ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ทางใจ, -ทางใจ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย |
|
| ทางใจ | (adj) mental, Syn. ทางจิต, Ant. ทางกาย, Example: เขาดูหมองเศร้าไป เพราะประสบกับความเจ็บปวดทางใจ |
| กรรมฐาน | (กำมะถาน) น. ที่ตั้งแห่งการงาน หมายเอาอุบายทางใจ มี ๒ ประการ คือ สมถกรรมฐาน เป็นอุบายสงบใจ และวิปัสสนากรรมฐาน เป็นอุบายเรืองปัญญา. | คับแค้น | ว. ลำบาก, ยากไร้, ฝืดเคือง, ลำบากเพราะถูกบีบคั้นทางใจหรือความเป็นอยู่. | จิตใจ | น. ใจ, อารมณ์ทางใจ, (ปาก) กะจิตกะใจ. | ที่พึ่ง | น. ผู้คุ้มครองช่วยเหลือ เช่น พ่อแม่เป็นที่พึ่งของลูก, สิ่งที่อาศัยยึดเป็นหลัก เช่น ได้ตำราเป็นที่พึ่ง, เครื่องยึดเหนี่ยวทางใจ เช่น ยึดพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง. | ทุจริต | (ทุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชั่ว, ถ้าเป็นความประพฤติชั่วทางกาย เรียกว่า กายทุจริต, ถ้าเป็นความประพฤติชั่วทางวาจา เรียกว่า วจีทุจริต, ถ้าเป็นความประพฤติชั่วทางใจ เรียกว่า มโนทุจริต. | โทสจริต | (โทสะจะหฺริด) น. ความประพฤติที่มีพื้นนิสัยหนักไปในทางใจร้อน หงุดหงิด โกรธง่าย, เป็นจริต ๑ ในจริต ๖. (ป.). (ดู จริต). | ธรรมารมณ์ | (ทำมา-) น. อารมณ์ที่ใจรู้, อารมณ์ที่เกิดทางใจ. | ธุร-, ธุระ | (ทุระ-) น. หน้าที่การงานที่พึงกระทำ, กิจในพระศาสนา มี ๒ อย่าง คือ การเล่าเรียน เรียกว่า คันถธุระ และ การปฏิบัติทางใจ เรียกว่า วิปัสสนาธุระ | นามธรรม | (นามมะทำ) น. สิ่งที่ไม่มีรูป คือ รู้ไม่ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย รู้ได้เฉพาะทางใจเท่านั้น, คู่กับ รูปธรรม. | ผัสส-, ผัสสะ | น. การกระทบ, การถูกต้อง, เช่น ผัสสะทางกาย ผัสสะทางใจ, การที่ตา หู จมูก ลิ้น และกาย กระทบกับรูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งที่รับรู้ได้ทางกาย เช่น ความสุขทางผัสสะ. | เพ่งกสิณ | ก. มุ่งเฉพาะอารมณ์ภายใน (ทางใจ). | มนินทรีย์ | น. ใจซึ่งเป็นใหญ่ในการรับรู้ธรรมารมณ์ คือ อารมณ์ที่เกิดทางใจ. | มโนกรรม | น. การกระทำทางใจ, การคิด, ความคิด. | มโนทุจริต | (มะโนทุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชั่วทางใจ มี ๓ อย่าง ได้แก่ ความโลภอยากได้ของของผู้อื่น ๑ ความพยาบาท ๑ ความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม ๑. | มโนสุจริต | (มะโนสุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชอบทางใจ มี ๓ อย่าง ได้แก่ ความไม่โลภอยากได้ของของผู้อื่น ๑ ความไม่พยาบาท ๑ ความเห็นถูกตามทำนองคลองธรรม ๑. | รูปธรรม | (รูบปะทำ) น. สิ่งที่รู้ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย อันได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งที่สามารถสัมผัสได้ด้วยกาย, คู่กับ นามธรรม คือสิ่งที่รู้ได้เฉพาะทางใจเท่านั้น | วิชชา | (วิด-) น. ความรู้แจ้ง เช่น วิชชา ๓ วิชชา ๘ ในพระพุทธศาสนา, วิชชา ๓ คือ ๑. บุพเพนิวาสานุสติญาณ (รู้จักระลึกชาติได้) ๒. จุตูปปาตญาณ (รู้จักกำหนดจุติและเกิด) ๓. อาสวักขยญาณ (รู้จักทำอาสวะให้สิ้น), ส่วนวิชชา ๘ คือ ๑. วิปัสสนาญาณ (ญาณอันนับเข้าในวิปัสสนา) ๒. มโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) ๓. อิทธิวิธิ (แสดงฤทธิ์ได้) ๔. ทิพโสต (หูทิพย์) ๕. เจโตปริยญาณ (รู้จักกำหนดใจผู้อื่น) ๖. บุพเพนิวาสานุสติญาณ ๗. ทิพจักขุ (ตาทิพย์) ๘. อาสวักขยญาณ. | อารมณ์ | ความรู้สึกทางใจที่เปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งเร้า เช่น อารมณ์รัก อารมณ์โกรธ อารมณ์ดี อารมณ์ร้าย |
| | Emotional Support | การระงับความเจ็บป่วยทางใจ [การแพทย์] | ตัวกระตุ้นทางใจ | ตัวกระตุ้นทางใจ, สิ่งที่ไปเร้าจิตใจให้เกิดการกระทำจัดการอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยที่สิ่งนั้นอาจสร้างผลดีหรือผลเสียได้หลายรูปแบบ เช่น ความสับสน (Confusion) ความกดดัน (Pressure) ความเครียด (Stress) ความคับข้องใจ (Frustration) ความขัดแย้ง (Conflict) เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ได้ย้ [สุขภาพจิต] |
| อารมณ์ทางใจ | [ārom thāng jai] (n, exp) EN: mind | ทางใจ | [thāng jai] (n, exp) EN: mental |
| | astrict | (แอสทริคท') vt. ผูกมัด, จำกัด, ผูกพัน (ทางใจหรือนิตินัย) . -astriction n. | compulsion | (คัมพัล'เชิน) n. การบีบบังคับ, การบังคับ, ภาวะที่ถูกบีบบังคับ, แรงกดดันที่ต้านไม่ได้ทางจิต (ควบคุมใจไม่อยู่) , แรงผลักดันทางใจ | compulsive | (คัมพัล'ซิฟว) adj. ซึ่งบีบบังคับ, เป็นเชิงบังคับ, เกี่ยวกับแรงผลักดันทางใจ n. ผู้ที่กระทำตามแรงผลักดันทางใจ., See also: compulsiveness n. ดูcompulsive, Syn. compelling | conquer | (คอง'เคอะ) { conquered, conquering, conquers } vt. ปราบ, เอาชนะด้วยกำลัง, ได้มาโดยกำลัง, พิชิต, ยึดได้, เอาชนะด้วยอำนาจทางใจ. vi. ได้ชัยชนะ ., See also: conquerableness n. ดูconquer conqueringly adv. ดูconquer, Syn. overcome, p | shock | (ชอค) n. การกระทบกระแทกอย่างกะทันหัน, อาการสะเทือน, อาการสะเทือนทางใจอย่างกะทันหัน, อาการตื่นตะลึง, ความสะดุ้งตกใจ, อาการสั่นกระตุก, อาการเป็นลม, อาการแน่นิ่งไปอย่างกระทันหัน. vt. ทำให้ตะลึงงัน, ทำให้สะดุ้งตกใจ, เขย่าขวัญ, ทำให้สะเทือน, กระทบอย่างแรง, ตีอย่างแรง. vi.ตะลึงงัน, สดุ้งตกใจ | shook-up | (ชูค'อัพ) adj. ถูกกระทบกระเทือนทางใจอย่างรุนแรง | susceptibility | (ซะเซพทะบิล'ลิที) n. ความรู้สึกไว, ความอ่อนแอทางใจ, การถูกกระทบกระเทือนทางใจได้ง่าย, อัตราการเป็นแม่เหล็ก, Syn. sensibility, vulnerability | telepathy | (ทะเลพ'พะธี) n. โทรจิต, การถ่ายทอดจิต, การติดต่อกันทางใจ, See also: telepathic adj. | yoke | (โยค) n. แอก (โดยเฉพาะแอกวัว) , เทียมคู่สัตว์เลี้ยงที่ร่วมแอกเดียวกัน, สิ่งที่คล้ายแอก, คานหิ้วน้ำ, นาบสะเอว, นาบไหล่, พันธะทางใจ, การผูกมัด, ด้ามหางเสื้อ, ตามขวาง, สัญลักษณ์แห่งการกดขี่, การกดขี่, เครื่องผูกมัด, =yolk vt. ใส่แอก, ใส่เทียม, เชื่อมต่อ, ทำเป็นคู่ vi. ใส่แอก, |
| compulsion | (n) แรงผลักดันทางใจ, การบีบบังคับ, แรงกดดัน | mental | (adj) ทางใจ, ในใจ, เกี่ยวกับจิตใจ | mentally | (adv) ทางจิตใจ, ทางความคิด, ทางใจ, ทางปัญญา | morally | (adv) ในทางศีลธรรม, ทางจรรยา, ในทางใจ, แท้ๆ | sentiment | (n) อารมณ์, ความรู้สึกทางใจ, ความคิดเห็น | spiritual | (adj) ทางพระ, ทางใจ, ภายใน, ในทางศาสนา, เกี่ยวกับใจ | susceptibility | (n) ความรู้สึกไว, ความอ่อนไหว, ความอ่อนแอทางใจ |
| 安らぎ | [やすらぎ, yasuragi] TH: ความสงบทางใจ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |