ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -ระบาด-, *ระบาด* |
| ระบาด | ว. แพร่ไปอย่างรวดเร็ว, แพร่ไปอย่างกว้างขวาง, แพร่ไปทั่ว, เช่น ข่าวลือระบาด, ลักษณะของโรคติดต่อที่แพร่ไปอย่างรวดเร็วและกว้างขวางเป็นคราว ๆ ไป, เรียกโรคที่มีลักษณะเช่นนั้น ว่า โรคระบาด เช่น อหิวาตกโรคเป็นโรคระบาดชนิดหนึ่ง. |
|
| | ระบาด | [rabāt] (v) EN: spread out ; extend far and wide ; be scattered ; be dispersed ; be disseminated FR: se répandre ; se disperser ; se disséminer ; propager | ระบาด | [rabāt] (adj) EN: contagious FR: contagieux ; épidémique |
| SARS | (n) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือ ซาร์ส มาจากภาษาอังกฤษ เต็มๆ คือ Severe Acute Respiratory Syndrome เริ่มระบาดในช่วงต้นปี 2546 ในหลายประเทศ | Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) | pandemic | (n) โรคระบาด ที่มีการระบาดกระจายไปในพื้นที่ขนาดใหญ่ เช่น ทั่วประเทศ หลายประเทศในภูมิภาค หรือ กระจายไปทั่วโลก ถือเป็นระดับสูงสุดของการระบาด ที่เริ่มจาก endemic (โรคระบาดประจำถิ่น), outbreak (โรคระบาดประจำถิ่นที่มีการเพิ่มของผู้ป่วยผิดปกติ หรือ โรคใหม่ที่เริ่มการระบาด, epidemic (เริ่มแพร่ระบาดไปในวงกว้าง) และ pandemic (โรคระบาดไปทั่วทั้งประเทศ หรือ หลายพื้นที่ในโลก) |
| | asian flu | เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ที่เคยระบาดในอาเซีย., Syn. Asian influenza, Asiatic flu, Asiatic influenza | breakout | n. การแหกคุก, การฝ่าวงล้อม, การระบาดของโรค | computer virus | ไวรัสคอมพิวเตอร์หมายถึง โปรแกรมที่คนบ้า ๆ เขียนซ่อนไว้เพื่อทำลายโปรแกรม แฟ้มข้อมูลหรือ อุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติประการหนึ่ง คือ เกาะติดตามไปกับโปรแกรม หรือแฟ้มข้อมูลได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฟ้มข้อมูล command.com ทำให้มีการติดต่อระบาดไปในที่ต่างได้เหมือนเชื้อไวรัส สาเหตุของการติดไวรัส ก็คือมีการใช้จานบันทึกร่วมกัน ไวรัสเหล่านี้มักจะกำหนดมาให้เพิ่มความสามารถในการทำลายทุกครั้งที่เปิดเครื่อง หรือทุกครั้งที่ใช้โปรแกรมนั้น วิธีการป้องกันไวรัสในขั้นต้นก็คือ 1. อย่าใช้จานบันทึกของผู้อื่น หรือร่วมกับผู้อื่น2. ใช้โปรแกรมที่สามารถตรวจสอบและกำจัดไวรัสได้เป็นประจำ หรือทุกครั้งที่ใช้จานบันทึกในหน่วยบันทึก A: หรือ B: รวมทั้งจัดการใช้วัคซีนฉีดกันไว้ก่อน แม้ว่าในปัจจุบัน ไม่สู้จะได้ผลนัก เพราะมีไวรัสใหม่ ๆ เพิ่มมาทุกวัน (ดู vaccine) 3. จัดรูปแบบการบันทึกข้อมูล (format) ใหม่ วิธีนี้รับประกันได้ผลแน่นอน แต่ก็ต้องเข้าใจด้วยว่า ข้อมูลหรือโปรแกรมอื่นที่เก็บไว้แม้จะยังมิได้ติดไวรัสก็จะหายไปหมด พร้อมกับไวรัส | epidemic | (เอพพิเดม'มิเคิล) adj. เกี่ยวกับการระบาดเป็นครั้งคราวของโรค | epidemical | (เอพพิเดม'มิเคิล) adj. เกี่ยวกับการระบาดเป็นครั้งคราวของโรค | epidemiology | (เอพพิเดมมีออล'โลจี) n. ระบาดวิทยา., See also: epidemiological adj. ดูepidemiology epidemiologist n. ดูepidemiology | flare-up | (แฟล'อัพ) n. การลุกไหม้เป็นเพลิงโชติช่วงอย่างกะทันหัน, การปะทุขึ้นของอารมณ์หรือความคิดอย่างกะทันหัน, ช่วงเวลาที่สั้นมาก, การโด่งดังของชื่อเสียงที่สั้นมาก, การระบาดของโรคอย่างกะทันหัน, Syn. storm | outbreak | (เอาทฺ'เบรค) n. การระเบิดออก, การแตกออก, การประทุ, การพุ, การระบาด, การจลาจล | plague | (เพลก) n., vt. (ทำให้เกิด) โรคระบาดที่ทำให้เกิดการตายมาก, กาฬโรค, โรคห่า, ภัยพิบัติ, สิ่งที่น่ารำคาญ, See also: plaguer n. | rash | (แรช) adj. หุนหันพลันแล่น, ใจร้อน, ไม่รอบคอบ, ไม่ยั้งคิด, สะเพร่า n. ผื่นบนผิวหนัง (เช่นลมพิษ) , การระบาด, การแพร่หลาย., See also: rashess n., Syn. hasty, impetuous |
| anthrax | (n) โรคระบาดสัตว์ | catching | (adj) ติดต่อ, แพร่หลาย, ระบาด, ดึงดูด | epidemic | (adj) ที่ระบาด, ที่แพร่เชื้อ, ที่แพร่กระจาย | epidemic | (n) โรคระบาด, การแพร่, การระบาด | infect | (vt) ทำให้ติดเชื้อ, ระบาด, ติดต่อ, ทำให้ติดโรค | infection | (n) การติดเชื้อ, โรคติดต่อ, การระบาดของโรค, ภาวะติดเชื้อ | infectious | (adj) ติดต่อกัน, ระบาดถึงกัน, แพร่เชื้อ, ลาม | outbreak | (n) การระบาดของโรค, การระเบิดขึ้น, การปะทุ | pest | (n) โรคระบาด, โรคติดต่อ, สิ่งรบกวน, ตัวมาร | pestilence | (n) โรคระบาด, กาฬโรค |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |