ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ทางทหาร, -ทางทหาร- |
ทางทหาร | (adj) military, Syn. ทางการทหาร, Example: ในวันนี้ กองทัพจัดการประชุมเกี่ยวกับนโยบายทางทหาร, Thai Definition: ที่เกี่ยวข้องกับทหาร |
|
| โขลน ๑ | (โขฺลน) น. ตำแหน่งผู้ควบคุมกำลังทางทหาร | จุดยุทธศาสตร์ | น. พื้นที่และสถานที่ตั้งที่มีความสำคัญในทางการเมือง เศรษฐกิจ จิตวิทยา และกำลังรบทางทหารทั้งในยามสงบและยามสงคราม. | ดุลอำนาจ | (ดุน-) น. การถ่วงอำนาจระหว่างประเทศให้มีพลังทางเศรษฐกิจหรือทางทหารทัดเทียมกัน. | มหาอำนาจ | ว. เรียกประเทศที่มีพลังทางด้านเศรษฐกิจหรือทางทหารสูง ว่า ประเทศมหาอำนาจ. | ยุทธศาสตร์ | น. วิชาว่าด้วยการพัฒนาและการใช้อำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ จิตวิทยา และกำลังรบทางทหารตามความจำเป็นทั้งในยามสงบและยามสงคราม. | ยุทธศาสตร์ | ว. ที่มีความสำคัญทางการเมือง เศรษฐกิจ จิตวิทยา และกำลังรบทางทหาร ทั้งในยามสงบและยามสงคราม เช่น จุดยุทธศาสตร์. | ยุทโธปกรณ์ | น. วัสดุอุปกรณ์ทั้งปวงและยุทธภัณฑ์ทุกชนิดซึ่งใช้ในราชการทหาร รวมทั้งเครื่องมือยานยนต์ ชิ้นส่วนอะไหล่สาธารณูปโภคอันจำเป็นเพื่อปฏิบัติการรบหรือเพื่อดำรงและสนับสนุนกิจกรรมทางทหารโดยไม่คำนึงถึงว่าจะมีความมุ่งหมายทางธุรการหรือทางการรบ. | แสนยานุภาพ | น. อำนาจทางทหาร เช่น ทหารเดินสวนสนามเพื่อแสดงแสนยานุภาพของกองทัพ. | อภิมหาอำนาจ | ว. เรียกประเทศที่มีอำนาจทางด้านเศรษฐกิจและทางทหารสูงกว่าประเทศมหาอำนาจ ว่า ประเทศอภิมหาอำนาจ. |
| | Astronautics, Military | อวกาศยานศาสตร์ทางทหาร [TU Subject Heading] | Communications, Military | การสื่อสารทางทหาร [TU Subject Heading] | Military assistance | ความช่วยเหลือทางทหาร [TU Subject Heading] | Military assistance, American | ความช่วยเหลือทางทหารของสหรัฐอเมริกา [TU Subject Heading] | Military assistance, Soviet | ความช่วยเหลือทางทหารของสหภาพโซเวียต [TU Subject Heading] | Military ceremonies, honors, and salutes | พิธีเกียรติยศทางทหารและการแสดงความเคารพ [TU Subject Heading] | Military chaplains | อนุศาสนาจารย์ทางทหาร [TU Subject Heading] | Military departments and divisions | หน่วยงานทางทหาร [TU Subject Heading] | Military funerals | พิธีศพทางทหาร [TU Subject Heading] | Military intelligence | ข่าวกรองทางทหาร [TU Subject Heading] | Military offenses | ความผิดทางทหาร [TU Subject Heading] | Military relations | ความสัมพันธ์ทางทหารกับต่างประเทศ [TU Subject Heading] | Naval ceremonies, honors, and salutes | พิธีเกียรติยศทางทหารเรือและการแสดงความเคารพ [TU Subject Heading] | Radio, Military | วิทยุทางทหาร [TU Subject Heading] | Trials (Military offenses) | การพิจารณาและตัดสินคดี (ความผิดทางทหาร) [TU Subject Heading] | Australia-New Zealand-US | สนธิสัญญาป้องกันร่วมกันระหว่างออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์-สหรัฐอเมริกา " โดยตกลงให้มีการช่วยเหลือประเทศสมาชิกเมื่อถูกคุกคามจากประเทศนอกภาคี ปัจจุบัน ANZUS ยังคงสถานะอยู่แต่ไม่มีการดำเนินการใด ๆ (non-operational) เนื่องจากความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างสหรัฐอเมริกากับนิวซีแลนด์ยุติลง โดยนิวซีแลนด์ยังไม่ละทิ้งสนธิสัญญา ดังกล่าว เนื่องจากเห็นว่าอาจจะมีการรื้อฟื้นขึ้นอีก " [การทูต] | Cobra Gold | การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์ เป็นการฝึกทางทหารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งกองทัพไทยและกองกำลังสหรัฐอเมริกาภาคพื้นแปซิฟิก (USPACOM) ร่วมกันเป็น เจ้าภาพจัดการฝึกในประเทศไทยเป็นประจำทุกปี การฝึกคอบร้าโกลด์พัฒนามาจากการฝึกผสมยกพลขึ้นบกระหว่างกองทัพเรือไทยกับกอง ทัพเรือสหรัฐอเมริกาและกองกำลังนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา ซึ่งทำการฝึกร่วมกันมาตั้งแต่ พ.ศ. 2499 ต่อมาใน พ.ศ. 2525 ได้รวมการฝึกหลายอย่างเข้าด้วยกันแล้วกำหนดชื่อรหัสการฝึกขึ้นใหม่ว่า "การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์" ปัจจุบัน มีประเทศที่ร่วมฝึกรวม ทั้งร่วมสังเกตการณ์หลายประเทศ รวมทั้งได้ขยายการฝึกครอบคลุมการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม การตอบโต้การก่อการร้ายด้วย [การทูต] | Eisenhower Doctrine | ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ [การทูต] | Exemption from Taxation of Diplomatic Agent | การยกเว้นภาษีอากรให้แก่ตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ข้อ 34 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ให้ตัวแทนทางการทูตได้รับยกเว้นจากภาระผูกพันและภาษีทั้ง ปวงของชาติท้องถิ่นหรือเทศบาล ในส่วนบุคคลหรือในทรัพย์สิน เว้นแต่ก. ภาษีทางอ้อม ชนิดที่ตามปกติรวมอยู่ในราคาของสินค้าหรือบริการแล้วข. ภาระผูกพันและภาษีจากอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ซึ่งตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับ นอกจากว่า ตัวแทนทางการทูตครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นไว้ในนามของรัฐผู้ส่ง เพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนค. อากรกองมรดก การสืบมรดก หรือการรับมรดก ซึ่งรัฐผู้รับเรียกเก็บภายในบังคับแห่งบทของวรรค 4 ข้อ 39 ง. ภาระผูกพันและภาษีจากเงินได้ส่วนตัว ซึ่งมีแหล่งกำเนิดในรัฐผู้รับ และภาษีเก็บจากเงินทุนซึ่งได้ลงทุนในการประกอบการพาณิชย์ในรัฐผู้รับจ. ค่าภาระซึ่งเรียกเก็บสำหรับบริการจำเพาะที่ได้ให้ฉ. ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมศาล หรือสำนวนความ ภาระผูกพันในการจำนอง และอากรแสตมป์ในส่วนที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ภายในบังคับแห่งบทของข้อ 23?นอกจากนี้ ข้อ 35 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติไว้ด้วยว่า ?ให้รัฐผู้รับให้ตัวแทนทางการทูตได้รับการยกเว้นจากการบริการส่วนบุคคลทั้ง มวล จากบริการส่วนสาธารณะทั้งมวล และจากข้อผูกพันทางทหาร เช่น ส่วนที่เกี่ยวกับการเรียกเกณฑ์ ส่วนบำรุง หรือเรียกคืนที่พักอาศัยเพื่อปฏิบัติการทางทหาร? [การทูต] | Geneva Conference on the Problem of Restoring Peace in Indo-China | การประชุม ณ นครเจนีวา ว่าด้วยปัญหาการนำสันติภาพกลับคืนสู่อินโดจีน ในการประชุมนี้ มีการทำความตกลงกันเกี่ยวกับการหยุดสู้รบระหว่างกำลังทหารในประเทศเวียดนาม กัมพูชา และลาว กับกำลังทหารฝรั่งเศส ความตกลงดังกล่าวได้กระทำกันในนครเจนีวา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 มีผู้แทนจากประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ฝรั่งเศส ลาว สาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมการประชุมตามข้อตกลงนี้ให้มีการยุติการสู้รบในกัมพูชา ลาว และเวียดนาม และการปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในความตกลงดังกล่าว ให้อยู่ใต้ความควบคุมและดูแลระหว่างประเทศ ที่ประชุมเจนีวาได้แสดงความมั่นใจว่า ในการปฏิบัติตามข้อตกลงจะปล่อยให้กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ได้แสดงบทบาทภายใต้ความเป็นเอกราชและอำนาจอธิปไตยของตนอย่างสมบูรณ์ภายใน ประชาคมนานาชาติ สำหรับความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามใด้ห้ามมิให้นำกองทหารและเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารของต่างชาติ รวมทั้งอาวุธและอุปกรณ์ทางทหารทุกชนิดเข้าไปในประเทศนั้น ที่ประชุมยังได้รับรองว่า วัตถุประสงค์สำคัญยิ่งของความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามคือ ต้องการระงับปัญหาต่าง ๆ ทางทหาร เพื่อยุติการสู้รบ และการปักปันเส้นเขตแดนทางทหารนั้น ให้ถือเป็นการชั่วคราว มิได้หมายความว่าเป็นแนวแบ่งเขตทางการเมืองหรือทางดินแดนแต่ประการใดทั้งสิ้น [การทูต] | Intelligence | เรื่องสืบราชการลับ กล่าวอย่างกว้าง ๆ คือ เรื่องลับไม่ว่าชนิดใด โดยเฉพาะที่จะมีประโยชน์แก่ผู้กำหนดนโยบาย หรือฝ่ายทหารที่มีหน้าที่ว่างนโยบายหรือวางแผนยุทธศาสตร์ ถือว่าเป็น Intelligence ทั้งสิ้น เช่น ในสหรัฐอเมริกามีองค์กรสืบราชการลับอยู่หลายแห่ง เช่น CIA (สำนักงานสืบราชการลับกลาง) The NSA (National Security Agency หรือองค์การรักษาความมั่นคงปลอดภัยแห่งชาติ) G-2 (ฝ่ายสืบราชการลับของกองทัพบก) FBI (Federal Bureau of Investigation หรือหน่วยสืบสวนของรัฐบาลกลาง) Bureau of Intelligence and Research of the State Department หรือหน่วยสืบราชการลับและวิจัยของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ รวมทั้งฝ่ายสืบราชการลับของกองทัพเรือและกองทัพอากาศ ส่วนในโซเวียตรัสเซีย (ปัจจุบันเรียกชื่อใหม่ว่ารัสเซีย) แต่เดิมมีองค์การสืบราชการลับอยู่จำนวนหนึ่ง ที่สำคัญๆ ได้แก่ ฝ่ายสืบราชการลับทางทหารของกระทรวงกลาโหม หรือที่เรียกว่า YRU (Ylavnoe Razdevyvatelnoe Uptavlenie) และ KGB (Kommissariat Gosudatstvennoie Bezopastnotsi หรือ Commisariat of State Security) ในประเทศอังกฤษ มีฝ่ายสืบราชการลับเรียกว่า M15 (British Counter Intelligence) M16 เป็นหน่วยสาขาซึ่งทำงานด้านจารกรรมในต่างประเทศ และ M18 เป็นฝ่ายสืบราชการฝ่ายทหาร (Cryptographic Bureau of Military Intelligence) [การทูต] | International Atomic Energy Agency | สำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ในการประชุมระหว่างประเทศ ที่ประชุมได้รับรองกฎข้อบังคับขององค์การนี้เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1956 ณ สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก รัฐที่ร่วมลงนามเป็นสมาชิกขององค์การอย่างน้อย 18 ประเทศ รวมทั้งประเทศดังต่อไปนี้ คือ แคนาดา ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา อย่างน้อยสามประเทศได้มอบสัตยาบันสาร ยังผลให้กฎข้อบังคับดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1956วัตถุประสงค์ขององค์การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ คือ1. ต้องการเร่งรัดและส่งเสริมให้พลังงานปรมาณูมีส่วนเกื้อกูลมากขึ้นต่อ สันติภาพ สุขภาพ และความไพบูลย์มั่งคั่งตลอดทั่วโลก2. ทำให้เป็นที่แน่ใจว่า ความช่วยเหลือที่องค์การจัดให้หรือตามคำขอร้องขององค์การ หรือที่อยู่ใต้ความควบคุมดูแลขององค์การนั้น จะต้องไม่ถูกนำไปใช้เพื่อส่งเสริมความมุ่งหมายทางทหารแต่อย่างใดองค์การ ดำเนินงานผ่านทางองค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ คือ1. ที่ประชุมระหว่างประเทศ (General Conference) ประกอบด้วยสมาชิกของสำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศทั้งหมด มีการประชุมสมัยสามัญประจำปี และอาจมีการประชุมสมัยพิเศษเท่าที่จำเป็น ที่ประชุมจะพิจารณาแลกเปลี่ยนความเห็นในปัญหาต่าง ๆ ที่อยู่ภายในกรอบของกฎข้อบังคับ2. คณะผู้ว่าการ (Board of Governors) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 23 ประเทศ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ขององค์การ3. คณะเจ้าหน้าที่ขององค์การมีหัวหน้าเรียกว่าอธิบดี (Director General) ซึ่งคณะผู้ว่าการแต่งตั้งขึ้นตามความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ และมีอายุอยู่ในตำแหน่ง 4 ปี ตัวอธิบดีถือเป็นหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารขององค์การ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย [การทูต] | Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] |
| การยึดครองทางทหาร | [kān yeutkhrøng thāng thahān] (n, exp) EN: military occupation FR: occupation militaire [ f ] | เขตอำนาจทางทหาร | [khēt amnāt thāng thahān] (n, exp) EN: military jurisdiction | ความร่วมมือทางทหาร | [khwām ruammeū thāng thahān] (n, exp) FR: coopération militaire [ f ] | สนธิสัญญาทางทหาร | [sonthisanyā thāng thahān] (n, exp) EN: military pact | ทางทหาร | [thāng thahān] (adj) EN: military FR: militaire |
| deploy | (vt) แปรแถวตอนเป็นแถวหน้ากระดาน(ทางทหาร), เคลื่อนกำลังพลพร้อมอาวุธไปอยู่ในตำแหน่งที่พร้อมจะต่อสู้ (ทางทหาร), การตั้งแถวเตรียมตัวออกรบ, จัดเพื่อใช้งาน |
| absent without leave | (idm) ขาดงานโดยไม่ได้รับอนุญาต, See also: ปลดประจำการโดยไม่ขออนุญาต ทางทหาร, ไม่ได้อยู่ร่วมโดยไม่ได้รับอนุญาต | AWOL | (idm) ขาดงานโดยไม่ได้รับอนุญาต (คำย่อจาก absent without leave), See also: ปลดประจำการโดยไม่ขออนุญาต ทางทหาร, ไม่ได้อยู่ร่วมโดยไม่ได้รับอนุญาต | basic training | (n) การฝึกทางทหารขั้นพื้นฐาน (เมื่อแรกเข้าประจำการในกองทัพบก), Syn. basic | beachhead | (n) การใช้กำลังยึดชายหาด (ทางทหาร), See also: การยึดหัวหาด, Syn. bridgehead | billet | (n) คำสั่งทางทหารเกี่ยวกับสถานที่พักชั่วคราว | blitzkrieg | (n) การโจมตีทางทหารทันทีเพื่อเอาชนะอย่างรวดเร็ว | buck | (adj) ของระดับชั้นที่ต่ำที่สุด (ทางทหาร) | be at attention | (idm) แถวตรง (ทางทหาร), See also: ยืนตรง, Syn. stand at | be at ease | (idm) ยืนพัก (ทางทหาร), Syn. stand at, stand easy | be off the limits to | (idm) มีคำสั่งห้ามเข้า (สถานที่) (ทางทหาร) | be on guard | (phrv) เข้าประจำการ (ทางทหาร) | be out of action | (idm) ปลดประจำการ (ทางทหาร), See also: ไม่ใช้งานอีกต่อไป, Syn. put out | brass off | (phrv) บ่น (คำไม่เป็นทางการและส่วนมากใช้ทางทหาร), See also: ตำหนิ | bring someone to attention | (idm) แถวตรง (ทางทหาร), See also: ยืนตรง, Syn. stand at | bring to attention | (idm) ยืนตรง (ทางทหาร), See also: ทำแถวตรง, Syn. stand at | bug out | (phrv) รีบเก็บข้าวของและเคลื่อนย้าย (ทางทหาร) | bust to | (phrv) ลดตำแหน่ง (ทางทหาร), See also: ลดยศ, ปลดตำแหน่ง | cadet corps | (n) องค์การสำหรับฝึกทางทหารให้แก่นักเรียนในบางโรงเรียนของอังกฤษ | centurion | (n) ผู้บังคับการทางทหารที่ควบคุมทหารหนึ่งร้อยนาย | call down | (phrv) สั่งให้เริ่มโจมตีทางอากาศ (ทางทหาร) | call someone to arms | (idm) สั่งให้เข้าประจำการ (ทางทหาร) | clean up | (phrv) จบสิ้นการทำลาย (ทางทหาร), See also: ทำให้พ่ายแพ้แล้ว, Syn. wipe up | detail off | (phrv) สั่ง (ทางทหาร), Syn. tell off | dress up | (phrv) จัดแถวให้ตรง (ทางทหาร), See also: ทำให้แถวตรง | face about | (phrv) หันหลังกลับ (ทางทหาร), See also: หันกลับไป, Syn. turn about, turn around | fall out | (phrv) เลิกแถว (ทางทหาร), Syn. fall in | deploy | (vt) เคลื่อนกำลังพลพร้อมอาวุธไปอยู่ในตำแหน่งที่พร้อมจะต่อสู้ (ทางทหาร), See also: เข้าแถวเรียงหน้ากระดาน, Syn. array, mobilize | deployment | (n) การเคลื่อนกำลังพลพร้อมอาวุธไปอยู่ในตำแหน่งที่พร้อมจะต่อสู้ (ทางทหาร), See also: การเข้าแถวเรียงหน้ากระดาน, Syn. stretching, spread | desert | (vt) หนีทหาร (ทางทหาร) | desert | (vi) หนีทหาร (ทางทหาร) | dump | (n) คลังเก็บอาวุธ (ทางทหาร) | front line | (n) แนวหน้า (ทางทหาร), See also: แนวรบด้านหน้า | go in | (phrv) เริ่มโจมตี (ทางทหาร), Syn. send in | invalid home | (phrv) ส่งกลับประเทศเพราะป่วยหรือสุขภาพไม่ดี (ทางทหาร) | invalid out | (phrv) อนุญาตให้ปลดประจำการเพราะป่วยหรือสุขภาพไม่ดี (ทางทหาร) | on active duty | (idm) พร้อมรบ (ทางทหาร), See also: ในสงคราม | lock on | (phrv) หาเป้าโจมตี (ทางทหาร) | lock onto | (phrv) หาเป้าโจมตี (ทางทหาร) | move up | (phrv) เคลื่อน (พล) เข้ามาใกล้ (ทางทหาร) | number off | (phrv) ขานชื่อ, See also: เรียกชื่อ ทางทหาร | materiel | (n) สเบียง อาวุธและของใช้อื่นๆ ร่วมกับกำลังทางทหาร | militarily | (adv) ทางทหาร | militarise | (vt) จัดกำลังทางทหาร | militaristic | (adj) เกี่ยวกับการจัดกำลังทางทหาร, Syn. warlike, antagonistic | militarize | (vt) จัดกำลังทางทหาร | military | (adj) ทางทหาร, See also: เกี่ยวกับทหาร, ของทหาร, Syn. martial, soldierly, combative | press forward | (phrv) เร่งให้รุกหน้า (ทางทหาร), See also: ยังคงรุกไปข้างหน้า บังคับ, Syn. push forward, thrust forward | press hard | (phrv) (บังคับให้)โจมตี(ทางทหาร), See also: เร่งให้โจมตี | push back | (phrv) ถอยกลับ (ทางทหาร), Syn. thrust back | push forward | (phrv) เดินหน้าต่อ (ทางทหาร), Syn. press forward, thrust forward |
| anchor | (แอง' เคอะ) n., vt. สมอเรือ, สมอ, หลัก, ที่ยึดเหนี่ยว, ตำแหน่งสำคัญของแนวป้องกันในทางทหาร, ทอดสมอ, ปล่อยหลัก -anchorable adj., Syn. support, prop, security | beachhead | (บีชฺ'เฮด) n. หัวหาด, สถานที่ขึ้นบกทางทหาร | commandeer | (คอมมันเดียร์') { commandeered, commandeering, commandeers } vt. เกณฑ์พลเรือนเข้าทำการรบหรือทำงานให้กับหน่วยทหาร, ยึดทรัพย์สินเอกชนเพื่อประโยชน์ทางทหารหรือเพื่อสาธารณประโยชน์, Syn. draft, conscript, impress | drive | (ไดรฟว) { drove, driving, drives } vt. ขับ, ขับไล่, ไล่, ผลัก, ไส, ผลักดัน, ขับขี่, ต้อน (สัตว์เลี้ยง) , ลอย (ซุง) vi. แล่น, พุ่ง, ขับรถ, ตี (ลูกกอล์ฟ, ตะปู) , มุ่งหมาย n. การขับ, การขับขี่, ทางรถ, สัตว์ที่ไล่ตาม, สัตว์ (ที่ต้อน) , การรุกทางทหาร, พลังงาน, แรงกระตุ้น, กลไกในการขับ, หน่วยขับหน่วยบันทึกไดร์ฟ <คำอ่าน>อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่มีหน้าที่อ่านและบันทึกข้อมูล เช่น หน่วยขับแถบบันทึก (tape drive) หน่วยขับจานบันทึก (disk drive) | logistic | (โลจิส'ทิค) adj. เกี่ยวกับตรรกวิทยา n. ตรรกสัญลักษณ์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์, วิชาคำนวณ, พลาธิการ, การส่งกำลังบำรุงทางทหาร | logistics | (โลจิส'ทิคซฺ) n. พลาธิการทางทหาร, การส่งกำลังบำรุงทางทหาร., See also: logistician n. ดูlogistics | militarise | (มิล'ลิทะไรซ) vt. จัดให้มีกำลังทางทหาร อาวุธและสัมภาระต่าง ๆ | militarize | (มิล'ลิทะไรซ) vt. จัดให้มีกำลังทางทหาร อาวุธและสัมภาระต่าง ๆ | militate | (มิล'ลิเทท) vi. กระทำทางทหาร, ต่อสู้, ตอบโต้, รบ, ยืนหยัด., See also: militation n. | mission | (มิช'เชิน) n. คณะผู้แทน, ภาระหน้าที่ของคณะผู้แทน, คณะทูต, สถานทูต, งานปฏิบัติงานทางทหาร (มักได้รับมอบหมายจากสำนักงานใหญ่) , การเคลื่อนที่หรือการวิ่งสู่เป้าหมายของจรวดขีปนาวุธ, โบสถ์ที่ไม่มีพระอยู่ประจำ, งานมอบหมาย | operation | (ออพพะเร'เชิน) n. การกระทำ, การทำงาน, ปฏิบัติการ, ศัลยกรรม, การเดินเครื่อง, การสู้รบ, วิธีการทางคณิตศาสตร์ (เช่นการบวก, การลบหรืออื่น ๆ) , กิจการ, ปฏิบัติการทางทหาร, ยุทธการ, Syn. working, act, maneuver | operational | (ออพพะเร'เชินเนิล) adj. ทำได้, ใช้ได้, เกี่ยวกับปฏิบัติการทางทหาร, เกี่ยวกับศัลยกรรม, เกี่ยวกับการคำนวณหรือคณิตศาสตร์., Syn. working | ordnance | (ออร์'เนินซฺ) ปืนใหญ่, อาวุธยุทโธปกรณ์, สรรพาวุธทางทหาร, กรมสรรพาวุธ, หน่วยงานยุธสัมภาระ, Syn. arms, armaments | power | (เพา'เออะ) n. อำนาจ, กำลัง, แรง, ความสามารถ, สมรรถภาพ, (ประเทศ) มหาอำนาจ, คนที่มีอำนาจ, เอกสารมอบอำนาจ, ผู้มีอำนาจ, ผู้มีอิทธพล, กำลังทางทหาร, สิ่งศักดิ์สิทธิ์, | reprisal | (รีไพร'เซิล) n. การโต้ตอบด้วยกำลัง, การโต้ตอบด้วยกำลังทางทหาร, การแก้แค้น, การยึดทรัพย์สินเพื่อเป็นการโต้ตอบ, Syn. counterattack | soldiery | (โซล'จะรี) n. เหล่าทหาร, หมู่ทหาร, กองทหาร, การฝึกฝนทางทหาร, อาชีพทางทหาร, ความเชี่ยวชาญทางทหาร, Syn. soldiers | strategics | (สทระที'จิคซฺ) n. ยุทธศาสตร์, ยุทธวิธี, กลยุทธ, วิชาว่าด้วยการรบทางทหาร | supply | (ซะไพล') vt., vi., n. (การ) จัดหา, จัดส่ง, ส่งเสบียง, บรรจุ, เสริม, ให้, ชดเชย, แทนที่, พัสดุ, เสบียง, สิ่งที่จัดหาให้, สิ่งของจำเป็นทางทหาร, ค่าใช้สอย, ผู้ทำการแทน adv. อย่างอ่อนน้อม, อย่างนิ่มนวล, See also: suppliable adj. supplier n. | war lord | n. ผู้นำทางทหาร, ขุนศึก, Syn. warlord, military leader | zero hour | n. เวลาแห่งการเริ่มโจมตีทางทหาร, เวลาเริ่มต้น, วิกฤติกาล, เวลา 0 นาฬิกา |
| militarism | (n) ลัทธิทหาร, ความชอบทางทหาร | military | (adj) ในทางทหาร, เกี่ยวกับทหาร | operation | (n) การปฏิบัติการ, ยุทธการ, การเคลื่อนไหวทางทหาร, การทำงาน, การผ่าตัด |
| Copy that | (slang) (ทางทหาร) รับทราบ, ได้ยิน, เข้าใจ มักใช้สื่อสารทางวิทยุ | hospitalers | (n) สมาชิกคณะสงฆ์และทางทหารตั้งแต่สมัยสงครามครูเสด ผูสงเคราะห์คนเจ็บในโรงพยาบาล |
| 軍事的に強い | [ぐんじてきにつよい, gunjitekinitsuyoi] (exp) แสนยานุภาพทางทหาร | 用兵 | [ようへい, youhei] (n) ยุทธศิลป์ เป็นศาสตร์ทางทหารแขนงกว้าง เป็นตัวเชื่อมสำคัญระหว่างยุทธวิธีกับยุทธศาสตร์ | 幕僚 | [ばくりょう, bakuryou] (n) ที่ปรึกษา (ตำแหน่งทางทหาร) | 首席幕僚 | [しゅせきばくりょう, shusekibakuryou] (n) หัวหน้าที่ปรึกษา (ตำแหน่งทางทหาร) |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |