ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ความถี่, -ความถี่- |
ความถี่ | (n) frequency, Example: ความถี่ในการเกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์เพิ่มขึ้นทุกปี, Thai Definition: จำนวนคะแนนในกลุ่มของข้อมูลที่มีสมบัติเหมือนกัน | ความถี่ | (n) frequency, Example: หน่วยของความถี่ปัจจุบันใช้เฮิรตซ์แทนไซเกิล, Count Unit: ้เฮิรตซ์, Thai Definition: จำนวนไซเกิล, การแกว่งกวัด, การสั่นสะเทือนหรือคลื่นใน 1 วินาที เช่น ไฟฟ้ากระแสสลับมีความถี่ 50 ไซเกิลต่อวินาที, ปัจจุบันใช้ เฮิรตซ์ แทน ไซเกิล | ความถี่วิทยุ | (n) radio frequency, Example: ความถี่วิทยุมีขนาดต่ำสุดตั้งแต่ 10 ถึง 30 กิโลเฮิรตซ์, Count Unit: กิโลเฮิรตซ์, เมกะเฮิรตซ์, Thai Definition: ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ใช้ในการส่งวิทยุหรือโทรทัศน์ |
|
| คลื่นความถี่ | น. คลื่นวิทยุหรือคลื่นแฮรตเซียนซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ต่ำกว่าสามล้านเมกะเฮิรตซ์ลงมาที่ถูกแพร่กระจายในที่ว่างโดยปราศจากสื่อนำที่ประดิษฐ์ขึ้น. | ความถี่ | น. จำนวนไซเกิล, การแกว่งกวัด, การสั่นสะเทือนหรือคลื่นใน ๑ วินาที เช่น ไฟฟ้ากระแสสลับมีความถี่ ๕๐ ไซเกิลต่อวินาที, ปัจจุบันใช้ เฮิรตซ์ แทน ไซเกิล | ความถี่ | จำนวนคะแนนในกลุ่มของข้อมูลที่มีสมบัติเหมือนกัน. | ความถี่วิทยุ | น. ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ใช้ในการส่งวิทยุและโทรทัศน์ ขนาดตํ่าสุดตั้งแต่ ๑๐ ถึง ๓๐ กิโลเฮิรตซ์ ขนาดสูงสุดตั้งแต่ ๓๐, ๐๐๐ ถึง ๓๐๐, ๐๐๐ เมกะเฮิรตซ์. | กิโลไซเกิล | น. หน่วยวัดความถี่ของกระแสไฟฟ้าสลับหรือคลื่นวิทยุ มีค่าเท่ากับ ๑, ๐๐๐ ไซเกิลต่อวินาที, ปัจจุบันใช้ว่า กิโลเฮิรตซ์. | กิโลเฮิรตซ์ | น. หน่วยวัดความถี่ของกระแสไฟฟ้าสลับหรือคลื่นวิทยุ ใช้สัญลักษณ์ kHz ๑ กิโลเฮิรตซ์ มีค่าเท่ากับ ๑, ๐๐๐ เฮิรตซ์ หรือเท่ากับ ๑, ๐๐๐ ไซเกิลต่อวินาที. | คลื่นปานกลาง | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ปานกลาง ตั้งแต่ ๓๐๐ กิโลเฮิรตซ์ ถึง ๓ เมกะเฮิรตซ์ (หรือ ๓, ๐๐๐ กิโลเฮิรตซ์). | คลื่นยาว | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ตํ่า ตั้งแต่ ๓๐ กิโลเฮิรตซ์ ถึง ๓๐๐ กิโลเฮิรตซ์. | คลื่นวิทยุ | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ส่งผ่านบรรยากาศด้วยความถี่วิทยุ. | คลื่นสั้น | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูง ตั้งแต่ ๓ เมกะเฮิรตซ์ ถึง ๓๐ เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งใช้ในการติดต่อสื่อสารระยะไกล. | คลื่นแฮรตเซียน | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ระหว่างสิบกิโลไซเกิล ต่อวินาที และสามล้านเมกะไซเกิลต่อวินาที. | ช่อง | ย่านความถี่ที่ใช้สัญญาณภาพและเสียงที่กำหนดไว้ต่าง ๆ กัน ตามมาตรฐานการส่งกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์, (ปาก) คำเรียกสถานีโทรทัศน์แต่ละสถานี เช่น ดูละครช่อง ๗ | ไซเกิล | น. ชุดของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากภาวะหนึ่งจนกระทั่งกลับคืนมาสู่ภาวะแท้จริงเดิมอีก เช่น การเปลี่ยนแปลงในการเคลื่อนที่ของไฟฟ้ากระแสสลับเริ่มจากภาวะที่ไม่มีกระแสจนกระทั่งกระแสทวีค่าสูงสุดในทิศทางหนึ่ง แล้วลดลงจนไม่มีกระแส จากนี้กระแสทวีค่าขึ้นอีก จนสูงสุดในทิศทางตรงข้าม แล้วจึงกลับลดลงจนสู่ภาวะไม่มีกระแสอีก ดังนี้เรียกว่า กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ครบ ๑ ไซเกิล จึงใช้จำนวนไซเกิลต่อวินาทีเป็นหน่วยวัดความถี่ของกระแสไฟฟ้าสลับและความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, ปัจจุบันใช้ เฮิรตซ์ แทน ไซเกิล. | ดูดเสียง | ก. กรองคลื่นความถี่เสียงที่ไม่เหมาะสมหรือไม่ต้องการ เพื่อให้อยู่ในระดับที่ไม่สามารถได้ยินเมื่อเวลาออกอากาศ. | เมกะเฮิรตซ์ | น. หน่วยวัดความถี่ ใช้สัญลักษณ์ MHz ๑ เมกะเฮิรตซ์ มีค่าเท่ากับ ๑ ล้านเฮิรตซ์ หรือ เท่ากับ ๑ ล้านไซเกิลต่อวินาที. | สเปกตรัม | น. ผลที่ได้จากการที่การแผ่รังสีของแม่เหล็กไฟฟ้าถูกแยกออกเป็นองค์ประกอบต่าง ๆ ตามขนาดของช่วงคลื่นหรือความถี่ขององค์ประกอบนั้น ๆ. | ส้อมเสียง | น. อุปกรณ์ทำด้วยโลหะเป็นรูปอักษร U มีก้านสำหรับจับยึด เมื่อเคาะจะเกิดเสียงที่มีความถี่คงที่ เป็นเวลานาน ใช้เป็นความถี่อ้างอิง เช่นใช้เทียบเสียงเครื่องดนตรี. | หิ่งห้อย | น. ชื่อแมลงพวกด้วงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Lampyridae ลำตัวเป็นรูปทรงกระบอก ด้านปลายของส่วนท้องมีปล้องทำแสง ๒ ปล้องในเพศผู้ และ ๑ ปล้องในเพศเมีย โดยแสงเกิดจากสารลูซิเฟอรินทำปฏิกิริยากับออกซิเจน ความถี่และช่วงของแสงนั้นแตกต่างกันแล้วแต่ชนิด บางชนิดตัวเมียไม่มีปีก ที่พบมากตามแหล่งน้ำจืด เช่น ชนิด Luciola aquatilis Thaneharoen ที่พบตามป่าชายเลน เช่น ชนิด Pteroptyx malaccae (Gorham), ทิ้งถ่วง แมลงแสง หรือ แมลงไฟ ก็เรียก. | อันตรภาค | (-พาก) น. ช่วงคะแนนหรือขอบเขตของคะแนนเป็นต้นในขั้นหนึ่ง ๆ ในตารางแจกแจงความถี่ เช่น อันตรภาคของคะแนนตั้งแต่ ๘๖-๑๐๐ เป็นอันดับ ๑. | เฮิรตซ์ | น. หน่วยวัดความถี่ ใช้สัญลักษณ์ Hz ๑ เฮิรตซ์ มีค่าเท่ากับ ๑ ไซเกิลต่อวินาที. | ไฮไฟ | น. ระบบขยายสัญญาณไฟฟ้าเพื่อเปลี่ยนเป็นคลื่นเสียงออกมาได้โดยไม่เพี้ยนเลย ในช่วงความถี่ที่มนุษย์ได้ยินได้, มาจากคำ ไฮฟิเดลิตี (highfidelity). |
| | Radio frequency identification systems | รหัสประจำตัวระบบคลื่นความถี่วิทยุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Ultrasonics | คลื่นเสียงความถี่สูง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | High requency rectifier | วงจรเรียงกระแสความถี่สูง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radio frequency | คลื่นความถี่ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radio frequency identification system | ระบบกำหนดรหัสประจำตัวด้วยคลื่นความถี่วิทยุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radio frequency modulation | การแปรรูปคลื่นความถี่วิทยุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Orthogonal frequency division multiplex | การมัลติเพล็กซ์โดยการแบ่งความถี่ที่สัญญาพาหะตั้งฉากซึ่งกันและกัน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electron linear accelerator | เครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น, เครื่องเร่งอิเล็กตรอน ที่อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรงด้วยสนามไฟฟ้า มีสองแบบคือ แบบที่อิเล็กตรอนถูกควบคุมด้วยสนามไฟฟ้าสถิต และแบบที่ควบคุมด้วยสนามไฟฟ้าย่านความถี่คลื่นวิทยุ สามารถเร่งลำอิเล็กตรอนให้มีพลังงานระหว่าง 0.1-10 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ แบบแรกให้พลังงานของอิเล็กตรอนต่ำกว่าแบบหลัง เครื่องเร่งชนิดนี้เหมาะสำหรับงานวิจัยทางฟิสิกส์ และการปรับปรุงคุณภาพวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ เช่น งานเคลือบผิววัตถุและงานผลิตเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ, Example: [นิวเคลียร์] | Synchrotron | ซิงโครทรอน, เครื่องเร่งอนุภาค ที่อนุภาคถูกเร่งโดยสนามไฟฟ้าซึ่งเปลี่ยนแปลงด้วยความถี่ในย่านความถี่ของคลื่นวิทยุ และถูกบังคับให้วิ่งเป็นวงกลมรัศมีคงที่โดยการควบคุมของสนามแม่เหล็กที่เพิ่มขึ้น พร้อมสัมพันธ์กับความเร็วของอนุภาคที่เพิ่มขึ้น ซิงโครทรอนเครื่องแรก ชื่อ คอสโมทรอน (Cosmotron) สร้างขึ้น ในปี พ.ศ. 2495 ตั้งอยู่ที่ Brookhaven National Laboratory ประเทศสหรัฐอเมริกา สามารถเร่งโปรตอนให้มีพลังงานสูงถึง 2, 300 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์, Example: [นิวเคลียร์] | Spectrum | สเปกตรัม, กราฟหรือแถบแสดงความเข้มของรังสีที่เป็นฟังก์ชันกับความยาวคลื่น พลังงาน ความถี่ โมเมนตัม มวล หรือปริมาณอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับรังสีนั้น, Example: [นิวเคลียร์] | Digital frequency meter | เครื่องวัดความถี่แบบดิจิทัล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Mutant frequency | ความถี่พันธุ์กลาย, สัดส่วนของพันธุ์กลายในประชากรแต่ละกลุ่ม [นิวเคลียร์] | Mutagenic agent | สิ่งก่อการกลาย, สิ่งก่อกลายพันธุ์, สิ่งที่ทำให้ความถี่ของการกลายพันธุ์เพิ่มสูงขึ้นจากที่เกิดเองตามธรรมชาติ เช่น สารเอทิลมีเทนซัลโฟเนต (ethylmethane sulfonate) และรังสีแกมมา [นิวเคลียร์] | Mutagen | สิ่งก่อการกลาย, สิ่งก่อกลายพันธุ์, สิ่งที่ทำให้ความถี่ของการกลายพันธุ์เพิ่มสูงขึ้นจากที่เกิดเองตามธรรมชาติ เช่น สารเอทิลมีเทนซัลโฟเนต (ethylmethane sulfonate) และรังสีแกมมา, Example: [นิวเคลียร์] | Word frequency | ความถี่ของการใช้ถ้อยคำ [TU Subject Heading] | Broadband communication systems | ระบบการสื่อสารแถบความถี่กว้าง [TU Subject Heading] | Dispersion | การกระจายตามความถี่ [TU Subject Heading] | Frequency synthesizers | เครื่องสังเคราะห์ความถี่ [TU Subject Heading] | Gene frequency | ความถี่ของยีน [TU Subject Heading] | Radio frequency allocation | การจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุ [TU Subject Heading] | Radio frequency modulation | การแปรรูปคลื่นความถี่วิทยุ [TU Subject Heading] | Rainfall frequencies | ความถี่ของฝน [TU Subject Heading] | Rainfall intensity duration frequencies | ความถี่ความแรงของฝน [TU Subject Heading] | Television frequency allocation | การจัดสรรคลื่นความถี่โทรทัศน์ [TU Subject Heading] | Ultrasonic cleaning | การทำความสะอาดด้วยคลื่นความถี่สูง [TU Subject Heading] | Ultrasonic therapy | การรักษาด้วยคลื่นความถี่สูง [TU Subject Heading] | Ultrasonics | คลื่นเสียงความถี่สูง [TU Subject Heading] | Ultrasonics in surgery | คลื่นเสียงความถี่สูงในศัลยกรรม [TU Subject Heading] | Ultrasonography ; Ultrasonic imaging | การวินิจฉัยด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง [TU Subject Heading] | Ultrasonography, Prenatal | การวินิจฉัยก่อนคลอดด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง [TU Subject Heading] | Ultrasound, High-intensity focused, Transrectal | การใช้คลื่นเสียงความถี่สูงที่มีความเข้มสูงผ่านทางทวารหนัก [TU Subject Heading] | Frequency of Collection | ความถี่เก็บขยะ, Example: ความถี่ในการเก็บรวบรวมขยะ [สิ่งแวดล้อม] | Broadcasting Division, Information Department | กองวิทยุกระจายเสียง กรมสารนิเทศ " กระทรวงการต่างประเทศ (เป็นผู้ดำเนินการสถานีวิทยุกระจายเสียงสราญรมย์ คลื่นความถี่ ระบบ AM 1575 KHz) " [การทูต] | linear electron accelerator | เครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น, เป็นเครื่องเร่งอนุภาคแบบหนึ่ง ใช้เร่งอิเล็กตรอน โดยอิเล็กตรอนจะถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรงภายใต้สนามไฟฟ้าสถิตย์(electrostatic field) หรือสนามไฟฟ้าสลับย่านความถี่คลื่นวิทยุ (Radio frequency field) เครื่องเร่งอนุภาคทั้งสองแบบ ให้อิเล็กตรอนที่มีช่วงพลังงานแตกต่างกัน ในเครื่องเร่งแบบไฟฟ้าสถิตย์ (electrostatic accelerator)หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องเร่งแบบกระแสตรง (DC-accelerator) อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรง ภายใต้ความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้า 2 ขั้ว เครื่องเร่งชนิดนี้สามารถเร่งลำอิเล็กตรอนให้มีพลังงานระหว่าง 0.1-0.5 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ นิยมใช้ในงานเคลือบผิววัตถุ การปรับปรุงคุณภาพวัสดุ เช่น ฉนวนหุ้มสายไฟ การวัลคาไนซ์ของน้ำยาง ในเครื่องเร่งแบบใช้สนามไฟฟ้าย่านความถี่คลื่นวิทยุ (high frequency accelerator) อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งผ่านท่อทรงกระบอกซึ่งเรียงกันเป็นเส้นตรง และต่อกับแหล่งกำเนิดศักดาไฟฟ้าซึ่งสลับขั้วด้วยความถี่ในย่านของคลื่นวิทยุ เครื่องเร่งนี้สามารถเร่งลำอิเลคตรอนให้มีพลังงานสูงในช่วง 5-10 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ เหมาะสำหรับงานผลิตเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ และงานวิจัยทางฟิสิกส์ [พลังงาน] | synchrotron | เครื่องซินโครตรอน, เป็นเครื่องเร่งอนุภาคชนิดหนึ่ง อนุภาคถูกเร่งภายใต้สนามไฟฟ้าซึ่งเปลี่ยนแปลงด้วยความถี่ ในย่านความถี่ของคลื่นวิทยุ ในขณะเดียวกันกับที่อนุภาคถูกบังคับให้วิ่งเป็นวงกลมรัศมีคงที่ โดยการควบคุมของสนามแม่เหล็กที่เพิ่มมากขึ้น พร้อมสัมพันธ์กับความเร็วของอนุภาคที่เพิ่มขึ้น ซินโครตรอนเครื่องแรกชื่อ คอสโมตรอน (cosmotron) ตั้งอยู่ที่ห้องปฏิบัติการบรูคเฮเวน (Brookhaven National Laboratory) มลรัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2495 เครื่องมือนี้ใช้แม่เหล็กมีน้ำหนักถึง 2, 200 ตัน สามารถเร่งโปรตรอนให้มีพลังงานสูงถึง 2, 300 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ [พลังงาน] | Impact factor | ค่าวัดความถี่ของการอ้างอิงบทความวารสารในแต่ละปี, Example: Impact factor คือ ค่าวัดความถี่ของการอ้างอิงบทความวารสารในแต่ละปี โดยเปรียบเทียบกับจำนวนบทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในวารสารดังกล่าวในรอบ 2 ปี ที่ผ่านมา หรือหมายถึง ความถี่ที่บทความในวารสารนั้นจะได้รับการอ้างถึง หรือถูกนำไปใช้ <p> วิธีคำนวณหาค่า Impact Factor ในรอบ 2 ปี มีดังนี้ <p> A= จำนวนรายการอ้างอิงในปี 2003 ที่อ้างอิงถึงบทความปี 2001-2002 <p> B= จำนวนบทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในปี 2001-2002 โดยวารสารนั้น <p> C= A/B = Impact factor ปี 2003 ของวาสารชื่อนั้น หรือจำนวนครั้งโดยเฉลี่ย ที่บทความซึ่งตีพิมพ์ในวารสารนั้นในรอบ 2 ปีที่ผ่านมา (2001-2002) และได้รับการอ้างอิงในปี 2003 <p> ตัวอย่างเช่น ค่า Impact factor ปี 2003 ของวารสาร Science หมายความว่า มีการตีพิมพ์บทความในวารสาร Science ในปี 2001-2002 และถูกนำมาอ้างอิงในปี 2003 มีจำนวนครั้งโดยเฉลี่ยเกิดขึ้นเท่าไร พบว่าวารสารที่ดีจะมีค่า Impact factor สูง ดังนั้น Impact factor เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ เปรียบเทียบ และ จัดอันดับวารสาร (Journal Ranking) ช่วยประกอบการพิจารณาตัดสินใจในการจัดหาและบอกรับวารสารของห้องสมุด และยังสามารถใช้ประเมินคุณภาพของสถาบันการศึกษาได้ด้วย เนื่องจากค่า Impact Factor สามารถบอกถึงคุณภาพของผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารของนักวิจัยจากแต่ละสถาบันได้เป็นอย่างดี Impact factor นี้คิดขึ้นโดย ยูจีน การ์ฟิลด์ (Eugene Garfield) ผู้ก่อตั้ง Institute for Scientific Information (ISI) แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา <p> การจัดอันดับวารสารของวารสารจากทั่วโลก มีการใช้ค่า Impact Factor รวมทั้งค่าอื่นๆ เช่น Cited Half-Life และ Immediacy Index มาพิจารณาประกอบกัน โดยได้รวบรวมและสรุป ไว้ใน Journal Citation Report (JCR) เป็นประจำทุกปี ซึ่งจัดทำโดย Institute Scientific Information (ISI) ตั้งแต่ปี 1975 จนถึงปัจจุบัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Biparietal Diameter | วัดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่างกระดูก, (การใช้คลื่นความถี่สูง)วัดขนานเส้นผ่าศูนย์กลาง, ขนาดศีรษะเด็ก [การแพทย์] | Cholecystosonography | การตรวจถุงน้ำดีโดยคลื่นความถี่สูง [การแพทย์] | Class Frequencies | ความถี่ของชั้น [การแพทย์] | Class Intervals, Open End | ตารางแจกแจงความถี่เป็นแบบชั้นเปิด [การแพทย์] | Cleaners, Ultrasonic | เครื่องล้างที่ใช้คลื่นความถี่สูง [การแพทย์] | Coital Frequency | ความถี่ของการร่วมเพศ [การแพทย์] | Compensators, Manual Frequency | เครื่องชดเชยความถี่ที่ใช้มือ [การแพทย์] | Cumulative Frequencies, Class | ความถี่สะสมของชั้น [การแพทย์] | Current, High Frequency | กระแสไฟฟ้าที่มีความถี่สูง [การแพทย์] | Current, Low Frequency | กระแสไฟฟ้าที่มีความถี่ต่ำ [การแพทย์] | Dental Scalers, Ultrasonic | เครื่องขูดหินน้ำลายอีเล็คทรอนิคส์ระบบความถี่เหน [การแพทย์] | Echocardiography | การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง, หัวใจ, การบันทึกคลื่นเสียงสะท้อน, การตรวจหัวใจด้วยเครื่องสะท้อนเสียง, การตรวจโดยเสียงสะท้อน, คลื่นเสียงสะท้อนของหัวใจ, การตรวจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ, คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ [การแพทย์] | Echoencephalography | การตรวจสมองด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง [การแพทย์] | Echoencephalography | การตรวจสมองด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง, สมอง, การบันทึกคลื่นเสียงสะท้อน, สมอง, การตรวจคลื่นความถี่สูง [การแพทย์] |
| | ขยายความถี่เสียง | [khayāi khwāmthī sīeng] (v, exp) EN: amplify (the sound) FR: amplifier le son | ความถี่ | [khwāmthī] (n) EN: frequency FR: fréquence [ f ] | ความถี่เสียง | [khwāmthī sīeng] (n, exp) EN: frequency FR: fréquence sonore[ f ] | ความถี่วิทยุ | [khwāmthī witthayu] (n, exp) EN: radio frequency FR: radiofréquence [ f ] |
| Silent Wave Motor | (n) มอเตอร์ที่หมุนโดยอาศัยหลักคลื่นเสียงความถี่สูง Ultra-Sound ซึ่งสามารถออกแบบให้มีขนาดเล็ก พัฒนาโดยบริษัท Nikon เพื่อให้หมุนปรับโฟกัสในเลนส์รุ่นที่มีอักษร AF-S, See also: SWF, USM | Ultra Sonic Motor | (n) มอเตอร์ที่หมุนโดยอาศัยหลักคลื่นเสียงความถี่สูง Ultra-Sound ซึ่งสามารถออกแบบให้มีขนาดเล็ก พัฒนาโดยบริษัท Canon เพื่อให้หมุนปรับโฟกัสในเลนส์รุ่นที่มีอักษร USM, See also: USM, SWF |
| audio | (adj) ที่เกี่ยวกับความถี่ของเครื่องเสียง | band | (n) แถบคลื่นความถี่, See also: แถบคลื่นวิทยุ, Syn. waveband | bandwidth | (n) ช่วงความถี่ของคลื่นวิทยุ | FM | (abbr) ระบบความถี่ของวิทยุ (คำย่อของ frequency modulation) | frequency | (n) ความถี่, See also: ความบ่อย, อัตราการปรากฏ | hertz | (n) หน่วยความถี่เท่ากับหนึ่งรอบต่อวินาที ใช้สัญลักษณ์ Hz, See also: เฮิรตซ์ | histogram | (n) กราฟแสดงค่าของสถิติความถี่ชนิดหนึ่ง | infrasonic | (adj) เกี่ยวกับคลื่นเสียงความถี่ต่ำเกินกว่ามนุษย์ได้ยิน (<20 เฮิรตซ์) | low frequency | (n) ความถี่วิทยุ 30-300 กิโลเฮิรตซ์ | meticulousity | (n) ความประณีต, See also: ความเรียบร้อย, ความละเอียดลออ, ความถี่ถ้วน | meticulousness | (n) ความประณีต, See also: ความเรียบร้อย, ความละเอียดลออ, ความถี่ถ้วน, Syn. conscientiousness, pedantry | microwave | (n) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่สูงมาก, See also: ไมโครเวฟ | shortwave | (n) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ 30-60เมตร | transducer | (n) เครื่องแปลงความถี่หรือกระแส | ultrahigh frequency | (n) ความถี่คลื่นวิทยุ (อักษรคือ UHE หรือ uhf) | ultrasonic | (adj) เกี่ยวกับความถี่ที่เหนือเสียง, See also: เกี่ยวกับคลื่นที่มีความถี่สูงเกินที่มนุษย์จะได้ยิน | ultrasound | (n) คลื่นเสียงที่มีความถี่มากกว่า 20, 000 เฮิรตซ์ | very high frequency | (n) คลื่นวิทยุช่วงความถี่ 30-300 เมกกะเฮิรตซ์, See also: ใช้ส่งสัญญาณคลื่นวิทยุระบบ F.M.และคลื่นโทรทัศน์, Syn. VHF | very low frequency | (n) คลื่นวิทยุช่วงความถี่ 3-30 กิโลเฮิรตซ์ | vhf | (abbr) คลื่นวิทยุความถี่สูง (คำย่อ very high frequency), See also: คลื่นวิทยุช่วงความถี่ 30 - 300 เมกกะเฮิร์ตซ, Syn. VHF | VHF | (abbr) คลื่นวิทยุความถี่สูง (คำย่อ very high frequency), See also: คลื่นวิทยุช่วงความถี่ 30 - 300 เมกกะเฮิร์ตซ, Syn. vhf |
| amplify | (แอม' พลิไฟ) vt. ขยายใหญ่ขึ้น, ขยายความ, ขยายความถี่ของการสั่นสะเทือน | arpeggio | (อาร์เพจ'จีโอ) n. เสียงดนตรีชนิดมีความถี่ตามกัน แทนที่จะพร้อมกัน, การบรรเลงซอชนิดหนึ่ง. -arpeggiated, arpeggioed adj. | audio | (ออ'ดีโอ) adj. เกี่ยวกับเสียง, เกี่ยวกับโสตประสาท. -n. ส่วนที่เกี่ยวกับเสียงของโทรทัศน์, วงจรของตัวรับที่ให้เสียง (ในโทรทัศน์) , ความถี่ของเสียง | audio frequency | ความถี่ของเสียงซึ่งถ้าอยู่ในระหว่าง 15-20, 000 ไซเกิลต่อวินาที จะทำให้ได้ยินได้ (of normally audible sound) | band | (แบนดฺ) { banded, banding, bands } n. สายคาด, สายรัด, แถบ, ปลอก, หมู่, พวก, คณะ, วงดนตรี, คณะตนตรี, ช่วงความถี่ของคลื่นวิทยุ, สิ่งผูกมัดคน, โซ่ตรวน, ปลอกรัด, พันธะ, ข้อผูกพัน vt., vi. ใช้สายผูกรัด, รวมกลุ่ม, ประดับด้วยสายหรือแถบ, See also: bander n. | clock rate | อัตราสัญญาณนาฬิกาความถี่ของสัญญาณที่ส่งมาจากนาฬิกา เช่น อัตราสัญญาณนาฬิกา 8 เมกะเฮิร์ตช์ หมายถึงสัญญาณที่ส่งมาจากนาฬิกา 8, 000, 000 พัลส์ ต่อวินาที | clock ticks | สัญญาณนาฬิกาหมายถึง จังหวะช่วงเวลาที่นาฬิกาเดิน (ติ๊ก) ซึ่งจะเป็นช่วงที่แน่นอนสม่ำเสมอ ในแต่ละช่วงเดินของนาฬิกาที่เรียกว่า "ติ๊ก" นั้น คอมพิวเตอร์จะทำงานตามคำสั่ง และจะหยุดทำงานในช่วงว่างระหว่างติ๊ก ยิ่งช่วงติ๊กนี้ถี่เท่าใด ก็ยิ่งแปลว่าคอมพิวเตอร์ทำงานเร็วเท่านั้น สัญญาณนาฬิกานี้ จึงถือเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความเร็วของการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ความ เร็วของการเดินของนาฬิกา หรือความถี่นี้วัดกันเป็นเมกะเฮิรตช์ (megahertz) 1 เมกะเฮิรตซ์ จะเท่ากับ 1 ล้านติ๊กของนาฬิกาต่อ 1 วินาที คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือพีซีในยุคปัจจุบันนั้นมีหน่วยความจำที่ทำงานด้วยความเร็ว ถึงประมาณ 33-66 เมกะเฮิร์ตซ์ | ethernet | (อีเทอร์เนท) เครือข่ายการสื่อสารที่ส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยการใช้โคแอคเซียลเคเบิลสายเดียวเดินผ่านไปตามเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ที่อยู่ในเครือข่าย ซึ่งใช้สัญญาณความถี่คลื่นวิทยุที่ส่งผ่านสายเคเบิล บริษัทซีร็อกซ์ (Xerox) เป็นผู้เริ่มพัฒนานำมาใช้ก่อน | fcc | (เอฟซีซี) ย่อมาจากคำว่า Federal Communication Commission (แปลว่า คณะกรรมการกลางกำกับดูแลกิจการสื่อสาร) ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ที่มีหน้าที่ควบคุมในเรื่องการสื่อสาร โดยเฉพาะการควบคุมสัญญาณความถี่ของคลื่นวิทยุ | federal communication com | คณะกรรมการกลางกำกับดูแลกิจการสื่อสารใช้ตัวย่อว่า FCC (อ่านว่า เอฟซีซี) เป็นหน่วยงานของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ที่มีหน้าที่ควบคุมในเรื่องการสื่อสาร โดยเฉพาะการควบคุมสัญญาณความถี่ของคลื่นวิทยุ | frequency | (ฟรีเควิน'ซี) n. ความถี่, การเกิดขึ้นถี่, ความบ่อย, ความชุก, อัตราการปรากฎขึ้น | hertz | (เฮิร์ทซ) n. ชื่อหน่วยความถี่เท่ากับหนึ่งไซเกิลต่อวินาที; Hz | megahertz | (เมก' กะเฮิรตซ์) n. เมกกะเฮิรตซ์ , เท่ากับหนึ่งล้านรอบต่อวินาที เป็นหน่วยวัดความถี่ มีความหมายเหมือน megacycle | microwave | (ไม'โครเวฟ) n. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงมากที่สุด | monitor | (มอน'นิเทอะ) n. นักเรียนผู้ทำหน้าที่ช่วยครูดูแลความประพฤติของนักเรียนคนอื่น, เครื่องเตือน, เครื่องบอกเหตุ, เหี้ยหรือจะกวด, เครื่องรับการส่งวิทยุ, พี่เลี้ยง. vt. ใช้เครื่องรับฟังสัญญาณ เพื่อตรวจสอบความเหมาะสม, สังเกต, ควบคุม. vi. เป็นเครื่องเตือน, เป็นเครื่องตรวจ. ตัวจอภาพหมายถึง ตัวจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องปลายทาง (terminal) จอภาพนั้นมีหลายชนิด เช่น สีเดียว, หลายสี มีหลายขนาด จอภาพที่ดีจะต้องมีความถี่สูง ทำให้ได้ภาพที่นิ่งสนิท (non interlaced) ทำให้ไม่มีอันตรายต่อสายตา มีความคมชัดสูง (high resolution) ขนาดมาตรฐานจะมีความละเอียด 1024 x 768 จุด แบบที่ผลิตออกมาขายใหม่ ๆ จะมีข้อดีอีกข้อหนึ่ง คือ ประหยัดไฟ โดยปิดตัวเองได้ในขณะที่ไม่ใช้งาน เรียกว่า green monitor | normal curve | เส้นโค้งรูประฆังที่เป็นเส้นความสัมพันธ์ของการแจกแจงความถี่ กับค่าต่าง ๆ ของตัวแปร., Syn. Gaussian curve | ogive | (โอ'ไจฟว, โอไจฟว) n. ซี่โค้งหลังคาทแยง, โค้งรูปยอดแหลม, เส้นแจกแจง, ความถี่สะสม, ปลายทู่ของหัวจรวด, ที่ครอบสายไฟทั้งหมด | percentile | (เพอเซน'ไทลฺ) n. ค่าของตัวแปรที่แบ่งการแจกแจงของตัวแปรออกเป็น100, กลุ่มที่มีความถี่ (frequencies) เท่ากัน. adj. เกี่ยวกับค่าตัวแปรดังกล่าว | radiofrequency | (เรดิโอฟรี'เควินซี) n. ความถี่ของคลื่นวิทยุ | rf | อาร์เอฟ <คำอ่าน>ย่อมาจาก radio frequency หมายถึง คลื่นความถี่วิทยุ | rfi | อาร์เอฟไอ <คำอ่าน>ย่อมาจาก radio frequency interference หมายถึง การรบกวนของคลื่นวิทยุในหลาย ๆ ความถี่ |
| frequency | (n) ความถี่, นิจสิน, ความบ่อย | kilocycle | (n) หน่วยวัดความถี่ของคลื่นไฟฟ้า | piquancy | (n) ความคมคาย, ความแหลม, ความถี่, ความน่าสนใจ | thoroughness | (n) ความละเอียด, ความสมบูรณ์, ความถี่ถ้วน, ความครบถ้วน |
| 高音 | [こうおん, kouon] (n) เสียงความถี่สูง |
| 周波数 | [しゅうはすう, shuuhasuu] ความถี่คลื่นไฟฟ้า | 度数 | [どすう, dosuu] ความถี่(ครั้ง) |
| Nachhallzeit | (n) |die| ระยะเวลาที่ระดับความเข้มเสียงลดลง 60 เดซิเบล ในแต่ละความถี่ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |