| Progress report | รายงานความคืบหน้า, Example: <p> รายงานความคืบหน้า หรือ รายงานความก้าวหน้าของโครงการ เป็นเอกสารที่จัดทำขึ้น วัตถุประสงค์เพื่อรายงานผู้ประเมิน ให้เข้าใจความคืบหน้าของโครงการ รวมถึงปัญหาและอุปสรรค ตลอดจนแนวทางในการแก้ปัญหา <p>ในแบบรายงานความก้าวหน้าของการวิจัย (แบบ วช. 4 ก) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ได้กำหนดหัวข้อต่าง ๆ ในรายงานความก้าวหน้า ดังนี้ <p>1. ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ) <p>2. รายนามหัวหน้าโครงการและคณะผู้วิจัย พร้อมทั้งหน่วยงานที่สังกัด หมายเลขโทรศัพท์ และโทรสาร <p>3. ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท … ประจำปี … จำนวนเงิน … เริ่มทำการวิจัยเมื่อ … ถึง … <P>รายละเอียดเกี่ยวกับผลงานความก้าวหน้าของการวิจัย <P>(1) วัตถุประสงค์ของโครงการ (โดยสรุป) <P>(2) สรุปตารางเปรียบเทียบระหว่างแผนงานวิจัยตามที่เสนอไว้ในโครงการ กับงานวิจัยที่ได้ดำเนินการไปแล้ว <P>(3) รายละเอียดเพิ่มเติมของการวิจัยที่ได้ดำเนินการไปแล้ว ให้แนบบทความเกี่ยวกับผลงานความก้าวหน้าทางวิชาการของโครงการวิจัยระหว่างดำเนินการ ที่เคยพิมพ์ในวารสารทางวิชาการแล้ว หรือบทความที่จะนำเผยแพร่ทางสื่อมวลชนได้ (ถ้ามี) <P>(4) งบประมาณที่ได้ใช้จ่ายไปแล้วนับตั้งแต่เริ่มโครงการ <P>(5) งานตามโครงการที่จะทำต่อไป <P>(6) คำชี้แจงเกี่ยวกับอุปสรรคหรือปัญหา (ถ้ามี) <P>บรรณานุกรม <P>สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. คู่มือการเขียนรายงานการวิจัย. Available at : http://www.riclib.nrct.go.th/link/info/researchwrite.pdf. Accessed June 6, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] | ASEAN Ministerial Meeting on the Environment | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม จัดขึ้นเป็นประจำทุก 3 ปี เพื่อหารือ กำหนดนโยบาย และติดตามผลความคืบหน้าของความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม [การทูต] | ASEAN Ministerial Meeting on Haze | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนเกี่ยวกับปัญหาหมอกควัน " จัดขึ้นตามความจำเป็นและด้วยความเห็นชอบของทุกประเทศสมาชิก เพื่อติดตามความคืบหน้าของการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ อาเซียนด้านปัญหาหมอกควัน " [การทูต] | ASEAN Ministerial Meeting on Science and Technology | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี " จัดขึ้นเป็นประจำทุก 3 ปี เพื่อหารือ กำหนดนโยบาย และติดตามผลความคืบหน้าของการดำเนินงานความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี โดยในช่วงกลางระหว่างสามปีดังกล่าวจะมีการประชุม รัฐมนตรีอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างไม่เป็นทางการด้วย " [การทูต] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Labor, Progress of | การก้าวหน้าของการคลอด, ความก้าวหน้าของการคลอด, ความคืบหน้าของการเจ็บครรภ์คลอด [การแพทย์] |
|
| ความคืบหน้า | [khwām kheūpnā] (n) EN: progress ; state state of things ; present state of affairs FR: état d'avancement [ m ] | รายงานความคืบหน้า | [rāi-ngān khwām kheūpnā] (n, exp) EN: progress report |
| advancement | (n) การพัฒนา, See also: การรุดหน้า, ความเติบโต, ความคืบหน้า, ความรุ่งโรจน์ | gait | (n) ความเร็วในการเคลื่อนที่, See also: ความคืบหน้าในการดำเนินงาน, Syn. motion, movements | headway | (n) ความคืบหน้า, See also: ความก้าวหน้า, Syn. advance, progress, progression, Ant. regression, retrogression, setback |
| gain | (เกน) { gained, gaining, gains } vt. ได้มา, ได้รับ, กำไร, ชนะ, บรรลุ, ได้เปรียบ, มีภาษีดีกว่า, ได้เป็นพวก. vi. ก้าวหน้า, คืบหน้า, (นาฬิกา) เร็วไป, ใกล้เข้าไป. n. ผลกำไร, ผลประโยชน์, การมีชัย, การเพิ่ม, จำนวนที่เพิ่มขึ้น, การก้าวหน้า, ความคืบหน้า, การได้มาซึ่ง, ของที่ได้มา, ร่อง, |
| furtherance | (n) ความคืบหน้า, ความก้าวหน้า, การส่งเสริม, การผลักดัน | headway | (n) ความคืบหน้า, ความก้าวหน้า, ความเจริญก้าวหน้า | progress | (n) ความก้าวหน้า, ความเจริญ, ความคืบหน้า, การเดินหน้า, ความรุดหน้า |
| 進度 | [しんど, shindo] (n) ความคืบหน้า, ความก้าวหน้า |
| 進捗 | [shinchoku, shinchoku] (n) ความคืบหน้า | 快調 | [かいちょう, kaichou] (อยู่ใน)สภาพดี อาการดี ความคืบหน้าไปด้วยดี ความราบรื่น |
| Prospekt | (n) |der, pl. Prospekte| เอกสารหรือหนังสือหรือแผ่นพับแสดงรายละเอียดของโครงการและความคืบหน้า, Syn. die Broschüre |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |