ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: จริย, -จริย- |
จริยธรรม | (n) morality, See also: ethical behaviour, ethical behavior, goodness, Syn. ศีลธรรม, กฎศีลธรรม, Example: ประชาชนให้ความสำคัญต่อจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง, Thai Definition: ธรรมที่เป็นข้อประพฤตปฏิบัติ | จริยศึกษา | (n) moral education, See also: ethical education, Syn. วิชาศีลธรรม, Example: เด็กๆ ควรได้รับความรู้เรื่องจริยศึกษาเพื่อจะได้ปฏิบัติตนให้เป็นคนดีของสังคมได้, Thai Definition: การศึกษาเกี่ยวกับความเจริญงอกงามในทางความประพฤติ และการปฏิบัติตนเพื่อให้อยู่ในแนวทางของศีลธรรมและวัฒนธรรม | ธรรมจริยา | (n) observance of righteousness, See also: religious life, Syn. ธรรมจรณะ, ธรรมจรรยา, ธัมมจริยา, Ant. อธรรมจริยา, Example: พระภิกษุรูปนี้ท่านมีธรรมจริยาน่าเลื่อมใส, Thai Definition: การประพฤติเป็นธรรม, การประพฤติถูกธรรม, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | จริยศาสตร์ | (n) ethics, See also: moral principles, Example: จากการที่ได้มีโอกาสไปสอนวิชาจริยศาสตร์ที่โรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่ง ทำให้อาจารย์เกิดความสนใจทางด้านปรัชญา, Thai Definition: ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยความประพฤติและการครองชีวิตว่า อะไรดีอะไรชั่ว อะไรถูกอะไรผิด หรืออะไรควรอะไรไม่ควร | อาจริยวัตร | (n) proper behavior toward teachers, Thai Definition: กิจที่ควรประพฤติปฏิบัติต่ออาจารย์ |
|
| จริย- | (จะริยะ-) น. ความประพฤติ, กิริยาที่ควรประพฤติ, ใช้ในคำสมาส เช่น จริยศึกษา. | จริยธรรม | น. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ, ศีลธรรม, กฎศีลธรรม. | จริยวัตร, จริยาวัตร | น. หน้าที่ที่พึงประพฤติปฏิบัติ | จริยวัตร, จริยาวัตร | ความประพฤติ ท่วงทีวาจา และกิริยามารยาท. | จริยศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม. | จริยศึกษา | น. การศึกษาเกี่ยวกับความเจริญงอกงามในทางความประพฤติและการปฏิบัติตน เพื่อให้อยู่ในแนวทางของศีลธรรมและวัฒนธรรม. | จริยา | (จะ-) น. ความประพฤติ, กิริยาที่ควรประพฤติ, ใช้ในคำสมาส เช่น ธรรมจริยา. | จริยาปิฎก | น. ชื่อคัมภีร์ที่ว่าด้วยการบำเพ็ญบารมีของพระพุทธเจ้าในชาติที่ล่วงแล้ว รวมอยู่ในขุทกนิกายแห่งสุตตันตปิฎก. | ธรรมจริยา | น. การประพฤติเป็นธรรม, การประพฤติถูกธรรม. | ปรัตถจริยา | (ปะรัดถะจะริ-) น. ความประพฤติให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น. | มิจฉาจริยา | น. การประพฤติผิด. | โลกัตถจริยา | (โลกัดถะจะ-) น. ความประพฤติเป็นประโยชน์แก่โลก. | โลกัตถจริยา | ดู โลก, โลก-. | สัมมาจริยา | น. การประพฤติชอบ. | อัตถจริยา | น. การประพฤติประโยชน์, เป็นธรรมข้อ ๑ ในสังคหวัตถุ. (ป.). (ดู สังคหวัตถุ). | อาจริย- | (-จะริยะ-) น. อาจารย์. | อาจริยวัตร | น. กิจที่ควรประพฤติต่ออาจารย์. | อาจริยวาท | น. ลัทธิที่ถือตามคติที่อาจารย์ได้สั่งสอนสืบ ๆ กันมา, มหายาน หรือ อุตรนิกาย ก็ว่า. | ทศพิธราชธรรม | น. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน–การให้ ๒. ศีล–การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค–ความเสียสละ ๔. อาชชวะ–ความซื่อตรง ๕. มัททวะ–ความอ่อนโยน ๖. ตบะ–การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ–ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา–ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ–ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ–ความไม่คลาดจากธรรม. | ปาติโมกข์ | น. คัมภีร์ว่าด้วยวินัยของสงฆ์ ๒๒๗ ข้อ, ชื่อบาลีที่ประมวลพุทธบัญญัติอันทรงตั้งขึ้นเป็นพุทธอาณา ได้แก่ อาทิพรหมจริยกาสิกขา มีพระพุทธานุญาตให้สวดในที่ประชุมสงฆ์ทุกวันอุโบสถ. | มหายาน | น. ชื่อนิกายในพระพุทธศาสนาฝ่ายเหนือที่นับถือกันในทิเบต จีน ญี่ปุ่น เกาหลี และญวน เป็นต้น, อาจริยวาท ก็ว่า. | ราชธรรม | น. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง เรียกว่า ทศพิธราชธรรม มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน–การให้ ๒. ศีล–การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค–ความเสียสละ ๔. อาชชวะ–ความซื่อตรง ๕. มัททวะ–ความอ่อนโยน ๖. ตบะ–การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ–ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา–ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ–ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ–ความไม่คลาดจากธรรม. | วัตร, วัตร- | ความประพฤติ เช่น พระราชจริยวัตร, การปฏิบัติ เช่น ธุดงควัตร อุปัชฌายวัตร, การจำศีล. | สังคหวัตถุ | น. ธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจบุคคลและประสานหมู่ชนไว้ในความสามัคคี ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา. |
| | Bioethic | ชีวจริยศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Ethics | จริยศาสตร์ [เศรษฐศาสตร์] | Work ethic | จริยธรรมในการทำงาน [TU Subject Heading] | Bioethics | ชีวจริยธรรม [TU Subject Heading] | Buddhist ethics | พุทธจริยธรรม [TU Subject Heading] | Christian ethics | คริสตจริยธรรม [TU Subject Heading] | Compromise (Ethics) | การประนีประนอม (จริยธรรม) [TU Subject Heading] | Environmental ethics | จริยธรรมทางสิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] | Ethical problems | ปัญหาทางจริยธรรม [TU Subject Heading] | Ethics | จริยธรรม [TU Subject Heading] | Ethics, Oriental | จริยธรรมตะวันออก [TU Subject Heading] | Islamic ethics | จริยธรรมอิสลาม [TU Subject Heading] | Law and ethics | กฎหมายกับจริยธรรม [TU Subject Heading] | Moral development | พัฒนาการด้านจริยธรรม [TU Subject Heading] | Moral education | จริยศึกษา [TU Subject Heading] | Moral education (Elementary) | จริยศึกษา (ประถมศึกษา) [TU Subject Heading] | Political ethics | จริยธรรมทางการเมือง [TU Subject Heading] | Religion and ethics | ศาสนากับจริยธรรม [TU Subject Heading] | Sexual ethics | จริยธรรมทางเพศ [TU Subject Heading] | Social ethics | จริยธรรมทางสังคม [TU Subject Heading] | Student ethics | จริยธรรมของนักเรียน [TU Subject Heading] | Young Ambassador of Virtue | ยุวทูตความดี " เป็นโครงการของกระทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับกระทรวงศึกษา- ธิการ เริ่มโครงการตั้งวันที่ 5 ธันวาคม 2542 เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม จริยธรรมและคุณธรรมในบรรดาเยาวชนไทย อันเป็นการเสริมคุณภาพของเยาวชนไทยให้มีครบทั้งความเก่ง ความดี และมีความสุข โดยหวังผลในที่สุดว่าคุณภาพของเยาวชนรุ่นใหม่ของไทยจะเป็นการเสริมสร้างพื้น ฐานความแข็งแกร่งแก่สังคมไทยและส่งเสริมให้ความสามารถในการแข่งขันของไทยใน โลกอนาคตมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในยุคโลกา- ภิวัฒน์ นอกจากการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีความรู้คู่คุณธรรมแล้ว โครงการยุวทูตความดียังส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนไทยและเยาวชนของ ประเทศต่าง ๆ โดยผ่านทางโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง (Sister schools - โรงเรียนในประเทศที่ต่างกันที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน) " [การทูต] | Bioethics | ชีวจริยธรรม, ชีวจริยธรรม การศึกษาด้านจริยธรรมที่เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ความรู้และความก้าวหน้าจากการค้นพบใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพและแพทยศาสตร์ โดยเฉพาะทีเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การสืบพันธุ์ (Re-productive Science) เป็นสาขาที่ได้รับความสนใจมากตั้งแต่ทศวรรษที่ 1970, Example: ประเด็นตัวอย่างของเรื่องที่ชีวจริยธรรมเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย เช่น การทำแท้ง การรุณยฆาต (Euthanasia) หรือ การจบชีวิตผู้ป่วยที่ทุกข์ทรมานจากโรคร้าย โดยเฉพาะโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ การผสมเทียมเด็กหลอดแก้ว การผ่าตัดเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ และเสต็มเซลล์ เป็นต้น [เทคโนโลยีชีวภาพ] | Ethical Problems | ปัญหาทางด้านจริยธรรม [การแพทย์] | Ethics | จริยธรรม, จรรยาบรรณ [การแพทย์] | Thical Legal and Social Implication of Science and Technology | Thical Legal and Social Implication of Science and Technology , การศึกษาผลกระทบทางจริยธรรม กฎหมาย และสังคม ที่เกิดจากวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [ชีวจริยธรรม] | technology selection | การเลือกใช้เทคโนโลยี, การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ หรือวิธีการที่มีอยู่รอบตัวมนุษย์โดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกโดยคำนึงถึงคุณธรรม จริยธรรม และผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Moral Development | พัฒนาการด้านจริยธรรม, การพัฒนาทางจริยธรรม [การแพทย์] | Morals | ธรรมจริยา, ศีลธรรม [การแพทย์] |
| ชีวจริยธรรม | [chīwajariyatham] (n, exp) EN: bioethics FR: bioéthique [ f ] ; éthique biologique [ m ] | ด้านจริยธรรม | [dān jariyatham] (adj) EN: ethical FR: éthique | จริย | [jariya] (n) EN: ethics ; moral principles FR: éthique [ f ] ; principe moral [ m ] | จริยา | [jariyā] (n) EN: conduct ; behaviour = behavior (am.) ; morals ; morality FR: conduite [ f ] ; comportement [ m ] ; moralité [ f ] | จริยศาสตร์ | [jariyasāt] (v) EN: ethics ; moral philosophy FR: éthique [ f ] ; morale [ f ] | จริยศาสตร์สภาวะแวดล้อม | [jariyasāt saphāwa waētløm] (n, exp) EN: environmental ethics | จริยศาสตร์ธุรกิจ | [jariyasāt thurakit] (n, exp) EN: business ethics FR: éthique des affaires [ f ] | จริยศึกษา | [jariyaseuksā] (n) EN: moral education ; ethical education FR: éducation morale [ f ] | จริยธรรม | [jariyatham] (n) EN: morality ; ethical behaviour ; ethic ; ethics ; goodness FR: éthique [ f ] ; moralité [ f ] | จริยธรรมทางธุรกิจ | [jariyatham thāng thurakit] (n, exp) EN: business ethics FR: éthique des affaires [ f ] | ค่านิยมด้านจริยธรรม | [khāniyom dān jariyatham] (n, exp) EN: moral values | ความฉลาดทางจริยธรรม | [khwām chalāt thāng jariyatham] (n, exp) EN: moral quotient ; MQ | ความกล้าหาญทางจริยธรรม | [khwām klāhān thāng jariyatham] (n, exp) EN: moral courage | หลักธรรมจริยา | [laktham jariyā] (n, exp) EN: morality | ในเชิงจริยธรรม | [nai choēng jariyatham] (adj) EN: ethical FR: éthique |
| ethic | (n) หลักจรรยา, See also: หลักจริยธรรม, Syn. morals, principle | ethical | (adj) ตามหลักจรรยา, See also: ตามหลักจริยธรรม, Syn. moral, principled | ethics | (n) จริยศาสตร์, See also: จริยธรรม, ธรรมจริยา, หลักศีลธรรม | piety | (n) การปฏิบัติตามความเชื่อทางศาสนา, See also: ธรรมจริยา |
| casuist | (แคซ'ซูอิสทฺ) n. เจ้าคารม, เจ้าโวหาร, ผู้ศึกษาและถือหลักธรรมจริยา, ผู้ตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะอย่าง | casuistic | (แคซซูอิส'ทิค, -คัล) adj. เจ้าคารม, เล่นสำนวนโวหาร -n.เกี่ยวกับการใช้หลักธรรมจริยา, ซึ่งตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะ | casuistical | (แคซซูอิส'ทิค, -คัล) adj. เจ้าคารม, เล่นสำนวนโวหาร -n.เกี่ยวกับการใช้หลักธรรมจริยา, ซึ่งตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะ | deontology | (ดีออนทอล'โลจี) n. จริยศาสตร์, หลักจรรยา | ethic | (เอธ'ธิค) n. หลักจริยธรรม. -adj ดู ethical | ethical | (เอธ'ธิเคิล) adj. (เกี่ยวกับ) หลักจริยธรรม, ศีลธรรม, ยาที่ขายโดยใบสั่งแพทย์เท่านั้น., See also: ethicalness n. ดูethical ethicality n. ดูethical, Syn. moral, Ant. immoral | ethics | (เอธ'ธิคซฺ) n. จริยศาสตร์, จริยธรรม, วิชาศีลธรรม, ธรรมะ., See also: ethician n. ดูthics ethician n. ดูthics ethicist n. ดูthics | moral | (มอ'เริล, โม'เริล) adj. เกี่ยวกับศีลธรรม, เกี่ยวกับจรรยา, เกี่ยวกับความรู้สึกผิดชอบ, บริสุทธิ์, เกี่ยวกับจิตใจ, ขึ้นอยู่กับการสังเกต. n. หลักศีลธรรม, หลักธรรมจริยา, See also: morals n. หลักความประพฤติ, Syn. ethical | philosophy | (ฟิลอส'ซะฟี) n. ปรัชญา, ระบบปรัชญา, หลักปรัชญา, ระบบหลักการ, สาขาวิชาทั้งหมด (ยกเว้นแพทยศาสตร์, วิชากฎหมาย และศาสนศาสตร์) , ธรรมะ, วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ, จริยศาสตร์, ความรักวิชาอย่างคลั่งไคล้ | virtuous | (เวอ'ชุเอิส) adj. เกี่ยวกับหลักศีลธรรมและจริยธรรม, เที่ยงตรง, ถูกต้อง, บริสุทธิ์, สามารถทำให้เกิดผลได้., See also: virtuously adv. |
| ethical | (adj) มีจรรยา, ตามหลักจริยธรรม, เกี่ยวกับศีลธรรม | ethics | (n) จรรยา, จริยธรรม, ธรรมะ, ศีลธรรม, จริยศาสตร์ | philosophy | (n) ปรัชญา, จริยศาสตร์, ธรรมะ |
| | 政治倫理 | [せいじりんり, seijirinri] จริยธรรมทางการเมือง |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |