純 | [たんじゅん, tanjun] ง่ายๆ ไม่ซับซ้อน (ความคิด)ไร้เดียงสา |
| 意見 | [いけん, iken] TH: ความคิดเห็น | 悪気 | [わるぎ, warugi] TH: ความคิดในทางไม่ดีต่อผู้อื่น EN: malice | 考え方 | [かんがえかた, kangaekata] TH: ความคิด, วิธีการคิด EN: way of thinking |
| Idee | (n) |die, pl. Ideen| ความคิด, ความเห็น, ไอเดีย | Stellung nehmen | แสดงความคิดเห็น | schweigen | (vi) |schwieg, hat geschwiegen| นิ่งเงียบ และ ไม่แสดงความคิดเห็น หรือ ไม่เปิดเผยในสิ่งที่รู้ หรือ ไม่ตอบ ก็เป็นได้ นะเนี่ย ตัวอย่างการใช้ คำ 1° Du solltest auf all seine Fragen schweigen! = เธออย่าได้ตอบคำถามของเขาเชียวนะ แม้จะคำถามเดียวก็เหอะ (นั่น เป็นงั้นไปได้, ยังกะในละคร แนะ ) 2° Darüber sollten wir lieber schweigen. = ผมเห็นว่า พวกเราน่าจะนิ่งเฉยกับเรื่องนี้เอาไว้ดีกว่านะ ( เพิ่มเติม, ผู้พูดแนะนำให้ทำ ดังนั้นเขาจึง ใช้กริยาเป็น sollten เช่น solltest ในตัวอย่างที่ 1 ด้วยเหมือนกัน ) 3° Sebastian, er steht schweigend vor seinen Eltern. = เซบาสเทียน, เขายืนนิ่ง ไม่พูดอะไรสักคำต่อหน้าพ่อแม่ของเขา ( กริยา Infinitiv เติมด้วย d จะทำหน้าที่เป็น Adjektiv หรือ Adverb เช่นคำว่า schweigend ในประโยค ตัวอย่าง ), See also: verheimlichen, A. verraten, antworten, sagen, Syn. still sein | sich äußern | (vt) |äußerte sich, hat sich geäußert| พูด หรือ แสดงความคิดเห็น เช่น Ich möchte mich über unsere Teamarbeit äußern. = ผมอยากจะแสดงความเห็นในเรื่องงานที่เราทำด้วยกัน หรือ งานกลุ่ม ( กริยา ตามด้วย กรรมตรง เช่น mich ในประโยคตัวอย่าง ), See also: meinen, sagen, das Gefühl erklären, die Meinung geben, A. schw, Syn. die Meinung sagen | verschwimmen | (vi) |verschwamm, ist veschwommen| ไม่ชัดเจน, ไม่แจ่มชัด เช่น 1° Deine Idee ist voll verschwommen! = ความคิดของคุณ ช่างไม่แน่ชัดเอาซะเลย 2° Mein Hausprojekt schwimmt immer noch. = โครงการบ้านของผมยังเลือนลางอยู่เลย 3°เช่น Eine Kirche verschwimmt vor meinen Augen. = ฉันเห็นโบสถ์เลือนลางอยู่ข้างหน้า | Gedanke | (n) |der, pl. Gedanken| สิ่งที่ได้จากการคิด, ความคิด เช่น ein kluger, vernünftiger Gedanke, einen Gedanken fassen/ haben, seinen Gedanken sammeln, Syn. die Überlegung | Gedankenlesen | (n) |das, nur Sg.| ความสามารถในการทายความคิดคนอื่นได้, See also: Gedanken lesen | knallhart | (adv) โดยไม่คำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น เช่น ich hab' ihm knallhart meine Meinung gesagt! = ผมแสดงความคิดเห็นกับเขาโดยไม่ต้องเกรงใจอะไร, See also: schonungslos, Syn. deutlich | meinen | (vt) |meinte, hat gemeint, etw. zu etw.| มีความคิดเห็นเกี่ยวกับ, คิดเห็น เช่น Was meinst du dazu? เธอคิดว่าอย่างไรเกี่ยวกับเรื่องนี้ | auf die Idee kommen | มีความคิด(บรรเจิด), เกิดไอเดีย เช่น Wie ist er auf die Idee gekommen? เธอได้ความคิดนี้มาอย่างไร | beleidigt | (adv) |über etw.(A)| รู้สึกถูกดูถูกเหยียดหยาม เช่น Er ist beleidigt darüber, dass ich ihm die Meinung gesagt habe. เขารู้สึกถูกดูถูกที่ฉันได้พูดความคิดเห็นออกไป | Seele | (n) |die, pl. Seelen| ดวงวิญญาณ, จิตวิญญาณ, ความคิด, See also: Geist | kommentieren | (vt) |kommentierte, hat kommentiert| วิพากษ์วิจารณ์, ออกความคิดเห็น เช่น Das Paar wollte den Bericht nicht kommentieren. | Wegwerfmentalität | (n) |die| ทัศนคติหรือความคิดของมนุษ์ในการทิ้งของหรือวัตถุที่ยังสามารถใช้การได้ เช่น Mehrere Schweizer Städte und Gemeinden wollen der zunehmenden Wegwerfmentalität entgegenwirken. |
| changer d'avis | (phrase) เปลี่ยนใจ, เปลี่ยนความคิด | entendre | (vt) ฟัง, (comprendre)เข้าใจ, (vouloir dire)แสดงความคิดเห็น, (vouloir)ต้องการจะ เช่น j'entends par là que... = ฉันอยากจะบอกว่า..., ผมอยากจะพูดว่า... |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |