ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: รอบนอก, -รอบนอก- |
รอบนอก | (n) outside, See also: outer area, periphery, Example: มีทหารเฝ้ารักษาการณ์อยู่รอบนอกตัวอาคารเต็มไปหมด, Thai Definition: บริเวณที่อยู่ด้านนอก |
|
| ทอร์นาโด | น. ชื่อพายุประจำถิ่นชนิดหนึ่ง มีความรุนแรงมาก มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๒-๓ กิโลเมตร บริเวณศูนย์กลางพายุมีความกดอากาศต่ำมาก จึงทำให้อากาศรอบนอกที่พัดเข้าหาศูนย์กลางพายุมีความเร็วสูงมาก เมื่อเริ่มเกิดเมฆจะม้วนตัวเป็นรูปกรวยหรืองวงยื่นออกมาจากฐานเมฆ ส่วนมากเกิดในบริเวณตอนกลางของสหรัฐอเมริกาและทางตะวันตกของออสเตรเลีย, ลมงวง หรือ ลมงวงช้าง ก็เรียก. | ธงเยาวราชใหญ่ | น. ธงสำหรับองค์สมเด็จพระยุพราช มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส พื้นธงมี ๒ สี รอบนอกสีขาบ รอบในสีเหลืองกว้างยาวครึ่งหนึ่งของรอบนอก มีรูปพระครุฑพ่าห์สีแดงอยู่ตรงกลาง. | บาตรแก้ว | น. บาตรใหญ่ ๓ ใบ ถักเชือกรอบนอก ในพระราชพิธีกัตติเกยา. | เปลือกโลก | น. ส่วนของโลกที่เป็นของแข็งหุ้มห่ออยู่รอบนอกสุด ประกอบด้วย หิน ดิน และแร่ธาตุต่าง ๆ. | พายุทอร์นาโด | น. พายุประจำถิ่นขนาดเล็ก แต่มีความรุนแรงมาก มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๒-๓ กิโลเมตร บริเวณศูนย์กลางพายุมีความกดอากาศต่ำมาก จึงทำให้อากาศรอบนอกที่พัดเข้าหาศูนย์กลางพายุมีความเร็วสูงมาก เมื่อเริ่มเกิดเมฆจะม้วนตัวเป็นรูปกรวยหรืองวงยื่นออกมาจากฐานเมฆ ส่วนมากเกิดในบริเวณตอนกลางของสหรัฐอเมริกาและทางตะวันตกของออสเตรเลีย, ลมงวง หรือ ลมงวงช้าง ก็เรียก. |
| peripherad | สู่ขอบ, สู่ส่วนขอบ, สู่รอบนอก, สู่ส่วนปลาย, สู่นอกส่วนกลาง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | peripheral; peripheric | -ขอบ, -ส่วนขอบ, -รอบนอก, -ส่วนปลาย, -นอกส่วนกลาง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | peripheral | รอบนอก [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | peripheral vision | การเห็นรอบนอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | peripheric; peripheral | -ขอบ, -ส่วนขอบ, -รอบนอก, -ส่วนปลาย, -นอกส่วนกลาง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | periphery | ขอบ, ส่วนขอบ, ส่วนรอบนอก, ส่วนปลาย, ส่วนนอกส่วนกลาง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | periphery | ผิวรอบนอก [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | periphery | ๑. เส้นรอบนอก๒. ผิวทรงตัน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | pericyclic fibre; perivascular fibre | เส้นใยรอบนอกท่อลำเลียง [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | pericyclic sclerenchyma; perivascular sclerenchyma | สเกลอเรงคิมารอบนอกท่อลำเลียง [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | perivascular sclerenchyma; pericyclic sclerenchyma | สเกลอเรงคิมารอบนอกท่อลำเลียง [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | perivascular fibre; pericyclic fibre | เส้นใยรอบนอกท่อลำเลียง [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | peripheral cyanosis | อาการเขียวคล้ำส่วนขอบ, อาการเขียวคล้ำรอบนอก, อาการเขียวคล้ำส่วนปลาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | axonotmesis; neurapraxia; neurotmesis | ภาวะเส้นประสาทรอบนอกถูกตัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | cyanosis, peripheral | อาการเขียวคล้ำส่วนขอบ, อาการเขียวคล้ำรอบนอก, อาการเขียวคล้ำส่วนปลาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | vision, peripheral | การเห็นรอบนอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | neurotmesis; axonotmesis; neurapraxia | ภาวะเส้นประสาทรอบนอกถูกตัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | neurapraxia; axonotmesis; neurotmesis | ภาวะเส้นประสาทรอบนอกถูกตัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| ธงเยาวราชใหญ่ | ธงสําหรับองค์สมเด็จพระยุพราช มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส พื้นธงมี ๒ สี รอบนอกสีขาว รอบในสีเหลืองกว้างยาวครึ่งหนึ่งของรอบนอก มีรูปพระครุฑพ่าห์สีแดงอยู่ตรงกลาง [ศัพท์พระราชพิธี] | Gas centrifuge plant | โรงงานแบบหมุนเหวี่ยงแก๊ส, <font color="#8b0000"><em>โรงงานเสริมสมรรถนะยูเรเนียม</em></font>แบบหนึ่ง โดยการแยกไอโซโทปยูเรเนียม-238 และยูเรเนียม-235 ในรูปแก๊สเฮกซะฟลูออไรด์ออกจากกัน ด้วยการหมุนเหวี่ยงแก๊สที่ความเร็วสูงมากในเครื่องหมุนเหวี่ยงรูปทรงกระบอก ยูเรเนียม-238 ที่หนักกว่าจะเคลื่อนที่อยู่รอบนอกชิดกับผนัง [นิวเคลียร์] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | nervous system | ระบบประสาท, ระบบที่ควบคุมการทำงานและประสานงานของร่างกาย ประกอบด้วยระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทรอบนอกและระบบประสาทอัตโนมัติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | peripheral nervous system (PNS) | ระบบประสาทรอบนอก (พีเอ็นเอส), ระบบประสาทส่วนหนึ่งของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ประกอบด้วยเส้นประสาทไขสันหลังและเส้นประสาทสมอง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Glycocalyx | ชั้นเยื่อหุ้มรอบนอกสุด [การแพทย์] | Muscularis Externa | กล้ามเนื้อรอบนอกของกระเพาะ [การแพทย์] |
| รอบนอก | [ropnøk] (n) EN: periphery ; outskirts ; outside ; outer area FR: périphérie [ f ] ; banlieue [ f ] |
| contour | (n) เส้นขอบ, See also: เส้นรอบนอกที่แสดงรูปร่าง, โครงร่าง, Syn. outline, shape | outer | (adj) ที่อยู่รอบนอก, Syn. exterior, external, Ant. internal, interior | outline | (n) เส้นรอบนอก, See also: เส้นขอบ, Syn. contour, shape | outskirts | (n) พื้นที่รอบนอกของเมือง, See also: ชานเมือง | peripheral | (adj) ซึ่งอยู่ที่เส้นรอบวง, See also: เกี่ยวกับรอบนอก, Syn. external, surface, outer, roundabout | purlieu | (n) ขอบเขตรอบนอก, Syn. fringe, periphery | boondocks | (sl) พื้นที่ห่างไกลความเจริญ, See also: ชนบท, เขตรอบนอกเมือง, ชานเมือง | spoke | (n) ที่จับรอบนอกพวงมาลัยเรือ | sprawl | (n) เมืองที่ขยายออกไปรอบนอก, Syn. suburbia | suburb | (n) ชานเมือง, See also: รอบนอกเมือง, Syn. district, suburbia |
| fringe | (ฟรินจฺ) n. ฝอย, ตะเข็บ, รวง, พู่, ขอบ, ขอบรอบนอก, ริม. vt. ใส่ฝอย (ตะเข็บวง), Syn. trimming, border, edging | outline | (เอาทฺ'ไลนฺ) n. เค้าโครง, รูปร่าง, สัณฐาน, เค้าหน้า, เส้นรอบนอก, ภาพคร่าว ๆ , แผนผังสังเขป, ต้นร่าง. vt. ร่างเค้าโครง, สรุปความ, See also: outlines n., pl. ส่วนที่สำคัญข้อความสำคัญ, Syn. sketch, plan, draw | outlying | (เอาทฺ'ไลอิง) adj. ห่างไกล, นอกทาง, ห่างไกลจากศูนย์กลาง, รอบนอก, ชายแดน, นอกเรื่อง, นอกประเด็น, Syn. remote | outskirt | (เอาทฺ'สเคิร์ท) n. ชานเมือง, เขตภายรอบนอก, ขอบ, ริม | outwork | (เอาทฺเวิร์ค') vt. ทำงานได้ดีกว่า, ทำงานได้เร็วกว่า, ทำให้เสร็จ, ทำงานสำเร็จ. n. (เอาทฺ'เวิร์ค) สิ่งก่อสร้างป้องกันข้าศึกรอบนอกที่ง่าย ๆ, See also: outworker n. | periphery | (พะริฟ'เฟอรี) n. เส้นรอบวง, ผิวรอบนอก, ส่วนภายนอก, บริเวณปลายเส้นประสาท, ขอบเขต, ขอบนอก, Syn. perimeter | profile | (โพร'ไฟล์) n. รูปภายนอก, รูปโครงร่าง, รูปเส้นรอบนอก, รูปหน้าเสี้ยว, รูปด้านข้าง, โครงร่าง, ภาพเงา, การวินิจฉัยขบวนการ, ประวัติบุคคลโดยย่อ vt. วาดรูปดังกล่าว, บรร-ยายประวัติบุคคลโดยย่อ, วาดโครงร่าง, วาดภาพเงา., See also: profilist n. คำที่มีความหมายเหมือน | purlieu | (เพอ'ลู) n. ที่ดินตามชายป่า, บริเวณรอบนอก. purlieus สิ่งแวดล้อม, ละแวกใกล้เคียง, เขตสกปรกของเมือง, Syn. outskirts | slab | (สแลบ) n. แผ่นแบนกว้างที่ค่อนข้างหนาที่ทำด้วยวัตถุแข็ง, แผ่นหนา, แผ่นไม้ซุงที่เลื่อยตามขวางและมีเปลือกติดอยู่รอบนอก vt. ทำให้เป็นแผ่น, ปูด้วยแผ่นดังกล่าว, เลื่อยไม้ซุงตามขวางออกมาเป็นแผ่นหนา, Syn. plank, slice | suburb | (ซับ'เบิร์บ) n. ชานเมือง, รอบนอกเมือง, ส่วนที่อยู่รอบนอก., See also: suburbed adj. | suburban | (ซะเบิร์น'เบิน) adj. ชานเมือง, รอบนอกเมือง, คับแคบ, ลูกทุ่ง, เกี่ยวกับบริ-เวณชานเมืองหรือรอบนอกเมือง. n. ผู้ที่อาศัยอยู่แถวชานเมือง. = station wagon (ดู) |
| fringe | (vt) อยู่ตามขอบ, ขึ้นรอบนอก, ขึ้นเป็นแนว | outskirts | (n) รอบนอก, ขอบเขตภายนอก, ชานเมือง, ริม | periphery | (n) เส้นรอบวง, ผิวรอบนอก, ขอบนอก, ขอบเขต | suburb | (n) รอบนอกเมือง, ชานเมือง | suburban | (adj) เกี่ยวกับรอบนอก, เกี่ยวกับชานเมือง |
| brie | (n) บรี (เนยแข็งชนิดหนึ่ง มีแหล่งผลิตจากประเทศฝรั่งเศส ผิวนอกขรุขระ กรอบนอกนุ่มใน) |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |