ระบบสุริยะ | (n) solar system, Example: ในระบบสุริยะ มีดาวเคราะห์และดาวฤกษ์กี่ดวง |
|
| ระบบสุริยะ | น. ระบบที่ประกอบด้วยดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางของแรงดึงดูด รวมทั้งดาวเคราะห์ใหญ่น้อยและบริวารของดาวเคราะห์ ดาวเหล่านี้หมุนอยู่รอบ ๆ ดวงอาทิตย์ และมีวงโคจรอยู่ในแนวระนาบใกล้เคียงกัน. | เนปจูน | น. ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๘ ในระบบสุริยะ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า เพราะอยู่ห่างโลกมาก อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๔, ๕๒๙ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลางในแนวที่ผ่านเส้นศูนย์สูตร ๔๘, ๔๐๐ กิโลเมตร ในแนวที่ผ่านขั้ว ๔๗, ๔๐๐ กิโลเมตร, ดาวสมุทร ก็เรียก. | พฤหัสบดี | ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๕ และเป็นดวงที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๗๗๘ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางในแนวที่ผ่านเส้นศูนย์สูตร ๑๔๒, ๘๐๐ กิโลเมตร | พลูโต | (พฺลู-) น. ชื่อดาวเคราะห์แคระในระบบสุริยะ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๕, ๙๐๐ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางอยู่ระหว่าง ๒, ๕๘๐ ถึง ๓, ๕๓๐ กิโลเมตร ทางโคจรเป็นวงรีมาก ทำให้ส่วนหนึ่งของทางโคจรอยู่ภายในวงจรของดาวเนปจูน, ดาวยม ก็เรียก. | พุธ | น. ชื่อดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดในระบบสุริยะ มองเห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๕๘ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๔, ๘๗๕ กิโลเมตร เป็นดาวเคราะห์ที่ไม่มีบรรยากาศและมีพื้นผิวคล้ายดวงจันทร์ของโลก | มฤตยู | ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๗ ในระบบสุริยะ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๒, ๘๗๐ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๕๐, ๘๐๐ กิโลเมตร, ดาวยูเรนัส ก็เรียก. | ยม ๒, ยม- | ชื่อดาวเคราะห์แคระในระบบสุริยะ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๕, ๙๐๐ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางอยู่ระหว่าง ๒, ๕๘๐ ถึง ๓, ๕๓๐ กิโลเมตร ทางโคจรเป็นวงรีมาก ทำให้ส่วนหนึ่งของทางโคจรอยู่ภายในวงโคจรของดาวเนปจูน, ดาวพลูโต ก็เรียก. | ยูเรนัส | น. ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๗ ในระบบสุริยะ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๒, ๘๗๐ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๕๐, ๘๐๐ กิโลเมตร, ดาวมฤตยู ก็เรียก. | โลก, โลก- | ดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ ๕ ในระบบสุริยะ เป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ลักษณะอย่างรูปทรงกลม มีเส้นผ่าศูนย์กลางที่ศูนย์สูตรยาว ๑๒, ๗๕๕ กิโลเมตร ศูนย์กลางที่ขั้วโลกยาว ๑๒, ๗๑๑ กิโลเมตร มีเนื้อที่บนผิวโลก ๕๑๐, ๙๐๓, ๔๐๐ ตารางกิโลเมตร. | ศุกร-, ศุกร์ | ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๒ ในระบบสุริยะ อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๑๐๘ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๒, ๑๐๔ กิโลเมตร ไม่มีบริวาร เป็นดาวเคราะห์ที่มีบรรยากาศหนาทึบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และไอของกรดกำมะถัน ปรากฏสว่างที่สุดบนฟ้า, ถ้าเห็นทางตะวันตกในเวลาหัวคํ่า เรียกว่า ดาวประจำเมือง, ถ้าเห็นทางตะวันออกในเวลาใกล้รุ่ง เรียกว่า ดาวรุ่ง หรือ ดาวประกายพรึก. | เสาร์ | ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๖ ในระบบสุริยะ มองเห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๑, ๔๒๗ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางในแนวเส้นศูนย์สูตร ๑๒๐, ๐๐๐ กิโลเมตร มีวงแหวนล้อมรอบที่เห็นได้ในกล้องโทรทรรศน์. | หน่วยดาราศาสตร์ | น. หน่วยที่ใช้วัดระยะทางในระบบสุริยะ ๑ หน่วยดาราศาสตร์ มีค่าเท่ากับ ระยะทางเฉลี่ยระหว่างจุดศูนย์กลางของโลกกับจุดศูนย์กลางของดวงอาทิตย์ คือ ประมาณ ๑๔๙.๖ x ๑๐๙ เมตร หรือประมาณ ๙๒.๙ ล้านไมล์. | อังคาร | ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๔ ในระบบสุริยะ มองเห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ ๒๒๘ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๖, ๗๘๗ กิโลเมตร มีพื้นผิวขรุขระและมีบรรยากาศเบาบาง ส่วนใหญ่เป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ มีบริวาร ๒ ดวง |
| Solar system | ระบบสุริยะ [TU Subject Heading] | earth | โลก, ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งในระบบสุริยะอยู่ระหว่างดาวศุกร์และดาวอังคาร อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ12, 755 กิโลเมตร มีดวงจันทร์บริวาร 1 ดวง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Jupiter | ดาวพฤหัส, ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งในระบบสุริยะ อยู่ถัดจากดาวอังคารออกไป ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 778 ล้านกิโลเมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 139, 500 กิโลเมตรเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุด มีดาวบริวาร 17 ดวง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Mars | ดาวอังคาร, ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งในระบบสุริยะ อยู่ถัดจากโลกออกไป ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 228 ล้านกิโลเมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6, 648 กิโลเมตรมีดาวบริวาร 2 ดวง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Mercury | ดาวพุธ, ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งในระบบสุริยะ อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 58 ล้านกิโลเมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4, 680 กิโลเมตร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Neptune | ดาวเนปจูน, ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งในระบบสุริยะอยู่ถัดจากดาวยูเรนัสออกไป ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 4, 498 ล้านกิโลเมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 44, 800 กิโลเมตรมีดาวบริวาร 2 ดวง เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ดาวเกตุ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Pluto | ดาวพลูโต, ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งในระบบสุริยะ อยู่ถัดจากดาวเนปจูนออกไปและอยู่ไกลดวงอาทิตย์ที่สุด ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 5, 900 ล้านกิโลเมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6, 000 กิโลเมตร ไม่มีดวงจันทร์บริวาร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | solar system | ระบบสุริยะ, ระบบที่มีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและมีดาวเคราะห์ใหญ่น้อย รวมทั้งบริวารโคจรอยู่รอบๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Uranus | ดาวยูเรนัส, ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งในระบบสุริยะ อยู่ถัดจากดาวเสาร์ออกไป ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 2, 869 ล้านกิโลเมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 47, 500กิโลเมตร มีดาวบริวาร 5 ดวง เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ดาวมฤตยู [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Venus | ดาวศุกร์, ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งในระบบสุริยะอยู่ถัดจากดาวพุธออกไป ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 108 ล้านกิโลเมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 12, 200 กิโลเมตรไม่มีดาวบริวาร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Saturn | ดาวเสาร์, ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งในระบบสุริยะอยู่ถัดจากดาวพฤหัสออกไป ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 1, 427 ล้านกิโลเมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 116, 340 กิโลเมตร มีดาวบริวาร 23 ดวง และมีวัตถุขนาดเล็กจำนวนมากโคจรรอบดาวเสาร์ในลักษณะของบริวาร เห็นเป็นวงแหวนล้อมรอบบริเวณเส้นศู [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| | | ultramundane | (อัลทระมัน'เดน) adj. นอกโลก, เลยโลก, เลยวงโคจรของดาวนพเคราะห์, นอกระบบสุริยะ, เหนือประเพณี, ในโลกหน้า |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |