ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ทำที, -ทำที- |
กุศล | (n, adj, adv) การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา |
| ทำที | (v) deceive, See also: pretend, feign, Syn. หลอก, ลวง, Example: ผู้ร้ายทำทีเหมือนจะบอกความจริงแก่ตำรวจ, Thai Definition: แสดงกิริยาหรืออาการให้ผู้อื่นสำคัญผิด |
|
| ทำที | ก. แสดงกิริยาหรืออาการให้ผู้อื่นสำคัญผิด. | กฎศีลธรรม | น. กฎว่าด้วยการกระทำที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องทางศีลธรรม. | กฎหมายอาญา | น. กฎหมายที่กำหนดลักษณะของการกระทำที่ถือว่าเป็นความผิด และกำหนดบทลงโทษทางอาญาสำหรับความผิดนั้น. | กรรม ๑, กรรม- ๑ | การกระทำที่ส่งผลร้ายมายังปัจจุบัน หรือซึ่งจะส่งผลร้ายต่อไปในอนาคต เช่น บัดนี้กรรมตามทันแล้ว ระวังกรรมจะตามทันนะ. | กรรมเวร | (กำเวน) น. การกระทำที่สนองผลร้ายซึ่งทำไว้แต่ปางก่อน, เวรกรรม ก็ว่า | กรุย ๒ | (กฺรุย) ว. ทำทีท่าเจ้าชู้ เช่น ห่มเพลาะกรูมกรอกรุยฉุยเฉิดฉัน (มณีพิชัย). | กรุยกราย | (-กฺราย) ว. อาการที่เดินทำทีท่าเจ้าชู้ | การบ้าน | น. งานที่ครูกำหนดให้นักเรียนไปทำที่บ้าน, งานที่เกี่ยวกับบ้าน, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น การบ้านการเมือง การบ้านการเรือน. | ขัดห้าง | ก. ทำที่พักบนต้นไม้ในป่าชั่วคราวสำหรับคอยเฝ้าดูเหตุการณ์หรือดักยิงสัตว์เป็นต้น. | คดีอาญา | น. คดีที่เกี่ยวกับการกระทำที่กฎหมายบัญญัติว่า เป็นความผิดและมีโทษทางอาญา. | ค่าสินไหมทดแทน | น. สิ่งที่ให้หรือการกระทำที่ทำ เพื่อชดใช้หรือทดแทนความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ทรัพย์สินหรือแก่บุคคลอันเนื่องมาจากการละเมิดหรือการผิดสัญญา รวมทั้งการคืนทรัพย์สินให้แก่ผู้เสียหายด้วย. | นิรโทษกรรม | (นิระโทดสะกำ) น. ในทางแพ่ง หมายถึง การกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น แต่กฎหมายยกเว้นให้ ไม่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เช่น การกระทำการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย การกระทำตามคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมาย | ประเจิดประเจ้อ | ว. อาการกระทำที่ถือกันว่าน่าละอายหรือไม่บังควรให้คนอื่นเห็น. | ปริยาย | เจตนากระทำที่มิได้แสดงออกอย่างชัดแจ้งแต่อนุมานได้จากพฤติกรรมที่แสดงออก. | ปลูก | เอาสิ่งต่าง ๆ มาปรุงกันเข้าเพื่อทำเป็นที่อยู่หรือที่พักอาศัยโดยวิธีฝังเสาลงในดิน เช่น ปลูกบ้าน ปลูกเรือน, ปลูกสร้าง ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึง การกระทำที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปลูกพลับพลายก. | ปึ่ง ๑ | ทำทีเฉยแสดงอาการคล้ายกับโกรธ, ปึ่งชา ก็ว่า. | ปึ่งชา | ว. ทำทีเฉยแสดงอาการคล้ายกับโกรธ, วางท่าเฉยเมยอย่างไว้ยศ, เช่น เมียเจ้ารูปทองสิบสองหนัก ยศศักดิ์ปึ่งชาหาน้อยไม่ (สังข์ทอง), ปึ่ง ก็ว่า. | พายุบุแคม | น. พายุที่กระหน่ำตีเข้ามาอย่างเร็วและแรง, โดยปริยายใช้เปรียบกับการกระทำที่เร็วและแรง เช่น เขาเป็นคนใจร้อน ขับรถอย่างกับพายุบุแคม | ยมกปาฏิหาริย์ | น. ปาฏิหาริย์ที่แสดงเป็นคู่ ๆ เป็นปาฏิหาริย์ที่พระพุทธเจ้าทรงกระทำที่ต้นมะม่วงซึ่งเรียกว่าคัณฑามพพฤกษ์ คือ ทรงบันดาลท่อนํ้าท่อไฟออกจากส่วนของพระกายเป็นคู่ ๆ กัน. | ลักเลียม | ก. ทำทีเล่นทีจริงพอเจ้าของเผลอก็ขโมยเอาไว้. | เล่นการพนัน | ก. ลักษณะการกระทำที่เสี่ยงต่อการแพ้ชนะหรือได้เสียโดยใช้เงินเป็นต้นเป็นเดิมพัน เช่นในการเล่นไพ่เล่นม้า. | เล่นขายของ | ก. ลักษณะการกระทำที่ไม่ถูกหลักเกณฑ์ ไม่จริงไม่จังเหมือนทำเล่น ๆ (มักใช้เป็นเชิงเปรียบเทียบ) เช่น ทำขนมขายนิด ๆ หน่อย ๆ เหมือนกับเด็กเล่นขายของ. | วัวพันหลัก | ว. อาการที่วกหรือย้อนกลับไปหาจุดเริ่มต้น เช่น ให้การเป็นวัวพันหลัก, ลักษณะที่วกหรือย้อนกลับไปหาบุคคลที่เป็นต้นตอผู้รับผิดชอบ (มักใช้ในทางชู้สาว) มาจากสำนวนเต็มว่า แม่สื่อแม่ชัก ไม่ได้เจ้าตัว เอาวัวพันหลัก หมายความว่า ชายที่ใช้แม่สื่อไปติดต่อหญิงที่ตนชอบ แล้วไม่ได้ตัวหญิงคนนั้น เลยเอาแม่สื่อนั้นเองเป็นภรรยา หรือผู้หญิงทำทีรับอาสาไปติดต่อหญิงคนใดคนหนึ่งให้แก่ชาย แต่ในที่สุดก็เอาตัวเองเข้าพัวพันจนได้ชายคนนั้นเป็นสามี. | วางปึ่ง | ทำทีเฉยแสดงอาการคล้ายกับโกรธ. | วีรกรรม | น. การกระทำที่ได้รับยกย่องว่าเป็นความกล้าหาญ, การกระทำของผู้กล้าหาญ. | เวรกรรม | (เวนกำ) น. การกระทำที่สนองผลร้ายซึ่งทำไว้แต่ปางก่อน | หนอนบ่อนไส้ | น. ฝ่ายตรงข้ามที่เข้ามาทำทีเป็นพวกเพื่อบ่อนทำลาย. | เหยียบเรือสองแคม | ก. ทำทีเข้าด้วยทั้ง ๒ ฝ่าย. | อันตกะ | (อันตะกะ) น. “ผู้ทำที่สุด” หมายถึง ความตาย คือ พระยม. | เอื้อนอรรถ, เอื้อนเอ่ย, เอื้อนโอฐ ๒ | ก. ออกปากพูด, พูดข้อความออกมา, มักใช้แก่กิริยาที่ทำทีอิดเอื้อนไม่ใคร่พูดออกมาง่าย ๆ. | ฮัจญ์ | น. พิธีปฏิบัติศาสนกิจที่สำคัญในศาสนาอิสลาม ซึ่งจะต้องกระทำที่นครมักกะฮ์ (เมกกะ) ประเทศซาอุดีอาระเบียปัจจุบัน, เขียนเป็น หัจญ์ ก็มี. |
| legal fraud | การกระทำที่ถือเป็นการฉ้อฉล [ ดู constructive fraud ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | reasonable act | การกระทำที่สมควรแก่เหตุ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | self-incrimination | การกระทำที่อาจทำให้ตนต้องรับผิดทางอาญา, คำให้การที่อาจทำให้ตนต้องรับผิดทางอาญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | act of bankruptcy | การกระทำที่เป็นเหตุให้ฟ้องล้มละลาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | justifiable act | ๑. นิรโทษกรรม๒. การกระทำที่กฎหมายยกเว้นความรับผิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | misfeasance | การกระทำที่ไม่ถูกต้อง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | misfeasance | การกระทำที่ไม่ถูกต้อง, การกระทำที่ไม่สมควร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | mere motion; ex mero motu (L.) | การกระทำตามที่ศาลเห็นสมควร, การกระทำที่ตนเองริเริ่ม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | mala in se | การกระทำที่ผิดในตัวเอง, การกระทำที่ผิดศีลธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | mala prohibita | การกระทำที่กฎหมายถือว่าเป็นความผิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constructive fraud | การกระทำที่ถือเป็นการฉ้อฉล [ ดู legal fraud ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | consideration, illegal | การกระทำที่จะมีผลเป็นการผิดกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | disavow | ปฏิเสธ, ไม่ยอมรับ (การกระทำที่ไม่ได้รับมอบหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | fraud, legal | การกระทำที่ถือเป็นการฉ้อฉล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | fatal injury | การกระทำที่เป็นเหตุให้ถึงตาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ex mero motu (L.) | การกระทำตามที่ศาลเห็นสมควร, การกระทำที่ตนเองริเริ่ม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | incrimination, self- | การกระทำที่อาจทำให้ตนต้องรับผิดทางอาญา, คำให้การที่อาจทำให้ตนต้องรับผิดทางอาญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | immoral act | การกระทำที่ผิดศีลธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | illegal consideration | การกระทำที่จะมีผลเป็นการผิดกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | tortious act | การกระทำที่เป็นละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | wrong | การกระทำผิด, การกระทำที่มิชอบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | wanton act | การกระทำที่ขาดความยับยั้ง, การกระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| เมรุพระบุพโพ | เมรุขนาดน้อย สำหรับถวายพระเพลิงพระบุพโพ (น้ำเหลือง) ส่วนใหญ่จะทำที่วัดมหาธาตุ ฯลฯ [ศัพท์พระราชพิธี] | หัวเกรียน | ใช้เรียกการกระทำที่ดูไร้สาระ ทำแล้วไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์อะไรขึ้นมา หรือใช้เรียก พวกที่ก่อกวนคนอื่นหรือทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน [ศัพท์วัยรุ่น] | Home labor | ผู้รับงานไปทำที่บ้าน [TU Subject Heading] | Self-incrimination | การกระทำที่อาจทำให้ตนต้องรับผิดทางอาญา [TU Subject Heading] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Diplomatic Expressions | ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต] | Duration of Diplomatic Privileges and Immunities | ระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน? [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Inter-Governmental Maritime Consultative Organization | องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ [การทูต] | Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunities | บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต] | Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] | reprisal | การตอบโต้การกระทำของรัฐอื่นซึ่งเป็นความผิดในทาง กฎหมายระหว่างประเทศ กล่าวคือเป็นการตอบโต้การกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เช่นกัน [การทูต] | sanction | การคว่ำบาตร (ในกรอบสหประชาชาติ) " หมายถึง มาตรการลงโทษที่คณะมนตรีความมั่นคง ใช้ต่อประเทศสมาชิกที่มีการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ รวมทั้งเป็นภัยต่อสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศโดยการจำกัด หรือห้ามประเทศสมาชิกอื่น ๆ ติดต่อในด้านต่าง ๆ (เช่น ด้านการค้า การคมนาคมขนส่ง) อย่างเป็นทางการกับประเทศนั้น ๆ เพื่อบีบบังคับให้มีการปฏิบัติตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคง มาตรการห้ามการ ติดต่อเหล่านี้ บางครั้งเรียกว่า ปิดล้อม (embargo) เช่น ปิดล้อมด้านอาวุธ ปิดล้อมด้านการค้า เป็นต้น " [การทูต] | Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] | United Nations Emergency Force | กองกำลังฉุกเฉินของสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 สมัชชาแห่งสหประชาชาติได้ขอรัองให้เลขาธิการสหประชาชาติเสนอแผนการภายใน 48 ชั่วโมง เพื่อจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติของสหประชาชาติ โดยได้รับอนุมัติจากชาติที่เกี่ยวข้อง ให้ทำหน้าที่ยุติและควบคุมดูแลการหยุดรบในประเทศอียิปต์ วันรุ่งขึ้น คือ วันที่ 5 พฤศจิกายน สมัชชาก็ได้ลงมติให้จัดตั้งกองบัญชาการแห่งสหประชาชาติขึ้นปรากฏว่า ผู้แทนของสหภาพโซเวียตได้กล่าวอ้างว่า การจัดตั้งกองกำลังดังกล่าวเป็นการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ โดยยกบทที่ 7 ของกฎบัตรขึ้นมาอ้างว่า คณะมนตรีความมั่นคงองค์กรเดียวเท่านั้น ที่กฎบัตรให้อำนาจจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติได้ ด้วยเหตุนี้ สหภาพโซเวียตและอีกบางประเทศจึงแถลงว่า จะไม่ยอมมีส่วนร่วมในการออกเงินค่าใช้จ่ายสำหรับกองกำลังดังกล่าวโดยเด็ดขาด พึงสังเกตว่า การที่สหภาพโซเวียตอ้างยืนยันว่า คณะมนตรีความมั่นคงเท่านั้นที่กฎบัตรสหประชาชาติให้อำนาจตั้งกองกำลังสห ประชาชาติได้ ก็เพราะหากยินยอมตามข้ออ้างของสหภาพโซเวียตดังกล่าว จะไม่มีทางจัดตั้งกองกำลังขึ้นได้เลย เพราะสหภาพโซเวียตจะใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคงอย่างไม่ต้องสงสัย [การทูต] | Unfriendly Act | การกระทำที่ไม่เป็นมิตร กล่าวคือ เมื่อรัฐหนึ่งประกาศว่า จะถือว่าการปฏิบัติบางอย่างของอีกประเทศหนึ่งเป็นการกระทำที่ไม่เป็นมิตร นั่นหมายความว่า เป็นการเตือนว่าการกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ [การทูต] | War Crimes | อาชญากรรมสงคราม ตามกฎบัตรต่อท้ายความตกลงว่าด้วยการพิจารณาลงโทษ อาชญากรสางคามที่สำคัญ ๆ ของฝ่ายอักษะยุโรป (European Axis) การกระทำต่อไปนี้ถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามคือ การละเมิดกฎหมายหรือประเพณีของการสงคราม เช่น การฆ่า การปฏิบัติอันโหดร้าย หรือการขับคนไปทำงานเยี่ยงทาส หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใด ซึ่งกระทำต่อราษฎรพลเรือนของดินแดนที่ถูกยึดครอง การฆ่าหรือปฏิบัติอย่างโหดร้ายต่อเชลยศึกหรือบุคคลในท้องทะเล การฆ่าตัวประกัน การปล้นสะดมทรัพย์สินสาธารณะหรือส่วนบุคคล การทำลายล้างตัวเมืองหรือหมู่บ้าน ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่จำเป็นในแง่การทหาร [การทูต] | betatron | เครื่องบีตาตรอน, เป็นเครื่องเร่งอิเล็กตรอนแบบหนึ่ง โดยที่อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นวงกลมที่มีรัศมีคงที่ โดยใช้แรงกระทำที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก เครื่องเร่งที่มีลักษณะเป็นรูปโดนัท รัศมีวงจรประมาณ 0.75-1.00 เมตร เครื่องนี้สามารถเร่งอิเล็กตรอนให้มีพลังงานสูงถึง 340 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ บีตาตรอนเครื่องแรกสร้างโดย Donald W. Kerst ในปี พ.ศ.2483 ที่มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ (University of Illinois) ประเทศสหรัฐอเมริกา เร่งอิเล็กตรอนให้มีพลังงาน 2.5 ล้านอิเล็กตรอน [พลังงาน] | Externality, Negative | การกระทำที่มีผลภายนอกเป็นลบ [การแพทย์] | reflex action | รีเฟล็กซ์แอกชัน, การกระทำที่อยู่นอกอำนาจจิตใจที่ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายตอบสนองในทันทีทันใดต่อสิ่งเร้า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | work safety | ความปลอดภัยในการทำงาน, การทำงานเพื่อสร้างชิ้นงานอย่างปลอดภัย โดยเลือกใช้อุปกรณ์และเครื่องมือให้เหมาะสมกับประเภทและลักษณะการใช้งาน รวมถึงการจัดเก็บอุปกรณ์อย่างเหมาะสม ปฏิบัติงานอย่างระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการกระทำที่อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุและความเสียหาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| If you follow inter-subjectivity to its natural end aren't you asking who's the patient and who's the doctor? | ถ้าคุณติดตามผู้กระทำที่มากกว่า 1 ถึง การลงเอยแบบธรรมชาติ... คุณจะไม่ถามเหรอว่าใครคือคนไข้ และใครคือหมอ? Basic Instinct (1992) | Remember, our biggest asset in an emergency is calm, clear thinking. | ส่วนชั้นเคยทำที่ฝ่ายศิลปวัฒนธรรมที่ 'Old Korea Daily' ชื่อนากายอนค่า เอาล่ะ งั้นก้อตั้งใจทำงานล่ะ Hero (1992) | And I'm going to buy some cowboy boots... and I'm going to make this place a ranch. | ซื้อรองเท้าบู๊ต และอยากทำที่นี่ให้เป็นฟาร์ม The Lawnmower Man (1992) | Where will his actions lead us then | เค้าจะทำที่ไหน พาเราไปด้วย The Nightmare Before Christmas (1993) | But I saw the FBI as a place where I could distinguish myself. | อืม... . พ่อแม่ฉัน ยังคงคิดว่า เป็นการกระทำที่รั้นจริงๆ Deep Throat (1993) | And without a job, a residence or legal tender, that's what you're gonna be, man. | และไม่มีงานทำที่อยู่อาศัยหรือตามกฎหมายว่าเป็นสิ่งที่คุณจะเป็นผู้ชายคนหนึ่ง Pulp Fiction (1994) | Don't lose the address. | "อย่าทำที่อยู่หายล่ะ Wild Reeds (1994) | Did you tell him what I'm doing here? | คุณไม่ได้บอกเขาว่าสิ่งที่ฉันทำที่นี่? The Shawshank Redemption (1994) | My wife made that in church group. | ภรรยาของผมทำที่อยู่ในกลุ่มคริสตจักร The Shawshank Redemption (1994) | But I lost the tweezers, so we can't operate. | แต่ฉันทำที่คีปหายเราเลยเล่นไม่ได้ The One with George Stephanopoulos (1994) | Yes, I don't think he had enough to do out there, poor chap. | ใช่ ผมว่าเขาคงไม่มีอะไรทำที่นี่นัก The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | I'm gonna put a reception area over here. | นจะเอาตรงนี้ ทำที่ต้อนรับ Jumanji (1995) | Ask her who she is and what she's a-doin' here. | ถามเธอว่าเธอเป็นใคร และสิ่งที่เธอเป็น-ทำที่นี่ Snow White and the Seven Dwarfs (1937) | Yeah. We've probably all got things to do here. | ใช่ เราอาจจะทุกคนมีสิ่งที่ต้องทำที่นี่ 12 Angry Men (1957) | Do your worst! | ทำที่เลวร้ายที่สุดของคุณ! Yellow Submarine (1968) | Making all his Nowhere plans for nobody | ทำที่ไหนเขาทั้งหมดมีแผนสำหรับ ไม่มีใคร Yellow Submarine (1968) | Making all his Nowhere plans for nobody | ทำที่ไหนเขาทั้งหมดมีแผนสำหรับ ไม่มีใคร Yellow Submarine (1968) | Making all his Nowhere plans for nobody | ทำที่ไหนเขาทั้งหมดมีแผนสำหรับ ไม่มีใคร Yellow Submarine (1968) | Making all his Nowhere plans for nobody | ทำที่ไหนเขาทั้งหมดมีแผนสำหรับ ไม่มีใคร Yellow Submarine (1968) | So may I introduce to you, The act you've known for all these years | ดังนั้นฉันอาจจะแนะนำให้คุณ การกระทำที่คุณได้รู้จักกันสำหรับทุก ปีเหล่านี้ Yellow Submarine (1968) | What have I ever done to make you treat me so disrespectfully? | ฉันมีสิ่งที่เคยทำที่จะทำให้คุณปฏิบัติกับฉันเพื่อไม่เคารพ? The Godfather (1972) | If we don't get a piece of that action, we risk everything in 10 years' time. | ถ้าเราไม่ได้รับชิ้นส่วนของการกระทำที่เรามีความเสี่ยงทุกอย่างในเวลา 10 ปีที่ผ่านมา The Godfather (1972) | He covered me up, making me lie down | เขาครอบคลุมฉันขึ้น, การกระทำที่ฉันนอนลง Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | "What are you doing here, you little bitch? | "สิ่งซึ่งคุณการทำที่นี่,\ Nyou หญิงเลวเล็กน้อย Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | Our guide restored the divine character of monstrosity thanks to reiterated actions, that is to say: rites | ไกด์ของเราที่ตั้งอยู่อีกครั้ง divine character ของความเป็นอสูรกาย... ...การขอบคุณที่จะการกระทำที่กล่าวซ้ำ, \ Nthat จะพูด: พิธีศาสนา Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | And when I read what you were doing, I wanted to help. | พอผมได้อ่านเรื่องที่คุณทำที่นี่ ผมก็อยากจะช่วย Gandhi (1982) | I want to document coldly, rationally, what is being done here. | ผมต้องการบันทึก ข้อมูลทุกอย่างที่ทำที่นี่ Gandhi (1982) | Madam, it's the best I could do on such short notice. | แหม่มก็เป็นดีที่สุดที่ฉันสามารถทำที่แจ้งให้ทราบสั้นเช่น Indiana Jones and the Temple of Doom (1984) | You don't need a family. You got a job. | แกไม่ต้องการครอบครัวแล้ว แกมีงานต้องทำที่นี่ An American Tail (1986) | Here. Make yourself a bed. | ฮ่าๆ เฮ้ ทำที่นอนของแกเถอะ An American Tail (1986) | You know what works best for me? | ตอนนี้ ที่ควรทำที่สุดคืออะไรรู้ไหม? Mannequin (1987) | Break up this illegal gathering! | หยุดการกระทำที่ไม่ถูกกฎหมายนี้! Akira (1988) | Terrorist activities carried out by anti-government elements have skyrocketed this month. | การกระทำที่น่ากลัวเกิดจาก... ...กลุ่มต่อต้านรัฐบาล ที่มีจรวดเดือนนี้ Akira (1988) | I could've turned this place into a garage. Why didn't you? | - ผมทำที่นี่เป็นโรงรถก็ได้ Punchline (1988) | - Danny what are you doing here? | - แดนนี่ ... ... สิ่งที่คุณทำที่นี่? Teenage Mutant Ninja Turtles (1990) | One thing at a time, let's keep him breathing. Christ, he's bleeding out. | ทำทีละอย่าง ให้เขาหายใจก่อน Event Horizon (1997) | Well, one, because I got a job here. And, two, because I live here. | คือหนึ่งเพราะผม ผม มีงานทำที่นี่ แล้วสองผมอยู่ที่นี่ Good Will Hunting (1997) | So the way I see it, the question isn't: "Why should you work for the N.S.A.?" | ทำไมเธอถึงมาทำที่ NSA Good Will Hunting (1997) | The sweat on his brow. | คิดว่ามันทำที่เจ้าบอกรึ? Snow White: A Tale of Terror (1997) | This is New York. If you can make it here you can make it anywhere. | ที่นี่มันนิวยอร์ค แกทำที่นี่ได้ แกก็ทำที่อื่นได้เหมือนกัน As Good as It Gets (1997) | Well, that's my point. It's an irrational act. | อืม นั่นแหละประเด็น / มันเป็นการกระทำที่ไร้เหตุผล American History X (1998) | Calling a riot an irrational expression of rage. | เราเรียกการจลาจลนั้นว่า /การกระทำที่ปราศจากเหตุผล American History X (1998) | Everything I've done here fucked it all up, understand? | ทุกสิ่งที่ฉันทำที่นี่ / ให้มันจบตรงนี้ เข้าใจมั้ย? American History X (1998) | That's all we gonna do is hate some niggers all day. | และสิ่งที่เราสมควรทำที่สุดก็คือ / เกลียดพวกนิโกรทุกวัน American History X (1998) | It's a word that describes a chemical react... | มันเป็นคำคำหนึ่ง... ...ที่อธิบายด้วยการกระทำที่หลายหลาย City of Angels (1998) | - You've been here how long? A whole month? - I'm one of the good guys, Les. | แล้วคุณมาทำที่นี่ นานเท่าไหร่กัน เดือนนึงเหรอ ผมพยายามช่วยนะเลส American Beauty (1999) | I'll have to have Rupert make me a muffler. | ต้องให้รูเพิร์ตทำที่กรองเสียงให้ผมแล้ว Bicentennial Man (1999) | Just pretend there's music. | ทำทีว่าดนตรียังเล่นอยู่ The Legend of Bagger Vance (2000) | We did what Gandalf wanted, didn't we? | เราทำที่เเกนดาลฟ์บอกเเล้วใช่มั้ย The Lord of the Rings: The Fellowship of the Ring (2001) | Fucked up so she decided to earn money here | เธอเลยตัดสินใจหางานทำที่นี่ Failan (2001) |
| | condescension | (n) การกระทำที่แสดงให้เห็นว่าผู้กระทำเชื่อว่าตนเองสำคัญหรือฉลาดกว่าผู้อื่น เช่น He gave us very friendly advice without a trace of condescension. เขาให้คำแนะนำที่เป็นมิตรมากๆ กับพวกเรา โดยไม่ได้มีท่าทีว่าเขาคิดว่าตนเองสำคัญหรือฉลาดกว่าเราแต่อย่างใด | mansplaining | (n, slang) การกระทำที่ผู้พูด (มักเป็นผู้ชาย) อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟัง (มักเป็นผู้หญิง) ในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม https://dict.longdo.com/blog/word-of-the-day-mansplaining/ |
| apery | (n) การกระทำที่งี่เง่า | breakthrough | (n) เหตุการณ์หรือการกระทำที่ทำให้อุปสรรคหมดไป | bumble | (n) การกระทำที่ผิด, Syn. mistake | crime | (n) การกระทำที่ผิดศีลธรรม | cruelty | (n) การกระทำที่โหดร้าย, See also: การกระทำที่ทารุณ | deathblow | (n) เหตุการณ์หรือการกระทำที่ทำให้ตายหรือทำให้บางอย่างจบสิ้น | disservice | (n) การกระทำที่เป็นอันตราย, See also: การเสียประโยชน์, Syn. injury, harm | effrontery | (n) ความไร้ยางอาย, See also: ความทะลึ่ง, การกระทำที่ทะลึ่งหรือหน้าด้านไร้ยางอาย, Syn. chutzpa, insolence, shamelessness | escapade | (n) การกระทำที่น่าตื่นเต้นและกล้าบ้าบิ่น, Syn. adventure, prank | exploit | (n) การกระทำที่กล้าหาญ, See also: พฤติการณ์ที่กล้าหาญ, ความกล้าหาญ, Syn. deed, escapade, venture | folly | (n) ความเขลา, See also: การกระทำที่โง่เง่า, Syn. foolishness, stupidity, Ant. cleverness, smartness | give out | (phrv) ส่งงานไปทำที่อื่น, See also: กระจายงานออกไป | goings-on | (n) พฤติกรรมที่ไม่น่าไว้ใจ (คำไม่เป็นทางการ), See also: การกระทำที่ไม่เป็นที่ยอมรับ, Syn. deportment, conduct | good turn | (n) การช่วยเหลือผู้อื่น, See also: การกระทำที่เป็นมิตร, การทำดีต่อผู้อื่น, Syn. kindness, indulgence, favor | homemade | (adj) ซึ่งทำที่บ้าน, See also: ซึ่งผลิตขึ้นภายในครัวเรือน | one in the eye for | (idm) ผลหรือการกระทำที่เป็นสิ่งแทนความพ่ายแพ้หรือความผิดหวังของบางคน | idiocy | (n) ความโง่เขลา (คำไม่สุภาพ), See also: การกระทำที่โง่เขลา, Syn. foolishness, madness | impertinence | (n) ความหยาบคาย, See also: ความโอหัง, การไม่เคารพนับถือผู้ใหญ่, การพูด / การกระทำที่หยาบคาย, การประพฤติตัวไม่เหมาะสม, Syn. disrespect, flippancy, Ant. courtesy, politeness, respect; | impetuosity | (n) ความหุนหันพลันแล่น, See also: ความบุ่มบ่าม, ความใจร้อน, การกระทำที่หุนหันพลันแล่น, Syn. hastiness, rashness, recklessness | impiety | (n) การขาดความเลื่อมใสศรัทธาในศาสนา, See also: การขาดความเคารพ, การกระทำที่ขาดความเคารพ, Syn. irreverence, Ant. reverence | impromptu | (n) การพูดหรือการกระทำที่ไม่ได้ตระเตรียมมาก่อน | insult | (n) วาจาหยาบคาย, See also: คำหยาบ, การกระทำที่หยาบคาย, Syn. rudeness, Ant. compliment, praise | jump on the bandwagon | (idm) เลียนแบบการกระทำที่ประสบความสำเร็จ, Syn. climb on | litter down | (phrv) ทำที่นอนให้ (สัตว์) | muddle through | (phrv) ประสบความสำเร็จ (แบบไม่รู้วิธีทำที่แท้จริง), See also: ทำสำเร็จแบบมั่วๆ, Syn. rub through | malignity | (n) การมุ่งร้าย, See also: ความประสงค์ร้าย, การกระทำที่ประสงค์ร้าย | outrage | (n) การกระทำที่โหดเหี้ยม, See also: การกระทำที่รุนแรง, Syn. violation, violence | outwork | (n) งานที่ทำที่บ้าน | piecemeal | (adj) ซึ่งทำทีละชิ้น, See also: ทีละส่วน, ทีละอย่าง | piracy | (n) การปล้นสะดมในน่านน้ำทะเล, See also: การกระทำที่เป็นโจรสลัด, Syn. robbery | plain dealing | (n) การกระทำที่ตรงไปตรงมา, See also: พฤติกรรมที่ซื่อสัตย์และตรงไปตรงมา | present participle | (n) รูปกริยาแสดงการกระทำที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน, See also: มีรูปคือ คำกริยาเติม -ing | present perfect | (n) รูปกริยาที่แสดงถึงการกระทำที่เสร็จสมบูรณ์, See also: มีรูปคือ have + กริยาช่อง 3 | razzamatazz | (n) การกระทำที่น่าตื่นเต้นและดึงดูดความสนใจ | razzmatazz | (n) การกระทำที่ส่งเสียงดังเพื่อเรียกร้องความสนใจผู้คน | lick and a promise | (sl) การทำลวกๆ, See also: การกระทำที่ไม่ประณีต, การทำอย่างขอไปที | skullduggery | (sl) งานสกปรก, See also: งานไม่สุจริต, การกระทำที่หลอกลวง | seating | (n) วัสดุที่ทำที่นั่ง, See also: ฐานยึดที่นั่ง, แท่น, ฐาน | shaft | (n) การกระทำที่ไม่ยุติธรรม (คำไม่เป็นทางการ) | tattletale | (n) ผู้เปิดเผยความลับ, See also: คนที่เปิดเผยความลับหรือการกระทำที่ไม่ดีของผู้อื่น, Syn. informer, talebearer, busybody, troblemaker | warp | (n) การกระทำที่ผิดปกติ, See also: การกระทำนอกลู่นอกทาง | well-doing | (n) การประพฤติดี, See also: การกระทำแต่ความดี, การกระทำที่ดี |
| acrobatics | (แอคโรแบท' ทิคซฺ) n. กายกรรม, ศิลปกายกรรม, การกระทำที่โลดโผน, Syn. gymnastics | action | (แอค' เชิน) n. การกระทำ, การปฏิบัติ, การดำเนินการ, ท่าทาง, ขั้นตอน, การฟ้องร้อง, ฤทธิ์, อำนาจ, เหตุการณ์, การใช้กำลัง, การเดิน, การเคลื่อนไหว, การรบ, การพนัน, การกระทำที่ตื่นเต้น. -actions ความประพฤติ | atrocity | (อะทรอส'ซิที) n. ความโหดร้าย, ความชั่วภัย, ความน่ากลัว, ความดุร้าย, สิ่งชั่วร้าย, การกระทำที่ชั่วร้าย, Syn. enormity, outrage, crime | barbarity | (บาร์แบร์'ริที) n. ความโหดร้าย, การกระทำที่โหดร้าย, ความทารุณ, ความหยาบ, Syn. savagery | brutality | (บรูแทล'ลิที) n. ความโหดร้าย, ความทารุณ, การกระทำที่โหดร้าย, การกระทำที่ทารุณ, Syn. cruelty | bumble | (บัม'เบิล) { bumbled, bumbling, bumbles } vt. กระทำผิดอย่างมาก, เดินโซเซ, พูดตะกุกตะกัก vi. ทำเสียงคล้ายผึ้ง n. การกระทำที่ผิด | chambermaid | (เชม'เบอะเมด) n. คนทำที่นอน, หญิงรับใช้, Syn. maid | consensual | (คันเซน'?วล) adj. เกี่ยวกับการเห็นชอบด้วยทั้งสองฝ่าย, เกี่ยวกับการกระทำที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจร่วมกัน | coup | (คู) n. การดำเนินการอย่างกะทันหัน, การกระทำที่ประสบความสำเร็จอย่างมาก, รัฐประหาร -pl. coups | crime | (ไครมฺ) n. อาชญากรรม, การกระทำอาชญากรรมและผู้กระทำ, ความผิดร้ายแรง, บาป, การกระทำที่โง่ไร้ความสำนึกหรือน่าอับอาย, Syn. offense, tort, violation | criminalistics | (คริมมิแนลลิส'ทิคซฺ) n. อาชญากรรมวิทยา, See also: criminality คริมมิแนล'ลิที n. ความเป็นอาญา, การกระทำที่เป็นอาชญากรรม | derringdo | (เดอ'ริงโด') n. การกระทำที่อาจหาญ | disfavor | (ดิสเฟ'เวอะ) n. ความไม่ชอบ, ความไม่เห็นด้วย, การกระทำที่เป็นภัย. vt. ไม่ชอบ, ไม่โปรด, Syn. disgrace | disfavour | (ดิสเฟ'เวอะ) n. ความไม่ชอบ, ความไม่เห็นด้วย, การกระทำที่เป็นภัย. vt. ไม่ชอบ, ไม่โปรด, Syn. disgrace | dishonesty | (ดิสออน'นิสที) n. ความไม่ซื่อสัตย์, ความไม่สุจริต, การกระทำที่ไม่สุจริต, การหลอก, การลวง, Syn. fraud | ego trip | n. การกระทำที่อวดดี, การกระทำที่โอ้อวด | exaltation | (อิกซอลเท'เชิน) n. การยกระดับ, การทำให้สูงขึ้น, ความปลื้มปีติ, ความดีอกดีใจ, การกระทำที่มากเกินไป, ความใหญ่โตเกินไป | favor | (ฟะ'เวอะ) n. ความกรุณา, การกระทำที่กรุณา, ความสงเคราะห์, ความประทับใจ, ความนิยม, ความเข้าข้าง, ไมตรีจิต, บุญคุณ, การสนับสนุน, ความเห็นพ้อง, ของขวัญ, ของระลึก, เครื่องหมาย, โบ, สิทธิพิเศษ. -Phr. (in favo (u) r of สนับสนุน, เข้าข้าง) . -Phr. (in one's favo (u) r เพื่อผลประโยชน | favour | (ฟะ'เวอะ) n. ความกรุณา, การกระทำที่กรุณา, ความสงเคราะห์, ความประทับใจ, ความนิยม, ความเข้าข้าง, ไมตรีจิต, บุญคุณ, การสนับสนุน, ความเห็นพ้อง, ของขวัญ, ของระลึก, เครื่องหมาย, โบ, สิทธิพิเศษ. -Phr. (in favo (u) r of สนับสนุน, เข้าข้าง) . -Phr. (in one's favo (u) r เพื่อผลประโยชน | fitting | (ฟิท'ทิง) adj. เหมาะสม, เหมาะ, สมควร, สอดคล้อง. n. การกระทำที่เหมาะสม, สิ่งที่เหมาะสม, การสวมได้เหมาะ, ขนาดเสื้อผ้าที่เหมาะ, เครื่องมือ, อุปกรณ์., See also: fittingly adv. fittingness n., Syn. fit, appropriate, part, component | folly | (ฟอล'ลี) n. ความโง่, การกระทำที่โง่ ๆ , เรื่องที่สิ้นเปลืองมากแต่ไร้ประโยชน์ | homemade | n. ทำที่บ้าน, ผลิตขึ้นในประเทศ, ไม่ใช่โรงงาน | hustle | (ฮัส'เซิล) vi. เร่งรีบ, รีบ, เบียดดัน, ผลัก, หากินโดยวิธีไม่สุจริต vt. ดัน, ผลัก, ผลักไล่, เร่ง, กระตุ้น. -n. การกระทำที่กระฉับกระเฉง, คนทำเร็ว, คนโกง, คนหลอกลวง, หญิงโสเภณี, คนเดินถนน, Syn. jostle, push, goad | impetuosity | (อิมเพช' ชุออส' ซิที) n. ความหุนหันพลันแล่น, ความบุ่มบ่าม, ความรุนแรง, ความใจร้อน, การกระทำที่ใจร้อนหรือหุนหันพลันแล่น, การกระทำที่มีแรงกระตุ้นมาก | impiety | (อิมไพ' อิที) n. การขาดความเลื่อมใสศรัทธา, การขาดความเคารพ, การกระทำที่ขาดความเคารพ (lack of piety) | indecency | (อินดี' เซินซี) n. ความหยาบคาย, ความอนาจาร, ความไม่เหมาะสม, การกระทำที่หยาบคายหรืออนาจาร, คำพูดหรือข้อเขียนที่หยาบคายหรืออนาจาร, Syn. indecorum, impropriety, rudeness, incivility | inhumanity | (อินฮิวแมน'นิที) n. การขาดมนุษยธรรม, การขาดความกรุณาปรานี, การกระทำที่ผิดมนุษย์, Syn. cruelty | injustice | (อินจัส'ทิส) n. ความอยุติธรรม, ความไม่เป็นธรรม, การล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น, การกระทำที่ไม่ยุติธรรม, ความผิด, Syn. grievance | intricacy | (อิน'ทระคะซี) n. ลักษณะที่ยุ่งยาก, ความสลับซับซ้อน, การกระทำที่ยุ่งยากหรือสลับซับซ้อน, Syn. complexity | irrationality | (อิแรชชะแนล'ลิที) n. ความไม่สมเหตุสมผล, การกระทำที่ไม่สมเหตุสมผล | jocularity | (จอคคิวแล'ริที) n. ความขบขัน, ความตลก, การพูดตลก, การพูดหยอก, เย้า, นิสันตลก, นิสัยขี้เล่น, การกระทำที่ขี้เล่น | jocundity | (โจคัน'ดิที) n. ความร่าเริง, ความเบิกบานใจ, คำพูดหรือการกระทำที่, แสดงความดีใจหรือเบิกบาน, Syn. gaiety | kindliness | (ไคดฺ'ลินิส) n. ความกรุณา, ความปรานี, ความมีใจเมตตา, ความใจดี, ความหวังดี, การกระทำที่มีใจเมตตา, Syn. benevolence | kindling | (คิน'ลิง) n. สิ่งที่ลุกไหม้ได้, การกระทำที่เป็นการกระตุ้น, การปลุก, การเร้าอารมณ์ | knavery | (เน'เวอรี) n. ความไม่ซื่อ, การคดโกง, การกระทำที่ไม่ซื่อ, เล่ห์เหลี่ยม, Syn. trickery | magnanimity | (แมกนะนิม'มิที) n. ความมีใจกว้าง, ความมีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่, ความสูงส่ง, ความไม่เห็นแก่ตัว, ความมีจิตใจสูงส่ง, การกระทำที่มีใจสูงส่ง | malefaction | (แมลละแฟค'เชิน) n. อาชญากรรม, การกระทำที่เลวร้าย, การกระทำผิด | malignity | (มะลิก'นิที) n. ความร้าย, การมีอันตรายมาก, ความมุ่งร้าย, การกระทำที่ประสงค์ร้าย, Syn. malice | master stroke | n. การกระทำที่ยิ่งใหญ่ | mischief | (มิส'ชีฟ) n. ความซุกซน, การชอบรบกวน, ความประพฤติหรือการกระทำที่ทำให้เกิดอันตรายหรือความลำบาก, อันตราย, ความลำบาก, ความร้าย, Syn. harm, Ant. advantage | misdeed | (มิลดีด') n. การกระทำที่ผิดศีลธรรม, การกระทำที่ชั่วร้าย, Syn. offense | moderation | (มอดดะเร'เชิน) n. ความไม่รุนแรง, การกระทำที่พอประมาณ, ความพอควร, การละเว้นของมึนเมา. -Phr. (in moderation พอควร, พอประมาณ), Syn. temperance | monkeyshine | (มัง'คีไชน์) n. การเล่นพิเรน, การกระทำที่ไม่ค่อยสุจริต | perversion | (เพอเวอ'เ?ิน, -เชิน) n. พฤติกรรมที่ออกนอกลู่นอกทาง, การกระทำที่ผิดปกติ, ความวิปริต, กามวิปริต, การเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติหรือผิดธรรมชาต', Syn. deviaion | petulance | (เพค'ชะเลินซฺ) n. ความเจ้าอารมณ์, การมีอารมณ์โกรธง่าย, ความงอน, การพูดหรือการกระทำที่เง้ากระงอด, Syn. anger | piracy | (ไพ'ระซี) n. การกระทำที่เป็นโจรสลัด, การปล้นความคิด, การละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรของคนอื่น | plain dealing | n. การกระทำที่ตรงไปตรงมา | prowess | (เพรา'อิส) n. ความอาจหาญ, ความองอาจ, ความสามารถยอดเยี่ยม, การกระ-ทำที่อาจหาญหรือองอาจ., Syn. bravery, strength, skill | quip | (ควิพ) n. คำคม, คำเยาะเย้ย, สำนวน, โวหาร, คำตบลตะแลง, การพูดคำดังกล่าว, การกระทำที่แปลกประหลาด, สิ่งที่แปลกประหลาด., See also: quipster n., Syn. jest, gibe, sally | rascality | (แรสแคล'ลิที) n.ความพาล, นิสัยพาล, การกระทำที่เป็นอันธพาลหรือสารเลว |
| mansplaining | การกระทำที่ผู้พูด อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟังในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม | non-state actor | ผู้กระทำที่ไม่ใช่รัฐ | กุศล | (n, adj) กุศล ควรจะหมายถึง การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา |
| 残酷 | [ざんこく, zankoku] การกระทำที่โหดร้าย |
| 残忍 | [ざんにん, zannin] การกระทำที่โหดร้าย |
| 結び付く | [むすびつく, musubitsuku] TH: การกระทำที่นำสองสิ่งมาสัมพันธ์กัน EN: to be connected or related |
| auf einmal | ทำทีเดียวทั้งหมด เช่น alles auf einmal trinken ดื่มทีเดียวหมด |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |