มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| กลับมาตายรัง | ก. ในที่สุดก็ต้องหวนกลับมาอยู่กับครอบครัวตามเดิม (ใช้แก่สามี) เช่น เขาไปไหนไม่รอด ต้องกลับมาตายรัง. | จนได้ | ว. ในที่สุดก็เป็นเช่นนั้น เช่น ห้ามแล้วยังไปทำอีกจนได้. | ซมซาน | ก. ไปหาที่พึ่งหรือที่พักพิง เพราะความบอบช้ำ หมดแรงหรือหมดหนทาง เช่น ในที่สุดเขาก็ซมซานกลับบ้านเกิด, ซาน หรือ ซานซม ก็ว่า. | ซานซม | ก. ไปหาที่พึ่งหรือที่พักพิง เพราะความบอบช้ำ หมดแรงหรือหมดหนทาง เช่น ในที่สุดเขาก็ซานซมกลับบ้านเกิด, ซาน หรือ ซมซาน ก็ว่า. | ดาย | โดด, เดี่ยว, เลย, ถ่ายเดียว, (มักใช้ในที่สุดประโยค). | ตายรัง | ว. ในที่สุดก็ต้องหวนกลับมาอยู่กับครอบครัวตามเดิม (ใช้แก่สามี) เช่น กลับมาตายรัง. | ทำไปทำมา | ก. ในที่สุด, ผลสุดท้าย, เช่น ทำไปทำมากลับได้กำไร ทำไปทำมาจวนติดตะราง. | ที่สุด | ว. สุดท้าย เช่น ในที่สุด | ปลายมือ | ว. ในที่สุด. | ไป ๆ มา ๆ | ว. ในที่สุด, ผลสุดท้าย, เช่น ไป ๆ มา ๆ ก็ต้องมาขอเงินพ่อใช้. | โภคยทรัพย์ | (โพกคะยะ-) น. สังหาริมทรัพย์ซึ่งเมื่อใช้ย่อมเสียภาวะเสื่อมสลายไปในทันใดเพราะการใช้นั้น หรือซึ่งใช้ไปในที่สุดย่อมสิ้นเปลืองหมดไป. | มวนหวาน | น. ชื่อผีเสื้อกลางคืนหลายชนิด หลายสกุล ในวงศ์ Noctuidae เป็นศัตรูพืชโดยใช้ปลายปากที่แข็งแรงเจาะเปลือกผลไม้ เช่น ส้ม เงาะ ลิ้นจี่ ลำไย เพื่อดูดกินน้ำข้างใน ทำให้เกิดรอยแผลเชื้อโรคเข้าได้ ผลไม้เน่าและร่วงในที่สุด ชนิดที่พบบ่อย คือ ชนิด Eudocima fullonia (Clerck), E. salaminia (Cramer) และ Purbia discrepans (Walker). | แม่สื่อแม่ชัก ไม่ได้เจ้าตัว เอาวัวพันหลัก | น. หญิงที่ไปติดต่อระหว่างชายหญิง แต่ไม่สำเร็จในที่สุดก็ตกเป็นภรรยาของชายนั้นแทน. | ยุคนธร | (-คนทอน) น. ชื่อภูเขาชั้นที่ ๑ ซึ่งเป็นชั้นในที่สุดในหมู่เขาสัตบริภัณฑ์ที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ, ใช้ ยุคันธร หรือ ยุคุนธร ก็มี. (ป., ส.). (ดู สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์). | ยุคันตวาต | (ยุคันตะ-) น. ลมในที่สุดยุค หมายความว่า ลมที่มาทำลายโลกเมื่อสิ้นยุค. | รู้สึก | ก. รู้ตัว เช่น ย่องไปข้างหลังอย่าให้เขารู้สึก หลับเป็นตายปลุกเท่าไรก็ไม่รู้สึก, รู้ด้วยการสัมผัส เช่น รู้สึกร้อน รู้สึกหนาว, รู้สำนึก เช่น เขารู้สึกตัวว่าทำผิด, เกิดอาการที่รู้ว่าเป็นสุขหรือทุกข์ เช่น รู้สึกสนุก รู้สึกซาบซึ้ง รู้สึกมึนศีรษะ, เกิดสังหรณ์ขึ้นในใจ เช่น รู้สึกว่าจะมีใครมาหา, มีแนวโน้มให้สันนิษฐานหรือคาดคะเนว่าจะมีอะไรเกิดขึ้น เช่น รู้สึกว่าสินค้าเกษตรจะมีราคาตกต่ำในปีนี้ ในที่สุดต้องยกเลิกเรื่องบางเรื่องเพราะรู้สึกว่าจะไปไม่รอด. | เริดร้าง | ก. ค่อย ๆ เหินห่างและทอดทิ้งไปในที่สุด. | ลงท้าย | ว. ในที่สุด เช่น พูดว่าจะให้เงิน ลงท้ายก็เหลว คนเราลงท้ายก็ต้องตายกันทุกคน, เรียกข้อความที่ลงท้ายจดหมาย เช่น ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง ว่า คำลงท้าย. | แล ๒ | ทีเดียว, ฉะนี้, (มักใช้ในที่สุดประโยคหรือข้อความ หรือคำลงท้ายคำประพันธ์) เช่น ยมพะบาลจับผู้หญิงผู้ชายจำให้ขึ้นจำให้ลงหากันดั่งนั้น หลายคาบหลายคราลำบากนักหนาแล (ไตรภูมิ), ห่อนข้าคืนสม แม่แล (ตะเลงพ่าย). | วงจรชีวิต | น. การเวียนว่ายตายเกิด, ลักษณาการของชีวิตที่มีพัฒนาการเป็นขั้น ๆ ไปตามลำดับและในที่สุดก็จะเวียนมาบรรจบ ณ จุดเริ่มต้นใหม่ แล้วเวียนซ้ำต่อไปอีก เช่น ผีเสื้อออกไข่ แล้วไข่กลายเป็นตัวหนอน หนอนกลายเป็นดักแด้ ดักแด้กลายเป็นผีเสื้อ แล้วผีเสื้อก็ออกไข่ ฯลฯ. | วัวพันหลัก | ว. อาการที่วกหรือย้อนกลับไปหาจุดเริ่มต้น เช่น ให้การเป็นวัวพันหลัก, ลักษณะที่วกหรือย้อนกลับไปหาบุคคลที่เป็นต้นตอผู้รับผิดชอบ (มักใช้ในทางชู้สาว) มาจากสำนวนเต็มว่า แม่สื่อแม่ชัก ไม่ได้เจ้าตัว เอาวัวพันหลัก หมายความว่า ชายที่ใช้แม่สื่อไปติดต่อหญิงที่ตนชอบ แล้วไม่ได้ตัวหญิงคนนั้น เลยเอาแม่สื่อนั้นเองเป็นภรรยา หรือผู้หญิงทำทีรับอาสาไปติดต่อหญิงคนใดคนหนึ่งให้แก่ชาย แต่ในที่สุดก็เอาตัวเองเข้าพัวพันจนได้ชายคนนั้นเป็นสามี. | โศกนาฏกรรม | (โสกะนาดตะกำ, โสกกะนาดตะกำ) น. วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือไม่สมหวัง ตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด เช่นเรื่องลิลิตพระลอ สาวเครือฟ้า โรเมโอ-จูเลียต, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทั่ว ๆ ไปที่เป็นเรื่องเศร้าสลดใจ เช่น ชีวิตของเขาเป็นเหมือนโศกนาฏกรรม เกิดในตระกูลเศรษฐี แต่สุดท้ายต้องตายอย่างยาจก. | สอนลูกให้เป็นโจร | ก. ไม่ว่ากล่าวอบรมสั่งสอนลูกให้เป็นคนดี เมื่อลูกไปลักขโมยของใครมาได้กลับชมเชยว่าเก่ง ในที่สุดลูกก็กลายเป็นโจร. | สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์ ๑ | (สัดตะบอริพัน, สัดตะพัน) น. ภูเขาที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุเป็นชั้น ๆ รวม ๗ ชั้น สูงลดหลั่นกันลงมาตามลำดับชื่อภูเขาชั้นในที่สุดจากเขาพระสุเมรุออกมา คือ ยุคนธร อิสินธร กรวิก สุทัสนะ เนมินธร วินตกะ อัสกัณ ระหว่างภูเขาแต่ละชั้นมีทะเลสีทันดรคั่น. | สุด | ว. ปลายหรือท้าย เช่น สุดแดน สุดแผ่นดิน ในที่สุด, ปลายทางใดทางหนึ่ง เช่น เหนือสุด ขวาสุด บนสุด |
| Young Ambassador of Virtue | ยุวทูตความดี " เป็นโครงการของกระทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับกระทรวงศึกษา- ธิการ เริ่มโครงการตั้งวันที่ 5 ธันวาคม 2542 เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม จริยธรรมและคุณธรรมในบรรดาเยาวชนไทย อันเป็นการเสริมคุณภาพของเยาวชนไทยให้มีครบทั้งความเก่ง ความดี และมีความสุข โดยหวังผลในที่สุดว่าคุณภาพของเยาวชนรุ่นใหม่ของไทยจะเป็นการเสริมสร้างพื้น ฐานความแข็งแกร่งแก่สังคมไทยและส่งเสริมให้ความสามารถในการแข่งขันของไทยใน โลกอนาคตมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในยุคโลกา- ภิวัฒน์ นอกจากการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีความรู้คู่คุณธรรมแล้ว โครงการยุวทูตความดียังส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนไทยและเยาวชนของ ประเทศต่าง ๆ โดยผ่านทางโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง (Sister schools - โรงเรียนในประเทศที่ต่างกันที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน) " [การทูต] | final perimeter | แนวเขตที่ยอมรับกันในที่สุด [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Iron Curtain | ม่านเหล็ก เป็นศัพท์ที่อดีตนายกรัฐมนตรีของอังกฤษ ผู้ล่วงลับไปแล้ว คือ เซอร์วินสตัน เชอชิลล์ เป็นผู้บัญญัติขึ้นหมายถึงเครื่องกีดขวางปิดกั้นเขต ซึ่งโซเวียตรัสเซียและประเทศคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออกไม่ยอมให้มีการ ติดต่อหรือเดินทางเข้าไปในอาณาเขตของประเทศดังกล่าว ที่เรียกกันว่า ประเทศหลังม่านเหล็ก เป็นปรากฏการณ์ทางการเมืองในระหว่างสงครามเย็น แต่ภายหลังที่ลัทธิคอมมิวนิสต์ล่มสลาย ม่านเหล็กก็พลอยหมดสภาพไปในที่สุด [การทูต] | budding | การแตกหน่อ, การแตกตา, การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแบบหนึ่ง เกิดขึ้นโดยส่วนของเซลล์ หรือกลุ่มเซลล์เจริญยื่นออกมาจากลำตัวหรือลำต้นเดิม แล้วค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงรูปร่างจนคล้ายตัวเดิมหรือต้นเดิม จากนั้นจะเจริญขึ้นเรื่อย ๆ จนในที่สุดสามารถจะดำรงชีวิตได้ด้วยตนเอง มักพบในสิ่งมีชีวิตชั้นต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | phagocytosis | ฟาโกไซโทซิส, กระบวนการที่เม็ดเลือดขาวทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมโดยการใช้เยื่อหุ้มเซลล์โอบล้อมเชื้อโรคไว้จนในที่สุดเชื้อโรคนั้นหลุดเข้าไปอยู่ในเซลล์และถูกย่อยทำลาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Addison's disease | โรคแอดดิสัน, โรคที่เกิดจากอะดรีนัลคอร์เทกซ์ถูกทำลายจนไม่สามารถ สร้างฮอร์โมนได้ อาการสำคัญของโรคคือ ซูบ ผอม ผิวหนังตกกระ ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของน้ำและเกลือแร่ต่าง ๆ ได้ กระเพาะและลำไส้ไม่ทำงานและถึงตายในที่สุด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | blast disease | โรคใบไหม้, โรคของพืชที่เกิดจากเชื้อราชนิดหนึ่ง ระยะแรกใบจะมีจุดสีน้ำตาลเกิดขึ้น ต่อมาจุดจะขยายกว้างออกไป ทำให้ใบแห้งและต้นพืชจะตายในที่สุด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | brown spot disease | โรคใบจุดสีน้ำตาล, โรคข้าวเกิดจากเชื้อราชนิดหนึ่ง ถ้าเกิดที่เมล็ดข้าวจะทำให้มีคุณภาพไม่ดี เมื่อนำไปสีจะหักง่ายและถ้าเกิดที่ใบของต้นกล้า จะมีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาลคล้ายรูปไข่ และถ้าเกิดมากจะทำให้ต้นกล้าตายในที่สุด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | yellow orange leaf disease | โรคใบสีส้ม, โรคชนิดหนึ่งของต้นข้าวเกิดจากเชื้อรา ใบข้าวจะเปลี่ยนสีเป็นสีเหลือง หรือสีเหลืองส้ม และจะชะงักการเจริญเติบโต แล้วตายไปในที่สุด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| ในที่สุด | [nai thīsut] (adv) EN: finally ; at last ; eventually ; lastly ; ultimately FR: finalement ; en définitive ; au final ; enfin |
| gloriosa lily | [กลอริโอซา ลิลี่] (n) ดองดึง, ก้ามปู เป็น ดอกไม้สกุลลิลลี่(Liliaceae, Lily Family) มีหัวใด้ดิน มี 6 กลีบ ดอกอ่อนสีเขียว พอบานจะเป็นสีเหลืองปลายกลีบเป็นสีแดง และเมื่อใกล้โรยจะเป็นสีแดงเข้ม และจะกลายเป็นฝักในที่สุด มีเกษรเพศผู้และเมียแยกกัน ออกดอกช่วงฤดูฝน Image: |
| after all is said and done | (idm) ในที่สุด, See also: สุดท้าย | at last | (idm) ในที่สุด, See also: สุดท้าย, ท้ายที่สุด, Syn. finally | at length | (idm) ในที่สุด, See also: สุดท้าย, ท้ายสุดนี้ | at some length | (idm) ในที่สุด, See also: สุดท้าย, ท้ายที่สุด | end up | (vi) ลงท้าย, See also: ในที่สุด, ลงเอย, สรุป | eventual | (adj) ที่เกิดขึ้นในขั้นสุดท้าย, See also: ซึ่งเกิดขึ้นในตอนท้าย, ซึ่งเกิดขึ้นในที่สุด, Syn. final, ultimate | eventually | (adv) ในที่สุด, Syn. ultimately, finally | finally | (adv) ในที่สุด, See also: จนแล้วจนรอด, ในท้ายที่สุด, ท้ายที่สุด, Syn. at last, eventually, ultimately, Ant. first, initially | in the long run | (idm) ในที่สุด, See also: ในระยะยาว | see the light | (idm) เข้าใจในที่สุด | in the end | (adv) ในที่สุด, See also: ท้ายที่สุด, สุดท้าย, Syn. finally, lastly | in time | (adj) ไม่ช้าก็เร็ว, See also: ในที่สุด, Syn. timely | in time | (adv) ไม่ช้าก็เร็ว, See also: ในที่สุด, Syn. timely, in due time | last | (adv) ในที่สุด, See also: โดยสรุป, Syn. finally, in conclusion | mortal | (n) ซึ่งต้องตายในที่สุด | ultimately | (adv) ท้ายที่สุด, See also: ตอนสุดท้าย, ในที่สุด, Syn. eventually |
| ad extremum | (อาด' เอคเทร ' มูม) Latin สุด, ที่สุด, ในที่สุด (to the extreme, finally) | all | (ออล) n., adj., adv. ทั้งหมด, จำนวนทั้งหมด, ทั้งมวล, ทั่วทุก, ตลอด, เท่าที่มีทั้งหมด, ล้วน, แท้, สูงสุด, ที่สุด. -above all ก่อนอื่น. -after all อย่างไรก็ตาม, ในที่สุด. -once and for all ในที่สุด. -all but เกือบจะ, จวนเจียน | dark horse | ม้ามืด, ม้าที่ไม่คาดคิดว่าจะชนะการแข่ง, คนที่ไม่คาดคิดกันว่าจะชนะ แต่ก็ชนะในที่สุด | eventual | (อีเวน'ชวล) adj. เกี่ยวกับผลสุดท้าย, ในที่สุด | final | (ไฟ'เนิล) adj. สุดท้าย, ในที่สุด, เด็ดขาด, เป็นการสรุป. n. สิ่งสุดท้าย, ตอนจบ | finally | (ไฟ'เนิลลี) adv. ในที่สุด, ในบั้นปลาย, โดยสรุป, โดยเด็ดขาด, Syn. ultimately | last | (ลาสทฺ) { lasted, lasting, lasts } adj., adv. สุดท้าย, ล่าสุด, สายสุด, โดยสรุป, ในที่สุด, ที่คงเหลืออยู่สิ่งเดียว, ก่อนสิ้นชีพ, ที่สุด, อย่างยิ่ง, คนเดียว, โดดเดี่ยว, ล่าสุด, ใหม่เอี่ยม, แต่ละ n. คนสุดท้าย, ตอนจบ, ข้อสรุป v. ต่อไป, ต่อเนื่อง, ยืนหยัด, ทนทาน. คำศัพท์ย่อย: | lastly | (ลาสทฺ'ลี) adv. ในที่สุด, โดยสรุป, สุดท้ายนี้ | once | (วันซฺ) adv. ครั้งหนึ่ง, ครั้งเดียว, แต่ก่อน adj. เมื่อก่อน, กาลก่อน conj. พอ....ก็, เมื่อไร...ก็, ถ้า....ก็ n. ครั้งหนึ่ง, โอกาสเดียว, ครั้งเดียว, -all at once ทันที, พร้อมกัน -Phr. (at once ทันทีพร้อมกัน) -Phr. (once and for all (once for all) ในที่สุด, เด็ดขาด, ท | soon | (ซูน) adv. ในไม่ช้า, ไม่นาน, มิช้ามินาน, เร็ว, ก่อนกำเนิด, ในอนาคตอันใกล้, รวดเร็ว, ฉับพลัน, พร้อมเพรียง, โดยเต็มใจ, ทันที, sooner of later ในที่สุด มิช้ามินาน, Syn. shortly | ultima | (อัล'ทะมะ) n. พยางค์สุดท้ายของคำ. adj. สุดท้าย, ในที่สุด, Syn. final |
| eventual | (adj) ในตอนท้าย, ในขั้นสุดท้าย, ท้ายที่สุด, ในที่สุด | eventually | (adv) ในที่สุด, ในบั้นปลาย, ในตอนท้าย, ลงท้าย | final | (adj) สุดท้าย, ในที่สุด, ที่สุด, จบ, ขั้นท้าย | finally | (adv) ในที่สุด, เด็ดขาด, ในบั้นปลาย, ในตอนท้าย | last | (adv) สุดท้าย, หลังสุด, ท้ายสุด, ล่าสุด, ในที่สุด | lastly | (adv) ในที่สุด, สุดท้ายนี้, โดยสรุป |
| in the course of time | (adv, phrase) ในที่สุด, Syn. eventually | ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 | ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 | ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 | ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
| 結局 | [けっきょく, kekkyoku] ในที่สุด ท้ายที่สุด ผลสุดท้าย(เป็นอันว่า) | 到頭 | [とうとう, toutou] ในที่สุด จนได้ | 溜飲が下がる | [りゅういんがさがる, ryuuingasagaru] (vi) สะใจ (มีความโกรธสะสมอยู่เต็ม แล้วในที่สุดก็ได้ระบายออกไป) |
| endlich | (adv) ในที่สุด เช่น Er kommt endlich. ในที่สุดเขาก็มาจนได้ | absegnen | (vt) |segnete ab, hat abgesegnet| อนุญาต, ยอมให้ เช่น Der Professor hat seine Doktorarbeit endlich abgesegnet. ในที่สุดศาสตราจารย์ก็ยอมให้งานปริญญาเอกของเขาผ่านได้, Syn. genehmigen | verlassen | (vt) |verläßt, verließ, hat verlassen, + etw./jmdn. (A)| ทอดทิ้ง, ละทิ้ง, ออกจาก เช่น Er hat die Stadt vor fünf Jahren verlassen. เขาออกจากเมืองนี้ไปเมื่อห้าปีก่อน, Er hat seine Frau endlich verlassen. ในที่สุดเขาก็ทิ้งภรรยาไป |
| quasistable | (adj) ซึ่งมีความมั่นคงที่ไม่แน่นอน , เกี่ยวกับภาวะหรือสิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลง หรือถูกทำลายในที่สุดแต่มีเสถียรภาพพอควร เนื่องจากการปลี่ยรแปลงนั้นเป็นไปอย่างช้าๆ, Syn. metastable |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |