ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พลเรือ, -พลเรือ- |
พลเรือน | (n) civilian, See also: official, Syn. ข้าราชการ, Example: นายกสัญญาว่าจะปรับเงินให้กับข้าราชการ พลเรือน ทุกตำแหน่ง, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณรายจ่ายหมวดเงินเดือน เช่น ข้าราชการพลเรือน เป็นต้น | พลเรือน | (n) civilian, See also: noncombatants, Syn. ประชาชน, ราษฎร, พลเมือง, Example: ผู้มาจากพลเรือนอย่างเขาจะไปสู้กับใครได้, Count Unit: คน, Thai Definition: พลเมืองของประเทศที่ไม่ใช่ทหาร | พลเรือโท | (n) Vice Admiral, Example: เขาพ้นจากตำแหน่งทางการเมือง พร้อมกับการได้เลื่อนยศเป็นพลเรือโท, Count Unit: นาย, Thai Definition: ชื่อยศทหารเรือที่สูงกว่าพลเรือตรี แต่ต่ำกว่าพลเรือเอก | พลเรือตรี | (n) Rear Admiral, Example: เมื่อเขาได้เลื่อนขึ้นดำรงยศเป็น พลเรือตรี เขาก็ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองผู้บังคับการกองเรือรบ, Count Unit: นาย, Thai Definition: ชื่อยศทหารเรือที่ต่ำกว่าพลเรือโท | พลเรือเอก | (n) Admiral, Example: พลเรือเอกธีระ ห้าวเจริญ เข้ารับตำแหน่งสูงสุดของกองทัพเรือ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2541, Count Unit: นาย, Thai Definition: ยศระดับสูงสุดของนายทหารเรือ | ราชการพลเรือน | (n) civil service, Ant. ราชการทหาร, Example: พระองค์ทรงมีพระราชประวัติดีเด่นในด้านราชการพลเรือน | ข้าราชการพลเรือน | (n) civil servant, See also: government employee, government officer, civil official, Syn. ข้าราชการ, เจ้าหน้าที่รัฐ, Example: พ่อรับราชการเป็นเป็นข้าราชการพลเรือนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ปฏิบัติราชการในส่วนราชการที่ไม่ใช่การงานทางทหาร | สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน | (n) Office of the Civil Service Commission, Syn. ก.พ., Example: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนต้องการรับสมัครคัดเลือกข้าราชการเพื่อรับทุนรัฐบาลศึกษาในประเทศ |
|
| เจ้าพนักงานสนมพลเรือน | น. ข้าราชการในราชสำนัก ทำหน้าที่เกี่ยวกับพิธีศพ ทำสุกำศพหีบ จัดดอกไม้ ดูแลรักษาเครื่องนมัสการ โกศ หีบ เป็นต้น, สนม ก็เรียก. | พลเรือน | (พนละ-) น. ผู้ซึ่งไม่ใช่ทหาร. | พลเรือน | (พนละ-) ว. ที่ไม่ใช่ทหาร เช่น ข้าราชการพลเรือน. | กฎอัยการศึก | น. กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการของประชาชนได้ตามความจำเป็น ทั้งให้มีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน การใช้กฎอัยการศึกจะกระทำได้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล โดยจะให้มีผลบังคับทุกท้องที่หรือบางท้องที่ก็ได้ตามความจำเป็น. | กรม ๓ | แผนกใหญ่ในราชการ ตามลักษณะปกครองในสมัยโบราณ ซึ่งในปัจจุบัน เรียกว่า กระทรวง เช่น กรมพระกลาโหม คือ กรมฝ่ายทหาร เป็นกระทรวงกลาโหม, กรมมหาดไทย คือ กรมฝ่ายพลเรือน เป็นกระทรวงมหาดไทย, กรมเมือง หรือ กรมนครบาล รวมอยู่ในกระทรวงมหาดไทย, กรมวัง แยกเป็นกระทรวงวัง และกระทรวงยุติธรรม (ปัจจุบันกระทรวงวังไม่มีแล้ว), กรมพระคลัง แยกเป็นกระทรวงการคลัง และกระทรวงการต่างประเทศ, กรมนา เป็นกระทรวงเกษตราธิการ (ปัจจุบัน คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์). | กำหนด | บทบริหารบัญญัติคล้ายพระราช-กฤษฎีกา โดยมากเป็นบัญญัติที่เกี่ยวกับบุคคลหรือข้าราชการบางจำพวก เช่น พระราชกำหนดเครื่องแบบแต่งกายข้าราชการฝ่ายทหารและพลเรือน. | แก๊ป | น. ชื่อหมวกของทหารตำรวจหรือข้าราชการพลเรือนเป็นต้นที่มีกะบังหน้า เรียกว่า หมวกแก๊ป | ข้าราชการ | บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง ทบวง กรม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการการเมือง ข้าราชการครู ข้าราชการทหาร ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ. | ขีด | เรียกเครื่องหมายแสดงระดับชั้นของข้าราชการพลเรือน เช่น ข้าราชการชั้นตรีที่บ่ามีขีดใหญ่ ๑ ขีด | ขุนนาง | น. ลูกขุน, ข้าราชการฝ่ายทหารและพลเรือน แบ่งเป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่มีศักดินาตั้งแต่ ๔๐๐ ขึ้นไป และข้าราชการชั้นผู้น้อยมีศักดินาต่ำกว่า ๔๐๐. | จตุสดมภ์ | น. การจัดระเบียบราชการฝ่ายพลเรือนส่วนกลาง ประกอบด้วยกรมใหญ่ ๔ กรม คือ กรมเมือง กรมวัง กรมคลัง กรมนามีจตุสดมภ์เสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชาแต่ละกรม. | จอมพล | น. ยศทหารบกชั้นสูงสุด, ถ้าเป็นทหารเรือ เรียก จอมพลเรือ, ถ้าเป็นทหารอากาศ เรียก จอมพลอากาศ. | เจ้ากรม | น. หัวหน้ากรมในราชการฝ่ายทหาร, (โบ) หัวหน้ากรมราชการทั้งฝ่ายทหารและพลเรือน เช่น กรมพระแสงสรรพวุธ กรมพระคชบาล กรมราชบัณฑิต, หัวหน้ากรมของเจ้าต่างกรม. | ติดสนม | ก. ถูกกักบริเวณในเขตพระราชฐาน ใช้แก่พระราชวงศ์ฝ่ายในและข้าราชการฝ่ายใน โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของโขลน, ถูกกักบริเวณในวังที่ประทับ โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของพวกสนมพลเรือน ใช้แก่ผู้มีฐานันดรศักดิ์แห่งราชวงศ์หรือข้าทูลละอองธุลีพระบาทชั้นผู้ใหญ่. | โทษทางวินัย | น. โทษที่ลงแก่บุคลากรขององค์กรซึ่งปฏิบัติฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ทางวินัยขององค์กรที่กำหนดไว้ เช่น โทษทางวินัยของข้าราชการพลเรือนสามัญตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ได้กำหนดไว้ ๕ สถาน ได้แก่ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ปลดออก และไล่ออก. | นาวา ๑ | น. ยศทหารเรือหรือทหารอากาศชั้นสัญญาบัตร สูงกว่าเรือเอกหรือเรืออากาศเอก ตํ่ากว่าพลเรือตรีหรือพลอากาศตรี. | แนวหลัง | น. ผู้ที่ไม่ได้ไปรบด้วย ได้แก่พลเรือนผู้สนับสนุนอยู่ข้างหลัง. | พ่อเรือน | น. พลเรือน. | ภาคทัณฑ์ | (พากทัน) ก. ตำหนิโทษ, คาดโทษ, ลงโทษเพียงว่ากล่าว, ลงโทษข้าราชการพลเรือนโดยตำหนิโทษเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งเป็นการลงโทษขั้นเบาที่สุด. | มหาชัย | น. ชื่อเพลงไทยโบราณ อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ มี ๒ ท่อน อยู่ในเรื่องทำขวัญ ต่อมาแปลงเป็นทางฝรั่งใช้เป็นเพลงคำนับเมื่อบุคคลสำคัญมาถึงมณฑลพิธี, สำนักพระราชวังและข้อบังคับกระทรวงกลาโหมกำหนดให้ดุริยางค์บรรเลงเพลงมหาชัยรับและส่งเสด็จในพิธีการที่พระบรมวงศ์เสด็จพระราชดำเนินหรือเสด็จไปทรงเป็นประธาน และบรรเลงรับและส่งประธานในพิธีการที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และบรรเลงเป็นเพลงเคารพธงราชวงศ์เวลาผ่านหรือขึ้นลง นายทหารที่มียศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ. | เรือธง | น. เรือที่ผู้บัญชาการกองเรือ ซึ่งมียศตั้งแต่พลเรือตรีขึ้นไปใช้เป็นที่บังคับบัญชากองเรือ ชักธงตามยศของผู้บัญชาการนั้นไว้บนยอดเสาสูงสุดเพื่อให้เรือลำอื่นในกองเดียวกันสังเกตเห็นได้ชัดเจน. | ศาลทหาร | น. ศาลที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ ซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทำผิดเป็นบุคคลซึ่งอยู่ในอำนาจศาลทหาร เช่น ทหารพลเรือนที่สังกัดอยู่ในราชการทหาร. | ศาลาลูกขุนใน | น. ที่ประชุม ปรึกษา และสั่งราชการของคณะเสนาบดีฝ่ายพลเรือนและทหาร แบ่งเป็นศาลาลูกขุนในฝ่ายซ้ายสำหรับพลเรือน และศาลาลูกขุนในฝ่ายขวาสำหรับทหาร. | สนม ๒ | (สะหฺนม) น. ข้าราชการในราชสำนัก ทำหน้าที่เกี่ยวกับพิธีศพ ทำสุกำศพหีบ จัดดอกไม้ ดูแลรักษาเครื่องนมัสการ โกศ หีบ เป็นต้น, เจ้าพนักงานสนมพลเรือน ก็เรียก. | สมุหนายก | น. ตำแหน่งข้าราชการชั้นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือน ดูแลรับผิดชอบและเป็นประธานที่ประชุมเสนาบดีของฝ่ายพลเรือน รวมทั้งการปกครองและการยุติธรรมในหัวเมืองฝ่ายเหนือ. | สารวัตรทหาร | น. ทหารที่ได้รับคำสั่งจากผู้มีอำนาจสั่งใช้ให้ปฏิบัติหน้าที่ เช่น สอดส่อง ตรวจตรา ตักเตือน จับกุมทหาร ข้าราชการพลเรือนและคนงานสังกัดกระทรวงกลาโหมที่กระทำความผิดหรือไม่อยู่ในระเบียบวินัยซึ่งอยู่ภายนอกที่ตั้งหน่วยทหาร. | สุกำศพ | ก. การที่เจ้าพนักงานภูษามาลาหรือเจ้าพนักงานสนมพลเรือนเอาผ้าขาวห่อศพและใช้ด้ายดิบมัดตราสัง แล้วบรรจุศพลงโกศหรือหีบศพซึ่งมีกระดาษฟางปูรองรับ เช่น เจ้าหน้าที่จะสุกำศพ, ทำสุกำศพ ก็ว่า. | สุรัสวดี | ชื่อกรมมีหน้าที่จัดทำสารบาญชีไพร่บ้านพลเมือง และจัดสรรไพร่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนไปทำราชการตามกรมกองต่าง ๆ, เรียกเต็มว่า กรมพระสุรัสวดี. | หมวกแก๊ป | น. หมวกทหารตำรวจหรือข้าราชการพลเรือนเป็นต้นที่มีกะบังหน้า. | อมาตย์ | ลูกขุน, ขุนนาง, ข้าราชการฝ่ายพลเรือน. | อำมาตย-, อำมาตย์ | ลูกขุน, ขุนนาง, ข้าราชการฝ่ายพลเรือน. (ส. อมาตฺย; ป. อมจฺจ). |
| list, civil | ๑. เงินปีพระมหากษัตริย์, งบค่าใช้จ่ายส่วนพระมหากษัตริย์๒. งบเงินเดือนข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | status, civil service | สถานภาพข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | servant, civil | ข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | service, civil | ราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | officer, civil | ข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | office, civil | ตำแหน่งฝ่ายพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | aviation, civil | การบินพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil | ๑. แพ่ง๒. พลเรือน๓. เกี่ยวกับพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil | ๑. แพ่ง (ก. แพ่ง)๒. พลเรือน, เกี่ยวกับพลเมือง (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civil authority clause | ข้อกำหนดประกันความเสียหายที่เกิดจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civil service | ราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil service | ราชการพลเรือน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Civil Service Commission; Commission, Civil Service | คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Civil Service Commission | คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civil service status | สถานภาพข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil servant; civil officer | ข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil servant | ข้าราชการพลเรือน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | civil servant | ข้าราชการพลเรือน [ ดู civil officer ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civil aviation | การบินพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil aviation | การบินพลเรือน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civilian | พลเรือน, ฝ่ายพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civilian | พลเรือน, ฝ่ายพลเรือน, ฝ่ายคฤหัสถ์ (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civilian control; control, civilian | การควบคุมโดยพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil office | ตำแหน่งฝ่ายพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil office | ตำแหน่งฝ่ายพลเรือน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civil officer; civil servant | ข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil officer | ข้าราชการพลเรือน [ ดู civil servant ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | control, civilian; civilian control | การควบคุมโดยพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil list | ๑. เงินปีพระมหากษัตริย์, งบค่าใช้จ่ายส่วนพระมหากษัตริย์๒. งบเงินเดือนข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Commission, Civil Service; Civil Service Commission | คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil defence | การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil defence | การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | defence, civil | การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | defence, civil | การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| สุกำศพ | ้เป็นคำกิริยา หมายถึง อาการที่เจ้าพนักงานภูษามาลาหรือเจ้าพนักงานสนมพลเรือนเอาผ้าขาวห่อศพและใช้ด้ายดิบมัดตราสัง แล้วบรรจุศพลงโกศหรือหีบ ซึ่งมีกระดาษฟางปูรองรับ [ศัพท์พระราชพิธี] | Women in the civil service | สตรีในราชการพลเรือน [TU Subject Heading] | Civic action | กิจกรรมทางพลเรือน [TU Subject Heading] | Civil defense | การป้องกันพลเรือน [TU Subject Heading] | Civil service | ราชการพลเรือน [TU Subject Heading] | Civil service ethics | จรรยาบรรณข้าราชการพลเรือน [TU Subject Heading] | Civil service positions | ตำแหน่งข้าราชการพลเรือน [TU Subject Heading] | Civil-military relations | ความสัมพันธ์ระหว่างพลเรือนกับทหาร [TU Subject Heading] | Civilian relief | การบรรเทาทุกข์พลเรือน [TU Subject Heading] | Civilian use | การใช้ประโยชน์ทางพลเรือน [TU Subject Heading] | Convention on International Civil Aviation (1944) | อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ค.ศ. 1944) [TU Subject Heading] | Evacuation of civilians | การอพยพพลเรือน [TU Subject Heading] | Protection of civilians | การพิทักษ์สิทธิพลเรือน [TU Subject Heading] | ASEAN Conference on Civil Service Matters | การประชุมอาเซียนว่าด้วยกิจการพลเรือน [การทูต] | Thailand-Singapore Civil Service Exchange Programme | โครงการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานข้าราชการพลเรือนไทย-สิงคโปร์ [การทูต] | full dress uniform with sash and decoration | เครื่องแบบเต็มยศ ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด (ข้าราชการพลเรือน) [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | International Civil Aviation Organization | องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2490 โดยอนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (Convention on International Civil Aviation) มีวัตถุประสงค์ที่จะเป็นหน่วยงานกลางระหว่างประเทศสมาชิก ในการออกกฎ ระเบียบ และ ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการบินพลเรือน ปัจจุบันมีสมาชิก 185 ประเทศ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา " [การทูต] | International Civil Service Commission | คณะกรรมาธิการพนักงานพลเรือนระหว่างประเทศ [การทูต] | International Civil Aviation Organization | เรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ [การทูต] | militia | พลเรือนติดอาวุธ [การทูต] | Passport | หนังสือเดินทาง คือเอกสารทางราชการที่ใช้แสดงตัวและสัญชาติ ซึ่งทางราชการออกให้แก่บุคคลที่จะเดินทางไป หรือพำนักอยู่ชั่วคราวในต่างประเทศเมื่อสมัยก่อนสงครามโลกทั้งสองครั้ง ประเทศต่าง ๆ มิได้ขอให้คนต่างด้าวที่จะเข้าไปในประเทศของตนต้องมีหนังสือเดินทาง มีการเริ่มใช้หนังสือเดินทางอย่างแพร่หลายก็ในระยะหลังสงครามดังกล่าว ทุกวันนี้ ประเทศส่วนมากในโลกต่างต้องการให้คนต่างด้าวที่จะเดินทางเข้าไปในดินแดนของ ตนมีหนังสือเดินทางซึ่งได้รับการตรวจลงตรา (Visa) โดยถูกต้องจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนเสียก่อน อย่างไรก็ดี ทุกวันนี้ประเทศส่วนมากได้มอบอำนาจให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนในต่าง ประเทศเป็นผู้ออกหนังสือเดินทางได้ด้วยหนังสือเดินทางที่ใช้กันในปัจจุบันมี อยู่หลายประเภทอันได้แก่1. หนังสือเดินทางทูต (Diplomatic passports ) ออกให้แก่ผู้ที่มีตำแหน่งเอกอัครราชทูต อัครราชทูต เจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งทางการทูต รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น2. หนังสือเดินทางพิเศษ (Special passports) ออกให้ แก่ข้าราชการที่ไม่มีสถานะทางการทูต และบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น3. หนังสือเดินทางธรรมดา ( Regular passports ) ออกให้แก่บุคคลธรรมดา (Private persons) ซึ่งมีสิทธิจะขอหนังสือเดินทางดังกล่าวได้ตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของ ประเทศของตนมีบางประเทศได้ออกหนังสือเดินทางประเภทอื่น นอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาข้างต้นด้วยเหตุผลเฉพาะ เช่น ภายใต้ระบบของสหรัฐอเมริกา มีการออกหนังสือเดินทางที่เรียกว่า1. หนังสือเดินทางบริการ (Service passports) ออกให้แก่คนอเมริกัน หรือชนชาติที่สวามิภักดิ์ต่อสหรัฐอเมริกาที่อยู่ในต่างประเทศ2. หนังสือเดินทางบุคคลในครอบครัว (Dependent passports) ออกให้แก่บุคคลที่ถือหนังสือเดินทางนี้ในกรณีที่เดินทางไปชั่วคราว หรือพำนักอยู่นาน ๆ ในต่างประเทศในฐานะที่เป็นบุคคลในครอบครัวของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ หรือพลเรือนอเมริกันที่ยังรับราชการอยู่นอกเขตประเทศสหรัฐอเมริกา [การทูต] | peace keeping | การรักษาสันติภาพ " หมายถึง การส่งคณะเจ้าหน้าที่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนในนามของสหประชาชาติเข้าไปใน พื้นที่ที่มีความขัดแย้งโดยความยินยอมของ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำหน้าที่ดูแลให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงหยุดยิง หรือความตกลงสันติภาพ หรือกระบวนการแก้ไขปัญหาโดยวิถีทาง การเมือง " [การทูต] | War Crimes | อาชญากรรมสงคราม ตามกฎบัตรต่อท้ายความตกลงว่าด้วยการพิจารณาลงโทษ อาชญากรสางคามที่สำคัญ ๆ ของฝ่ายอักษะยุโรป (European Axis) การกระทำต่อไปนี้ถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามคือ การละเมิดกฎหมายหรือประเพณีของการสงคราม เช่น การฆ่า การปฏิบัติอันโหดร้าย หรือการขับคนไปทำงานเยี่ยงทาส หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใด ซึ่งกระทำต่อราษฎรพลเรือนของดินแดนที่ถูกยึดครอง การฆ่าหรือปฏิบัติอย่างโหดร้ายต่อเชลยศึกหรือบุคคลในท้องทะเล การฆ่าตัวประกัน การปล้นสะดมทรัพย์สินสาธารณะหรือส่วนบุคคล การทำลายล้างตัวเมืองหรือหมู่บ้าน ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่จำเป็นในแง่การทหาร [การทูต] | working uniform | " สำหรับข้าราชการพลเรือน หมายถึง เครื่องแบบปกติสีกากี คอพับ แขนยาว สำหรับข้าราชการตำรวจ/ทหาร หมายถึง เครื่องแบบปกติ คอพับ สีตามเหล่าทัพ " [การทูต] |
| การบินพลเรือน | [kānbin phon reūoen] (n, exp) EN: civil aviation FR: aviation civile [ f ] | นายพลเรือ | [nāi phon reūa] (n, exp) EN: admiral FR: amiral [ m ] | พลเรือน | [phonlareūoen] (n) EN: civil ; civilian ; noncombatant FR: civil [ m ] | พลเรือ | [phonreūa] (n) EN: rear admiral | พลเรือเอก | [phonreūa ēk] (n, exp) EN: admiral ; four-star admiral FR: amiral [ m ] | พลเรือตรี | [phonreūa trī] (n, exp) EN: rear admiral | ราชการพลเรือน | [rātchakān phonlareūoen] (n, exp) EN: civil service | สถาบันการบินพลเรือน | [sathāban kān bin phon reūoen] (n, exp) EN: civil aviation training center FR: centre de formation de l'aviation civile [ m ] | พล.อ. (พลเรือเอก) | [phølø.ø. (phonreūa ēk)] EN: Admiral ; Adm. FR: amiral [ m ] |
| | admiral | (n) พลเรือเอก | malfeasance | (n) การทุจริต (เช่น การเมืองหรือฝ่ายพลเรือน), See also: การกระทำผิดหรือการประพฤติผิดกฎหมาย, Syn. malpractice, misprision, misfeasance | mandarin | (n) ข้าราชการพลเรือน (ระดับสูง), Syn. bureaucrat | rear admiral | (n) นายทหารเรือยศพลเรือตรี | civvies | (sl) ชุดพลเรือน (ไม่ใช่เครื่องแบบ) (ทางทหาร) | seaman | (n) กะลาสี, See also: ลูกเรือ, พลเรือยศต่ำกว่าจ่าทหารเรือ, Syn. sailor, naval officer, seafarer, mariner | vice admiral | (n) พลเรือโท (ยศต่ำกว่า admiral และสูงกว่า rear admiral) |
| a. of f. | abbr. Admiral of the Fleet จอมพลเรือ | admiral | (แอด' มีเริล) n. นายพลเรือ, พลเรือเอก, หัวหน้าหน่วยเรือประมงหรือเรือสินค้า | air raid warden | พลเรือนที่หน้าที่เป็นตำรวจระหว่างสัญญาณเตือนภัยทางอากาศ | caesar | (ซี'ซาร์) n. ชื่อตำแหน่งของจักรพรรดิโรมัน, จักรพรรดิ, ผู้เผด็จการ, เจ้าหน้าที่พลเรือน, จูเลียสซีซาร์, Syn. tyrant | citizenry | n. ประชากรทั้งหลาย, พลเรือนทั้งหลาย | civic | (ซิฟ'วิค) adj. (เกี่ยวกับ) เมือง (นคร, กรุง) , เทศบาล, สัญชาติ, พลเรือน (พลเมือง, ประชากร) , ที่เป็นประโยชน์แก่เมือง | civies | (ซิฟ'วีซ) n., pl. เครื่องแต่งกายพลเรือน | civil | (ซิฟ'เวิล) adj. เกี่ยวกับพลเรือน (พลเมือง, ประชากร) อย่างพลเมืองที่ดี, เกี่ยวกับคดีแพ่ง, มีอารยธรรม, มีมารยาท, ไม่เกี่ยวกับศาสนา | civil aviation) | n. การบินพลเรือน | civil service | n. ราชการพลเรือน. | civilian | (ซิวิล'เยิน) n. พลเรือน, นักศึกษากฎหมายแพ่ง | commandeer | (คอมมันเดียร์') { commandeered, commandeering, commandeers } vt. เกณฑ์พลเรือนเข้าทำการรบหรือทำงานให้กับหน่วยทหาร, ยึดทรัพย์สินเอกชนเพื่อประโยชน์ทางทหารหรือเพื่อสาธารณประโยชน์, Syn. draft, conscript, impress | commodore | (คอม'มะดอร์) n. พลเรือจัตวา, นาวาเอกพิเศษ, ผู้บังคับการขบวนเรือพาณิชย์ขนาดใหญ่, ประธานหรือหัวหน้าสโมสรเล่นเรือ | militia | (มิลิช'ชะ) n. กลุ่มทหารกองหนุน, ชายที่มีอยู่ในระหว่างที่เข้าประจำการทหารได้, กลุ่มทหารพลเรือน (ต่างจากทหารอาชีพ) | militiaman | (มิลิช'ชะเมิน) n. ทหารกองหนุน, ทหารพลเรือน, ชายที่มีอายุอยู่ในระหว่างที่เข้าประจำการทหารได้ pl. militiamen | rear admiral | n. นายพลเรือตรี | vice admiral | n. พลเรือโท., See also: vice admiralty n. | vigilante | (วิจจะแลน'ที) n. สมาชิกกลุ่มพลเรือนที่ทำโทษอาชญากรแบบศาลเตี้ย | vigilantism | (วิจ'จะเลินทิสซึม) n. ลัทธิศาลเตี้ยที่ประกอบด้วยพลเรือน |
| | |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |