ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -ช ๑-, *ช ๑* |
(Few results found for ช ๑ automatically try *ช ๑*) |
ช ๑ | พยัญชนะตัวที่ ๑๐ เรียกว่า ชอ ช้าง เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น ราช คช กริช แซนด์วิช. | กัมพุช ๑, กัมพุช- | (กำพุด, กำพุดชะ-) น. แคว้นเขมร, (โบ) ชื่อแคว้นหนึ่งทางตอนเหนือของอินเดีย, กัมโพช ก็ใช้. | นาคราช ๑ | (นากคะ-) น. พญางู | นาคราช ๑ | ชื่อเพลงไทย อัตราชั้นเดียว เรียกว่า ไส้เดือนฉกจวัก, เมื่อแต่งขยายขึ้นเป็นอัตรา ๒ ชั้น เรียกว่า นาคราช ๒ ชั้นหรือนาคราชแผ่พังพาน เมื่อแต่งขยายขึ้นเป็นอัตรา ๓ ชั้น เรียกว่า นาคราชแผลงฤทธิ์หรือไส้พระจันทร์ เมื่อนำมาทำเป็นเพลงเถา เรียกว่า ไส้พระจันทร์ เถา หรือนาคราชแผลงฤทธิ์ เถา. | นาคราช ๑ | ดูใน นาค ๑, นาค- ๑. | บวช ๑ | ก. ถือเพศเป็นภิกษุสามเณรหรือนักพรตอื่น ๆ. | ภุช ๑, ภุช- | (พุด, พุชะ-) น. แขน | ภุช ๑, ภุช- | งวงช้าง. | รัช ๑ | น. ธุลี, ฝุ่น, ผง, ละออง. | ราช ๑, ราช- | (ราด, ราดชะ-) น. พระเจ้าแผ่นดิน, พญา (ใช้แก่สัตว์) เช่น นาคราช คือ พญานาค สีหราช คือ พญาราชสีห์, คำนี้มักใช้ประกอบกับคำอื่น, ถ้าคำเดียวมักใช้ว่า ราชา. | วัช ๑ | น. วชะ, คอกสัตว์. | วิรัช ๑ | ว. ปราศจากธุลี, ไม่มีมลทิน, บริสุทธิ์, สะอาด. | จัตวาศก | น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๔ เช่น ปีจอ จัตวาศก จุลศักราช ๑๓๔๔. | จุลศักราช | น. ศักราชน้อย เริ่มตั้งภายหลังพุทธศักราช ๑๑๘๑ ปี (พุทธศักราชลบด้วย ๑๑๘๑ เท่ากับจุลศักราช). | ฉศก | (ฉอสก) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๖ เช่น ปีชวด ฉศก จุลศักราช ๑๓๔๖. | ตรีศก | น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๓ เช่น ปีระกาตรีศก จุลศักราช ๑๓๔๓. | โทศก | น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๒ เช่น ปีวอกโทศก จุลศักราช ๑๓๔๒. | นพศก | (นบพะ-) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๙ เช่น ปีเถาะนพศก จุลศักราช ๑๓๔๙. | นาคราชแผ่พังพาน | ดู นาคราช ๑. | นาคราชแผลงฤทธิ์ ๒ | ดู นาคราช ๑. | เบญจศก | น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๕ เช่น ปีกุน เบญจศก จุลศักราช ๑๓๔๕. | ภุชคะ, ภุชงค์, ภุชงคมะ | ดู ภุช ๑, ภุช-. | ภุชงคประยาต | ดู ภุช ๑, ภุช-. | ภุชา | ดู ภุช ๑, ภุช-. | ราชาธิปไตย | ดู ราช ๑, ราช-. | ราชาธิราช | ดู ราช ๑, ราช-. | ราชาภิเษก | ดู ราช ๑, ราช-. | ราชูปถัมภ์, ราโชปถัมภ์ | ดู ราช ๑, ราช-. | ราชูปโภค, ราโชปโภค | ดู ราช ๑, ราช-. | ราเชนทร์ | ดู ราช ๑, ราช-. | ราโชงการ | ดู ราช ๑, ราช-. | ราโชวาท | ดู ราช ๑, ราช-. | ราไชศวรรย์ | ดู ราช ๑, ราช-. | ศักราช | (สักกะหฺราด) น. อายุเวลาซึ่งกำหนดตั้งขึ้นเป็นทางการ เริ่มแต่จุดใดจุดหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นที่หมายเหตุการณ์สำคัญ เรียงลำดับกันเป็นปี ๆ ไป เช่น พุทธศักราช ๑, ๒, ๓, ... จุลศักราช ๑, ๒, ๓, ... (ตามความนิยมที่ใช้เป็นธรรมเนียมกันมา คำ ศักราช ในคำเช่น พุทธศักราช คริสต์ศักราช จะใช้ว่า ศก เป็น พุทธศก คริสต์ศก ก็ได้ แต่คำเช่น มหาศักราช จุลศักราช ไม่นิยมใช้ว่า มหาศก จุลศก ส่วนคำว่า รัตนโกสินทรศก ไม่นิยมใช้ว่า รัตนโกสินทรศักราช), (ปาก) โดยปริยายหมายความว่า ช่วงใดช่วงหนึ่งซึ่งเริ่มต้นเหตุการณ์สำคัญในชีวิตบุคคล เช่น เริ่มศักราชแห่งชีวิตใหม่ พอเรียนหนังสือจบก็เริ่มศักราชของการทำงาน. | สัปตศก | น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๗ เช่น ปีฉลูสัปตศก จุลศักราช ๑๓๔๗. | สัมฤทธิศก | (สำริดทิสก) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๐ เช่น ปีมะโรงสัมฤทธิศก จุลศักราช ๑๓๕๐, ปีสำเร็จ (ครบรอบ คือ ปีที่ ๑๐ ของรอบ ๑๐ ปีของจุลศักราช) ซึ่งตั้งต้นด้วยเอกศก โทศก เป็นลำดับไปจน นพศก แล้วสัมฤทธิศก เป็นครบรอบแล้วตั้งต้นใหม่. | ไส้เดือนฉกจวัก | ดู นาคราช ๑. | อัญชนะศักราช | น. ศักราชที่เริ่มตั้งก่อนพุทธศักราช ๑๔๗ ปี (อัญชนะศักราชลบด้วย ๑๔๗ เท่ากับพุทธศักราช). | อัฐศก | น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๘ เช่น ปีขาล อัฐศก จุลศักราช ๑๓๔๘. | เอกศก | (เอกกะ-) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๑ เช่น ปีมะแมเอกศก จุลศักราช ๑๓๔๑. |
| กัมพุช ๑, กัมพุช- | (กำพุด, กำพุดชะ-) น. แคว้นเขมร, (โบ) ชื่อแคว้นหนึ่งทางตอนเหนือของอินเดีย, กัมโพช ก็ใช้. | ช ๑ | พยัญชนะตัวที่ ๑๐ เรียกว่า ชอ ช้าง เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น ราช คช กริช แซนด์วิช. | นาคราช ๑ | (นากคะ-) น. พญางู | นาคราช ๑ | ชื่อเพลงไทย อัตราชั้นเดียว เรียกว่า ไส้เดือนฉกจวัก, เมื่อแต่งขยายขึ้นเป็นอัตรา ๒ ชั้น เรียกว่า นาคราช ๒ ชั้นหรือนาคราชแผ่พังพาน เมื่อแต่งขยายขึ้นเป็นอัตรา ๓ ชั้น เรียกว่า นาคราชแผลงฤทธิ์หรือไส้พระจันทร์ เมื่อนำมาทำเป็นเพลงเถา เรียกว่า ไส้พระจันทร์ เถา หรือนาคราชแผลงฤทธิ์ เถา. | นาคราช ๑ | ดูใน นาค ๑, นาค- ๑. | บวช ๑ | ก. ถือเพศเป็นภิกษุสามเณรหรือนักพรตอื่น ๆ. | ภุช ๑, ภุช- | (พุด, พุชะ-) น. แขน | ภุช ๑, ภุช- | งวงช้าง. | รัช ๑ | น. ธุลี, ฝุ่น, ผง, ละออง. | ราช ๑, ราช- | (ราด, ราดชะ-) น. พระเจ้าแผ่นดิน, พญา (ใช้แก่สัตว์) เช่น นาคราช คือ พญานาค สีหราช คือ พญาราชสีห์, คำนี้มักใช้ประกอบกับคำอื่น, ถ้าคำเดียวมักใช้ว่า ราชา. | วัช ๑ | น. วชะ, คอกสัตว์. | วิรัช ๑ | ว. ปราศจากธุลี, ไม่มีมลทิน, บริสุทธิ์, สะอาด. | จัตวาศก | น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๔ เช่น ปีจอ จัตวาศก จุลศักราช ๑๓๔๔. | จุลศักราช | น. ศักราชน้อย เริ่มตั้งภายหลังพุทธศักราช ๑๑๘๑ ปี (พุทธศักราชลบด้วย ๑๑๘๑ เท่ากับจุลศักราช). | ฉศก | (ฉอสก) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๖ เช่น ปีชวด ฉศก จุลศักราช ๑๓๔๖. | ตรีศก | น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๓ เช่น ปีระกาตรีศก จุลศักราช ๑๓๔๓. | โทศก | น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๒ เช่น ปีวอกโทศก จุลศักราช ๑๓๔๒. | นพศก | (นบพะ-) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๙ เช่น ปีเถาะนพศก จุลศักราช ๑๓๔๙. | นาคราชแผ่พังพาน | ดู นาคราช ๑. | นาคราชแผลงฤทธิ์ ๒ | ดู นาคราช ๑. | เบญจศก | น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๕ เช่น ปีกุน เบญจศก จุลศักราช ๑๓๔๕. | ภุชคะ, ภุชงค์, ภุชงคมะ | ดู ภุช ๑, ภุช-. | ภุชงคประยาต | ดู ภุช ๑, ภุช-. | ภุชา | ดู ภุช ๑, ภุช-. | ราชาธิปไตย | ดู ราช ๑, ราช-. | ราชาธิราช | ดู ราช ๑, ราช-. | ราชาภิเษก | ดู ราช ๑, ราช-. | ราชูปถัมภ์, ราโชปถัมภ์ | ดู ราช ๑, ราช-. | ราชูปโภค, ราโชปโภค | ดู ราช ๑, ราช-. | ราเชนทร์ | ดู ราช ๑, ราช-. | ราโชงการ | ดู ราช ๑, ราช-. | ราโชวาท | ดู ราช ๑, ราช-. | ราไชศวรรย์ | ดู ราช ๑, ราช-. | ศักราช | (สักกะหฺราด) น. อายุเวลาซึ่งกำหนดตั้งขึ้นเป็นทางการ เริ่มแต่จุดใดจุดหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นที่หมายเหตุการณ์สำคัญ เรียงลำดับกันเป็นปี ๆ ไป เช่น พุทธศักราช ๑, ๒, ๓, ... จุลศักราช ๑, ๒, ๓, ... (ตามความนิยมที่ใช้เป็นธรรมเนียมกันมา คำ ศักราช ในคำเช่น พุทธศักราช คริสต์ศักราช จะใช้ว่า ศก เป็น พุทธศก คริสต์ศก ก็ได้ แต่คำเช่น มหาศักราช จุลศักราช ไม่นิยมใช้ว่า มหาศก จุลศก ส่วนคำว่า รัตนโกสินทรศก ไม่นิยมใช้ว่า รัตนโกสินทรศักราช), (ปาก) โดยปริยายหมายความว่า ช่วงใดช่วงหนึ่งซึ่งเริ่มต้นเหตุการณ์สำคัญในชีวิตบุคคล เช่น เริ่มศักราชแห่งชีวิตใหม่ พอเรียนหนังสือจบก็เริ่มศักราชของการทำงาน. | สัปตศก | น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๗ เช่น ปีฉลูสัปตศก จุลศักราช ๑๓๔๗. | สัมฤทธิศก | (สำริดทิสก) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๐ เช่น ปีมะโรงสัมฤทธิศก จุลศักราช ๑๓๕๐, ปีสำเร็จ (ครบรอบ คือ ปีที่ ๑๐ ของรอบ ๑๐ ปีของจุลศักราช) ซึ่งตั้งต้นด้วยเอกศก โทศก เป็นลำดับไปจน นพศก แล้วสัมฤทธิศก เป็นครบรอบแล้วตั้งต้นใหม่. | ไส้เดือนฉกจวัก | ดู นาคราช ๑. | อัญชนะศักราช | น. ศักราชที่เริ่มตั้งก่อนพุทธศักราช ๑๔๗ ปี (อัญชนะศักราชลบด้วย ๑๔๗ เท่ากับพุทธศักราช). | อัฐศก | น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๘ เช่น ปีขาล อัฐศก จุลศักราช ๑๓๔๘. | เอกศก | (เอกกะ-) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๑ เช่น ปีมะแมเอกศก จุลศักราช ๑๓๔๑. |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |