ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: จกัน, -จกัน- |
เบย | เลย เป็นคำแผลงที่มาจากการใช้คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือพิมพ์ข้อความ เนื่องจากแป้นตัวอักษร ล ลิง และ บ ใบไม้ อยู่ใกล้กัน จึงทำให้เกิดการพิมพ์ผิดได้บ่อยครั้ง จนเป็นที่เข้าใจกันว่าถ้าพิมพ์ว่า เบย จะหมายความถึง เลย และยังแฝงถึงความรู้สึกเล่นๆ สนุกๆ ไม่จริงจัง กรณีที่พบบ่อย เช่นคำว่า จังเลย อาจแผลงได้เป็น จุงเบย เช่น เจ๊บจุงเบย (เจ็บจังเลย), ฮาจุงเบย (ฮา จังเลย) |
|
| 仇人 | [chóu rén, ㄔㄡˊ ㄖㄣˊ, 仇 人] (n) personal enemy ศัตรู เช่นเพื่อนสองคนสนิทกันมาก วันนึงเกิดผิดใจกันขึ้น หลังจากนั้นทั้งสองคนก็ไม่คุยกันอีกเลย ทั้งสองกลายเป็น Chou Ren แต่ถ้าเป็นคำว่า 敌人 เป็นศัตรูกันเช่น อิสราเอล กับ ปาเลสไตน์, See also: R. 敌人 |
| แจกัน | (n) vase, Example: ลูกสาวคนเล็กของเธอเอาดอกไม้จัดลงแจกันแล้ววางไว้บนโต๊ะอาหาร, Count Unit: ใบ, Thai Definition: ภาชนะสำหรับปักดอกไม้ตั้งเครื่องบูชาหรือประดับสถานที่ มักมีรูปคล้ายขวดปากบาน | ผิดใจกัน | (v) be estranged, See also: be at loggerheads, have a difference, Example: ทั้ง 2 คนเกิดผิดใจกันขึ้นมาก็เพราะมือที่สามอย่างหล่อน, Thai Definition: หมางใจกัน, ไม่ถูกใจเพราะไม่ชอบการกระทำของอีกฝ่ายหนึ่ง |
| แจกัน | น. ภาชนะสำหรับปักดอกไม้ตั้งเครื่องบูชาหรือประดับสถานที่ มักมีรูปคล้ายขวดปากบาน. | เสร็จกัน, เสร็จเลย | คำที่เปล่งออกมาแสดงความผิดหวัง เช่น เสร็จกัน ยังไม่ทันได้ออกแสดง เสื้อผ้าก็เปื้อนหมดแล้ว เสร็จเลย ลืมเอากระเป๋าสตางค์มา. | ก้นขบ | น. ชื่องูขนาดเล็กชนิด Cylindrophis ruffus (Laurenti) ในวงศ์ Aniliidae หรือ Uropeltidae สีดำแกมม่วง มีลายประตามลำตัวสีขาวเห็นได้ชัดเมื่อยังมีขนาดเล็ก ท้องมีลายดำขาวสลับกัน พื้นท้องของหางเกือบปลายสุดมีสีแดงอมส้ม ไม่มีพิษ แต่เข้าใจกันว่ามีพิษข้างหางเพราะชูและแผ่หางแบนม้วนให้เห็นเมื่อพบศัตรู. | กรานกฐิน | (-กะถิน) ก. ขึงไม้สะดึง คือ เอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรเข้าขึงที่ไม้สะดึง เย็บเสร็จแล้วบอกแก่ภิกษุทั้งหลายผู้ร่วมใจกันยกผ้าให้ในนามของสงฆ์เพื่ออนุโมทนา, ภิกษุผู้เย็บจีวรเช่นนั้น เรียกว่า ผู้กราน, สงฆ์ยกผ้าอันไม่พอแจกกันให้ภิกษุรูปหนึ่ง ภิกษุรูปนั้นทำตั้งแต่ซัก กะ ตัด เย็บ ย้อม เสร็จในวันนั้น ทำพินทุกัปปะอธิษฐานเป็นจีวรครอง เป็นจีวรกฐิน เรียกว่า . (อุปสมบทวิธี). (ดู กฐิน). | กาวใจ | น.ผู้ประสานรอยร้าวให้ผู้ที่โกรธกัน ทะเลาะกัน หรือกินแหนงแคลงใจกัน ได้กลับคืนดีกัน เช่น เขาเป็นกาวใจให้ ๒ คนนี้คืนดีกัน. | กี๋ | น. ฐานสำหรับรองสิ่งของหรือสำหรับนั่ง ทำด้วยวัตถุต่าง ๆ มีรูปต่าง ๆ กัน เช่น กี๋รองแจกัน กี๋รองกระถางต้นไม้ | เกี้ยว ๑ | ผ้าคาดเอวสำหรับขุนนาง เรียกว่า ผ้าเกี้ยว เช่น เกี้ยวลาย คือผ้าคาดเอวที่มีลาย (บางทีเข้าใจกันว่าเป็นผ้านุ่งอย่างหนึ่ง). | ขุ่นข้องหมองใจ | ก. ผิดใจกัน. | เข้าคอ | ก. ประพฤติให้ถูกใจกันได้, มีความประพฤติถูกกัน, ไม่ขัดคอกัน. | ค่ายอาสาพัฒนา | น. ค่ายเยาวชนที่จัดตั้งขึ้นโดยมีความมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมหรือฝึกฝนให้เยาวชนได้ร่วมมือร่วมใจกันบำเพ็ญประโยชน์ต่าง ๆ ให้แก่ชุมชน. | คู่คิด | น. ผู้ร่วมคิดหรือร่วมปรึกษาหารือที่สนิทสนมและรู้ใจกันดี. | คู่หู | ว. ที่พูดถูกใจกัน, ที่ถูกคอกัน. | คู่หู | น. เพื่อนที่ถูกคอถูกใจกัน. | เครื่องตั้ง | น. เครื่องตั้งโต๊ะบูชา มีแจกัน เชิงเทียน กระถางธูป และพานดอกไม้ เป็นต้น. | จับเข่าคุยกัน, จับหัวเข่าพูด | ก. พูดปรับความเข้าใจกันอย่างใกล้ชิด. | จับหัวเข่าพูด, จับเข่าคุยกัน | ก. พูดปรับความเข้าใจกันอย่างใกล้ชิด. | เจตภูต | (เจดตะพูด) น. สภาพเป็นผู้คิดอ่าน คือ มนัส, ที่เรียกในภาษาสันสกฤตว่า “อาตมัน” เรียกในภาษาบาลีว่า “อัตตา” ก็มี “ชีโว” ก็มี, มีอยู่ในลัทธิว่า “ในโลกนี้ไม่มีอะไรสูญ แม้คนและสัตว์ตายแล้ว ร่างกายเท่านั้นทรุดโทรมไป ส่วนเจตภูตเป็นธรรมชาติไม่สูญ ย่อมถือปฏิสนธิในกำเนิดอื่นสืบไป”, ลัทธินี้ทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นสัสตทิฐิ แปลว่า ความเห็นว่าเที่ยง, ตามสามัญที่เข้าใจกัน เจตภูต คือวิญญาณที่สิงอยู่ในตัวคน กล่าวกันว่าออกจากร่างได้ในเวลานอนหลับ. | ช่องว่าง | ความไม่เข้าใจกันของคนที่มีความคิด ฐานะ หรืออื่น ๆ ที่แตกต่างกัน เช่น ช่องว่างระหว่างคนมั่งมีกับคนยากจน ช่องว่างระหว่างวัย. | แตกคอ | ก. หมางใจกันเพราะภายหลังเกิดมีความเห็นหรือรสนิยมไม่ตรงกัน, แตกสามัคคี. | แตกร้าว | ก. บาดหมางหรือผิดใจกันจนติดต่อคบหากันอย่างเดิมไม่ได้. | ถ่านไฟเก่า | น. ชายหญิงที่เคยรักใคร่หรือเคยได้เสียกันมาก่อน แม้เลิกร้างกันไป เมื่อมาพบกันใหม่ย่อมรักใคร่หรือปลงใจกันได้ง่ายขึ้น. | ถูกชะตา | ก. ถูกใจกันแต่แรกเห็น. | ทองดำ ๑ | น. ทองชนิดหนึ่ง โบราณเข้าใจกันว่ามีสีเนื้อดำ นับถือเป็นของวิเศษ. | บัวไม่ช้ำ น้ำไม่ขุ่น | ก. รู้จักผ่อนปรนเข้าหากัน มิให้กระทบกระเทือนใจกัน, รู้จักถนอมนํ้าใจไม่ให้ขุ่นเคืองกัน, บัวไม่ให้ชํ้า นํ้าไม่ให้ขุ่น ก็ว่า. | บาดหมาง | ก. โกรธเคืองกัน, หมองใจกัน, ผิดใจกัน. | ปั่นหัว | ยุให้ผิดใจกัน. | เป็นที่ ๒ | ว. ใช้นำหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อเสริมความให้แจ่มชัดยิ่งขึ้น เช่น เป็นที่เข้าใจกันว่า เป็นที่น่ากลัว เป็นที่น่าพอใจ. | เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน | ว. พร้อมเพรียงกัน, พร้อมใจกัน. | ผิดใจ | ก. หมางใจกัน. | พร้อมใจ | ก. ร่วมใจ, มีน้ำใจเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, เช่น เขาพร้อมใจกันทำงาน. | พร้อมเพรียง | ว. ครบถ้วน, ร่วมใจกัน, เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, เช่น ช่วยกันทำงานอย่างพร้อมเพรียง. | เพื่อนคู่หู | น. เพื่อนที่ถูกคอถูกใจกัน. | ภาษา | โดยปริยายหมายความว่า สาระ, เรื่องราว, เนื้อความที่เข้าใจกัน, เช่น ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา เขียนไม่เป็นภาษา ทำงานไม่เป็นภาษา. | ยุให้รำตำให้รั่ว | ก. ยุให้แตกกัน, ยุให้ผิดใจกัน. | ระหองระแหง | ว. ผิดใจกันเพราะเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ, ไม่ใคร่ถูกกัน, เช่น เขามีเรื่องระหองระแหงกันอยู่เรื่อย. | ลมเพลมพัด | น. อาการที่เจ็บป่วยโดยไม่รู้สาเหตุ มักเข้าใจกันว่าถูกกระทำ. | ลายคราม | น. เรียกเครื่องภาชนะเนื้อกระเบื้องที่เขียนลายเป็นสีคราม เช่น ชามลายคราม แจกันลายคราม, โดยปริยายหมายถึงของเก่าที่มีค่า เช่น เก่าลายคราม ไม่ใช่เก่ากะลา, เก่า, โบราณ, เช่น รุ่นลายคราม. | สมรู้ | ก. ร่วมคิดกัน, เป็นใจกัน, (มักใช้ในทางที่ไม่ดี) เช่น เขาสมรู้กันในทางทุจริต, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ร่วมคิด เป็น สมรู้ร่วมคิด เช่น เขาสมรู้ร่วมคิดกันในการฉ้อราษฎร์บังหลวง. | สแลง | น. ถ้อยคำหรือสำนวนที่ใช้เข้าใจกันเฉพาะกลุ่มหรือชั่วระยะเวลาหนึ่ง ไม่ใช่ภาษาที่ยอมรับกันว่าถูกต้อง. | สาง ๒ | น. สัตว์ในนิยาย เข้าใจกันว่ามีรูปร่างอย่างเสือ. | สามัคคี | ว. ที่พร้อมเพรียงกันทำ, ที่ร่วมมือร่วมใจกันทำ, เช่น กฐินสามัคคี ผ้าป่าสามัคคี. | สาระแน | ยุแหย่ให้เขาผิดใจกัน, ยุยงให้เขาแตกกัน, เช่น พูดอะไรให้ฟัง ก็สาระแนไปบอกเขาหมด. | สูงค่า | ว. มีค่ามาก เช่น แจกันลายครามใบนี้สูงค่ามากเพราะเป็นสมบัติตกทอดมาหลายชั่วอายุคนแล้ว, มีค่าสูง, มีราคาสูง, เช่น แหวนเพชรวงนี้สูงค่ามาก. | เสกสรรปั้นแต่ง, เสกสรรปั้นเรื่อง | ก. แต่งเรื่องขึ้นมาโดยจะมีความจริงหรือไม่ก็ได้เพื่อให้เข้าใจผิด เช่น คนคนนี้ช่างเสกสรรปั้นเรื่องมาเล่าให้ผู้ใหญ่ผิดใจกันอยู่เสมอ. | เสียโฉม | ก. มีตำหนิตามร่างกายโดยเฉพาะที่ใบหน้า ทำให้ความงามลดลง เช่น เธอประสบอุบัติเหตุ ถูกกระจกบาดหน้า เลยเสียโฉม, โดยปริยายใช้แก่สิ่งของที่มีตำหนิ เช่น แจกันใบนี้ปากบิ่นไปหน่อย เลยเสียโฉม. | เสี่ยง ๑ | น. ส่วนย่อยที่แตกออกจากส่วนใหญ่ เช่น เขาทำแจกันตกแตกเป็นหลายเสี่ยง. | หมาง | ก. กระดาก เช่น หมางกัน คือ กระดากกัน หมางหน้า คือ กระดากหน้า, อาการที่ห่างเหินกันเพราะขุ่นเคืองใจหรือผิดใจกันเป็นต้น เช่น คนคู่นี้แต่ก่อนก็ดูสนิทสนมกันดี แต่เดี๋ยวนี้ดูเขาหมางกันไป, หมาง ๆ ก็ว่า, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น บาดหมาง หมองหมาง หมางใจ. | หล็อน, หล็อน ๆ | ว. น้อยไป, เล็กไป, เช่น ของนี้หล็อนมือ, ไม่สมส่วน เช่น แจกันใบใหญ่ มีดอกไม้ปักอยู่ ๒-๓ ดอก ดูแล้วหล็อนตา | หักหลัง | ก. ร่วมใจกันมาก่อนแล้วกลับทำร้ายให้ในภายหลัง. | หันหลังชนกัน | ก. ร่วมมือร่วมใจกัน. |
| Vase-painting | จิตรกรรมบนแจกัน [TU Subject Heading] | Vases | แจกัน [TU Subject Heading] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Notes in Diplomatic Correspondence | หมายถึง หนังสือหรือจดหมายโต้ตอบทางการทูตระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต (Head of mission) กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศที่หัวหน้าคณะผู้ แทนทางการทูตนั้นประจำอยู่ หรือกับหัวหน้าผู้แทนทางการทูตอีกแห่งหนึ่ง หนังสือทางการทูตนี้ อาจใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 หรือบุรุษที่ 3 ก็ได้ หนังสือทางการทูตที่ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 มักจะเกี่ยวกับเรื่องที่มีความสำคัญหรือมีความละเอียดอ่อนกว่าหนังสืออีก ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Note Verbale หรือต้องการจะแทรกความรู้สึกส่วนตัวลงไปด้วย หนังสือนี้จะส่งจากหัวหน้า หรือผู้รักษาการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือไปถึงหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตอื่น ๆ ไม่เหมือนกับ Note Verbale กล่าวคือ หนังสือทางการทูตนี้จะต้องระบุสถานที่ตั้ง รวมทั้งลงชื่อของผู้ส่งด้วยตามปกติ ประโยคขึ้นต้นด้วยประโยคแรกในหนังสือจะใช้ข้อความว่า ?have the honour? นอกจากจะมีถึงอุปทูตซึ่งมีฐานะตำแหน่งต่ำกว่าอัครราชทูต ถ้อยคำลงท้ายของหนังสือทางการทูตจะมีรูปแบบเฉพาะ เช่น?Accept, Excellency (หรือ Sir), ในกรณีที่ผู้รับมีตำแหน่งเป็นอุปทูต (Charge d? Affaires) the assurances (หรือ renewed assurances ) of my highest (หรือ high ในกรณีที่เป็นอุปทูต ) consideration?หรือ ?I avail myself of this opportunity to express to your Excellency, the assurances ( หรือ renewed assurances) of my highest consideration ?ถ้อยคำที่ว่า ?renewed assurances ? นั้น จะใช้ก็ต่อเมื่อผู้ส่งหนังสือกับผู้รับหนังสือ ได้มีหนังสือติดต่อทางทูตกันมาก่อนแล้ว ส่วนถ้อยคำว่า ?high consideration ? โดยปกติจะใช้ในหนังสือที่มีไปยังอุปทูต ถ้อยคำ ?highest consideration ? จะใช้เมื่อมีไปถึงเอกอัครราชทูต และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ท้องถิ่นด้วย บางแห่งอาจนิยมใช้แตกต่างออกไป และก็จะเคารพปฏิบัติตามท้องถิ่นนั้น ๆ โดยมารยาทส่วนหนังสือที่เรียกว่า Note Verbale หรือ Third person note เป็นหนังสือทางการทูตที่ใช้บ่อยที่สุด หนังสือนี้จะขึ้นต้นด้วยประโยคดังต่อไปนี้?The Ambassador (หรือ The Embassy ) of Thailand presents his (หรือ its ) compliments to the Minster (หรือ Ministry ) of Foreign affairs and has the honour??หนังสือบุรุษที่สาม หรืออาจเรียกว่าหนังสือกลางนี้ ไม่ต้องบอกตำบลสถานที่ ( Address) และไม่ต้องลงชื่อ แต่บางทีในตอนลงท้ายของหนังสือกลางมักใช้คำว่า?The Ambassador avails himself of this opportunity to express to his Excellency the renewed assurances of his highest consideration?มีหนังสือทางการทูตอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า Collective note เป็นหนังสือที่หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลหลายประเทศรวมกันมีไปถึง รัฐบาลแห่งเดียว เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐบาลเหล่านั้นพร้อมใจกันที่จะร้องเรียน หรือต่อว่าร่วมกัน หัวหน้าคณะทูตทั้งหมดอาจร่วมกันลงนามในหนังสือนั้น หรือ อาจจะแยกกันส่งหนังสือซึ่งมีถ้อยคำอย่างเดียวกันไปถึงก็ได้ [การทูต] | Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] |
| แจกัน | [jaēkan] (n) EN: vase FR: vase [ m ] ; potiche [ f ] | แจกันดอกไม้ | [jaēkan døkmai] (x) EN: vase FR: vase à fleurs [ m ] | ผิดใจกัน | [phitjai kan] (v, exp) EN: be estranged ; be at loggerheads ; have a difference | พร้อมใจกัน | [phrømjai kan] (v, exp) EN: be united in action and spirit | พร้อมใจกัน | [phrømjai kan] (adv) EN: with one accord ; unanimously FR: d'un commun accord |
| esoteric | (adj) ซึ่งรู้กันเพียงไม่กี่คน, See also: ซึ่งเข้าใจกันในวงจำกัด, Syn. exclusive, intimate, private | gap | (n) ความแตกต่าง, See also: ความไม่เข้าใจกัน, ปัญหาที่เกิดจากความแตกต่างกัน, Syn. contrast, disagreement, Ant. accord | Many hands make light work. | (idm) งานสำเร็จได้หากร่วมแรงร่วมใจกันทำ | speak the same language | (idm) เข้าใจกัน | The penny dropped | (idm) หลังจากเวลาผ่านไปนิดหน่อย ทุกอย่างก็เป็นที่เข้าใจกัน | imbroglio | (n) ภาวะสับสนวุ่นวาย (โดยเฉพาะเมื่อเกิดความไม่เข้าใจกัน), See also: ภาวะวิกฤติ, สถานการณ์ลำบาก, Syn. confusion, crisis, difficulty | ledge | (n) แนวชั้นที่ทำยื่นจากผนัง (เช่นบริเวณหน้าต่างเพื่อวางแจกันดอกไม้), Syn. shelf, molding | mat | (n) ที่รอง (แก้ว, แจกัน, จานอาหาร, ตะเกียง ฯลฯ), See also: แผ่นรอง | vase | (n) แจกัน, See also: ขวด, กระถาง, ภาชนะทรงสูง, Syn. jar, pottery, urn |
| boughpot | (เบา'พอท) n. แจกันดอกไม้ขนาดใหญ่ | boycott | (บอย'คอท) { boycotted, boycotting, boycotts } vt. รวมหัวต่อต้าน, พร้อมใจกันตัดสัมพันธ์ไมตรีไม่ซื้อสินค้า/ไม่ส่งสินค้าหรืออื่น, See also: boycotter n. ดูboycott | freemasonry | (ฟรี'เมเซินรี) n. การร่วมสงเคราะห์ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน, ความเห็นอกเห็นใจกัน, ความสามัคคี | ic | abbr. infection control ไอซีย่อมาจากคำ integrated circuit (แปลว่า วงจรรวม, วงจรเบ็ดเสร็จ) เป็นวงจรที่สร้างขึ้นครบชุดด้วยเกล็ดซิลิคอน ประกอบเป็นชิ้นส่วนต่าง ๆ ของวงจร เช่น ทรานซิสเตอร์ (transistor) ไดโอดส์ (diodes) เชื่อมต่อเข้าด้วยกันเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ วงจรเบ็ดเสร็จชนิดนี้ใช้กันมากในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ในยุคต้น ๆ ใช้วงจรแยกชิ้นเป็นหลัก เหตุที่นิยมใช้วงจรเบ็ดเสร็จกันมาก ก็เพราะขนาดเล็กกว่า ราคาถูกกว่า ใช้กระแสไฟน้อยกว่า และสามารถปฏิบัติงานได้เร็วกว่า | integrated circuit | วงจรรวมวงจรเบ็ดเสร็จใช้ตัวย่อว่า IC (อ่านว่า ไอซี) เป็นวงจรที่สร้างขึ้นครบชุดด้วยเกล็ดซิลิคอน ประกอบเป็นชิ้นส่วนต่าง ๆ ของวงจร เช่น ทรานซิสเตอร์ (transistor) ไดโอดส์ (diodes) เชื่อมต่อเข้าด้วยกันเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ วงจรเบ็ดเสร็จชนิดนี้ใช้กันมากในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ในยุคต้น ๆ ใช้วงจรแยกชิ้นเป็นหลัก เหตุที่นิยมใช้วงจรเบ็ดเสร็จกันมาก ก็เพราะขนาดเล็กกว่า ราคาถูกกว่า ใช้กระแสไฟน้อยกว่า และสามารถปฏิบัติงานได้เร็วกว่า | mat | (แมท) n. พรมเช็ดเท้า, เสื่อ, ที่รองจานอาหาร (หรือตะเกียง แจกันหรืออื่น ๆ) , พรมปูพื้น. vt. ปูพรม, ปูเสื่อ, ทำเป็นเสื่อหรือพรม. vi. พัวพัน, ยุ่งเกี่ยว- adj. ด้าน, ไม่เป็นเงา, n. ผิวหน้าที่ด้าน เอ็มเอที <คำอ่าน>ย่อมาจาก machine aided translation (การแปลใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ รวมทั้งบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ | network hose | สายเชื่อมเครือข่ายหมายถึง สายเคเบิลที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายเดียวกัน เนื่องจากสายเคเบิลนี้บางกว่าเส้นลวด จึงไม่เรียกว่าเส้นลวด (wire) หรือสายไฟอย่างที่เข้าใจกัน | pseudo code | รหัสเทียมรหัสลำลองหมายถึง การเขียนโปรแกรมโดยไม่ต้องคำนึงถึงไวยากรณ์ แต่เป็นภาษาที่นักเขียนโปรแกรมเข้าใจกันได้ มีลักษณะเป็นภาษาอังกฤษธรรมดาส่วนหนึ่ง เป็นภาษาทำโปรแกรม (programming language) อีกส่วนหนึ่งดู programming language ประกอบ | retentive | (รีเทน'ทิฟว) adj. ซึ่งสงวนไว้, ซึ่งรักษาไว้, ซึ่งกักกัน, มีอำนาจกันไว้, มีความทรงจำดี, สามารถเก็บไว้ได้ดี, See also: retentiveness n. | vase | (ฺBritish:วาซ, Ameri.:เวส, เวซ) n. แจกัน, ขวด, ภาชนะกลวง, โถ, กระถาง., Syn. pot, urn |
| confederacy | (n) การร่วมมือกัน, ความร่วมใจกัน, สัญญาร่วม | confederate | (adj) ร่วมมือกัน, ร่วมใจกัน, ช่วยกัน, รวมกลุ่มกัน | confederate | (vi) ร่วมมือกัน, ร่วมใจกัน, ช่วยกัน, รวมกลุ่ม | plinth | (n) ฐานเสาหิน, เชิง, ฐานแจกัน | spat | (vi) ทะเลาะวิวาทกัน, ขัดใจกัน, ตบตีกัน | the | (adv) ถึงเพียงนั้น, ในกรณีนั้น, ที่เข้าใจกันแล้ว | vase | (n) แจกัน, โถ, ขวด, กระถาง |
| つんでれ;ツンデレ | [つんでれ, tsundere] (adj) อาการที่แสดงออกทางบุคลิกภาพทีแรกเป็นแบบ เย็นชา หรือกระทั่ง โหดร้าย (คือคำว่า ツンツン tsun tsun) ต่อใครคนหนึ่ง แต่ภายหลังก็เปลี่ยนเป็นอ่อนโยน (คือคำว่า デレデレdere dere) เป็นคำที่เริ่มแรกใช้ในการ์ตูน, anime ในประเทศญี่ปุ่น ก่อนจะขยายวงกว้างเป็นที่เข้าใจกันแพร่หลายมากขึ้น | 専心する | [せんしんする, senshinsuru] (vi) พร้อมใจกันทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง |
| 花瓶 | [かびん, kabin] (n) แจกัน | 床の間 | [とこのま, tokonoma] เป็นส่วนที่ยกพื้นห้องขึ้นสูงมุมหนึ่งในห้องแบบญี่ปุ่น ประดับด้วยแจกันดอกไม้ และภาพแขวนฝาผนัง |
| sich verstehen mit (+D) | (vt) เข้าใจกันดีกับ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับ เช่น Je länger desto besser verstehe ich mich mit ihm. |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |