ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ไม่สงบ, -ไม่สงบ- |
ผู้ก่อความไม่สงบ | (n) agitator, See also: instigator, troublemaker, firebrand, rabble-rouser, stirrer, Syn. ผู้ก่อกวน, Example: แผนนี้เป็นน้ำมือของผู้ก่อความไม่สงบที่กำลังพยายามจะโค่นรัฐบาล, Count Unit: คน, กลุ่ม, Thai Definition: บุคคลที่ก่อให้เกิดความรำคาญหรือความวุ่นวายให้เกิดขึ้น |
|
| ก่อกวน | ก. ก่อให้เกิดความรำคาญหรือไม่สงบ. | ผู้ก่อการร้าย | น. บุคคลที่ตั้งตนเป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลและพยายามก่อความไม่สงบขึ้นในที่ต่าง ๆ. | ฟุ้งซ่าน | ก. ไม่สงบ, พล่านไป, ส่ายไป, (ใช้แก่จิต). | ระส่ำระสาย | วุ่นวาย, เกิดความไม่สงบ, เช่น บ้านเมืองระส่ำระสาย. | วุ่นวาย | ไม่สงบ เช่น บ้านเมืองวุ่นวายเกิดจลาจลไปทุกหนทุกแห่ง. | วุ่นวาย | น. ความไม่สงบ เช่น เกิดวุ่นวายไปทั่วบ้านทั่วเมือง. | แหย่ | เย้า, ทำให้เกิดความรำคาญหรือไม่สงบอยู่ได้ |
| | Insurgency | การก่อความไม่สงบ [TU Subject Heading] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Political Offenses | ความผิดทางการเมือง หลักการข้อหนึ่งของการส่งตัวผู้กระทำความผิดไปให้อีก ประเทศหนึ่ง หรือที่เรียกว่าการส่งผู้ร้ายข้ามแดน คือ ผู้ที่กระทำผิดทางการเมืองจะถูกส่งข้ามแดนไปให้อีกประเทศหนึ่งไม่ได้เป็นอัน ขาด แต่อย่างไรก็ดี มีปัญหาในปฏิบัติคือว่า จะแยกความแตกต่างกันอย่างไรระหว่างความผิดทางการเมือง กับที่มิใช่ด้วยเหตุผลทางการเมือง นักวิชาการบางท่านนิยามความหมายของคำว่าความผิดทางการเมืองไว้ว่า คือ ความผิดฐานกบฏ (Treason) ซึ่งในกฎหมายของหลายประเทศหมายถึงการประทุษร้าย หรือพยายามประทุษร้ายต่อประมุขของประเทศ หรือช่วยฝ่ายศัตรูทำสงครามกับประเทศของตน ความผิดฐานปลุกปั่นให้เกิดความไม่สงบภายในประเทศ (Sedition) หรือการประกอบจารกรรม (Espionage) อันเป็นการคุกคามต่อความั่นคงหรือต่อระบบการปกครองของประเทศผู้ร้องขอ (หมายถึงประเทศที่ร้องขอให้ส่งตัวผู้กระทำผิดไปให้ในลักษณะผู้ร้ายข้ามแดน) ไม่ว่าจะกระทำโดยคนเดียวหรือหลายคนก็ตาม [การทูต] |
| ความไม่สงบ | [khwām mai sa-ngop] (n) EN: unrest | ก่อความไม่สงบ | [kø khwām mai sa-ngop] (v, exp) EN: cause unrest | ไม่สงบ | [mai sa-ngop] (adj) EN: restive FR: agité |
| convulsion | (n) ความชุลมุนวุ่นวาย, See also: ความไม่สงบ, Syn. disturbance, outbreak | discomposure | (n) ความวุ่นวาย, See also: ภาวะที่ถูกก่อกวน, ความไม่สงบ, Syn. disorder, pertubation | disorder | (vt) ทำให้วุ่นวาย, See also: ทำให้สับสน, ทำให้ไม่สงบ, ทำให้ยุ่งเหยิง, ทำให้โกลาหล, Syn. disorganize, disarray, Ant. organize, arrange | disturbance | (n) การรบกวน, See also: การทำให้ไม่สงบ | fluster | (vt) ทำให้ปั่นป่วน, See also: ก่อกวน, กวน, ทำให้ไม่สงบ, Syn. upset, confuse, agitate, Ant. calm, soothe | incendiary | (adj) เกี่ยวกับการวางเพลิง, See also: ซึ่งลอบวางเพลิง, ซึ่งก่อความไม่สงบ | mutinously | (adv) ซึ่งก่อการจลาจล, See also: ซึ่งก่อความไม่สงบ | riot | (n) การจลาจล, See also: การก่อความไม่สงบ, Syn. disturbance, disorder, turmoil | riot | (vi) ก่อการจลาจล, See also: ก่อความไม่สงบ, Syn. rampage, revolt | riser | (n) ผู้ลุกขึ้น, See also: ผู้ก่อความไม่สงบ | sedition | (n) การปลุกระดมฝูงชนให้ต่อต้านรัฐบาล, See also: การช่วยก่อความไม่สงบ, คำพูดปลุกระดม, การสนับสนุนพวกกบฏ, Syn. rebellion, revolt, revolution, agitation | seditious | (adj) ซึ่งก่อความไม่สงบ, See also: ซึ่งปลุกระดม | unrest | (n) สถานการณ์ที่ไม่สงบ | unsettled | (adj) ไม่สงบ, Syn. excited, furious, Ant. calm, relaxed | upheaval | (n) ความวุ่นวาย, See also: ความไม่สงบ, Syn. disruption, disorder, turmoil |
| agitate | (แอจ' จิเทท) vt., vi. เขย่า, ทำให้ปั่นป่วน, ทำให้ไม่สงบ, ปลุกเร้า, ปลุกปั่น, ก่อกวน. | disquiet | n. ความไม่สงบ, ความกังวล, ความกระสับกระส่าย.vt. ทำให้ไม่สงบ, ทำให้กังวล, ทำให้กระสับกระส่าย., See also: disquietedly adv. disquietly adv., Syn. uneasiness | disquietude | (ดิสไคว'อิทด) n. ภาวะที่ไม่สงบ | disturbance | (ดิสเทิร์บ'เบินซฺ) n. การรบกวน, การทำให้ไม่สงบ, การทำให้ยุ่ง, การทำให้ลำบาก, สิ่งที่รบกวน, ความไม่สงบ, Syn. row, disorder | emeu | (อี'มู) n. จลาจล, ความไม่สงบ -pl. emeutes | ferment | (เฟอ'เมินทฺ) n. เชื้อหมัก, เชื้อฟู, เอนไซม์ (enzyme) , การหมัก, การบูด, การเร่ง, ความไม่สงบ, ความสับสนอลหม่าน vt. (เฟอเมนทฺ') หมัก, ปลุกปั่น, กระตุ้น. vi. เกิดการหมัก, เกิดการบูด, มีอารมณ์ตื่นเต้น, เกิดความอลหม่าน., See also: fermentability n. -fermentable adj. | firebrand | n. ไม้หรือวัตถุที่กำลังติดไฟ, ผู้ก่อความไม่สงบหรือการทะเลาะวิวาท, ผู้ปลุกระดม, ผู้มีความกระฉับกระเฉงอย่างมาก | incendiary | (อินเซน' เดียรี) adj. เกี่ยวกับวัตถุระเบิดที่ลุกไหม้เมื่อระเบิด, เกี่ยวกับการลอบวางเพลิง, เกี่ยวกับการวางเพลิง, ซึ่งเป็นการก่อความไม่สงบ, เป็นการก่อกวนความสงบ. -n. ผู้ลอบวางเพลิง, วัตถุระเบิด, ผู้ก่อกวนความไม่สงบ, Syn. inflammatory | public nuisance | n. ผู้ก่อกวนความไม่สงบต่อชุมชน | restive | (เรส'ทิฟว) adj. ว่ายาก, ดื้อรั้น, ควบคุมยาก, หัวแข็ง, กระวนกระวาย, ร้อนใจ, มีจิตใจที่ไม่สงบ, See also: restiveness n., Syn. uneasy, restraint | rioter | (ไร'เอิทเทอะ) n. ผู้ก่อการจลาจล, ผู้ก่อความไม่สงบ, ผู้สำมะเลเทเมา | sedition | (ซีดิช'เชิน) n. การปลุกปั่นให้ก่อความไม่สงบหรือก่อการกบฏ, การจราจล, การต่อต้านรัฐบาล, Syn. rebellion, mutiny, defiance | unrest | (อัน'เรสทฺ) n. ความไม่สงบ, ความวุ่นวาย, ความกระสับกระส่าย., See also: unrestful adj. | vexatious | (เวคเซ'เชิส) adj. รบกวน, ก่อกวน, ทำให้ระคายเคือง, ทำให้ทุกข์, ไม่สงบสุข., See also: vexatiously adv., Syn. harassing | yeasty | (ยีส'ที) adj. ประกอบด้วยหรือคล้ายยีสต์, เป็นฟอง, อยู่ในวัยหนุ่มสาว, ร่าเริง, งอกงาม, ไร้แก่นสาร, ผิวเผิน, ไม่สงบ, See also: yeastily adv. yeastiness n. |
| agitate | (vt) ทำให้ยุ่งยาก, ทำให้ปั่นป่วน, ทำให้ไม่สงบ, ทำให้ร้อนใจ, ทำให้ตื่นเต้น | disquiet | (vt) ทำให้รำคาญ, ทำให้ไม่สงบ, รบกวน, ทำให้กระสับกระส่าย | disquietude | (n) ความกังวล, ความกระสับกระส่าย, ความรำคาญ, ความไม่สงบ | disturb | (vt) รบกวน, ทำให้ยุ่ง, ทำให้ไม่สงบ | disturbance | (n) การรบกวน, การทำให้ยุ่ง, การทำให้ไม่สงบ | firebrand | (n) ฟืนที่กำลังติดไฟ, ผู้ปลุกระดม, ผู้ก่อความไม่สงบ | incendiary | (adj) ก่อให้เกิดเพลิง, ซึ่งก่อความไม่สงบ | incendiary | (n) วัตถุระเบิด, ผู้ลอบวางเพลิง, ผู้ก่อความไม่สงบ | restless | (adj) กระสับกระส่าย, ไม่สงบ, ร้อนใจ, ไม่อยู่กับที่ | restlessness | (n) ความกระสับกระส่าย, ความไม่สงบ, ความกระวนกระวาย | riot | (vi) ก่อจลาจล, ก่อความอลหม่าน, ก่อความไม่สงบ | rioter | (n) ผู้ก่อการจลาจล, ผู้ก่อความวุ่นวาย, ผู้ก่อความไม่สงบ | unrest | (n) ความไม่สงบ, ความวุ่นวาย, ความกระสับกระส่าย | vexatious | (adj) รบกวน, ก่อกวน, ไม่สงบสุข |
| Unruhe | (n) |die, pl. Unruhen| เหตุการณ์ไม่สงบ เช่น Bei Unruhen in der usbekischen Stadt Andischan hatten Militärs wahllos in eine Menschenmenge geschossen. |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |