(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา invenom มีน้อย ระบบจึงเลือกคำใหม่ให้โดยอัตโนมัติ: inventor) |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ Invenom | v. t. See Envenom. [ 1913 Webster ] | Inventor | n. [ L.: cf. F. inventeur. ] One who invents or finds out something new; a contriver; especially, one who invents mechanical devices, new drugs, new processes, or other useful objects or procedures. [ 1913 Webster +PJC ] | Inventorial | a. Of or pertaining to an inventory. -- In`ven*to"ri*al*ly, adv. Shak. [1913 Webster] | Inventory | n.; pl. Inventories [ L. inventarium: cf. LL. inventorium, F. inventaire, OF. also inventoire. See Invent. ] 1. An account, catalogue, or schedule, made by an executor or administrator, of all the goods and chattels, and sometimes of the real estate, of a deceased person; a list of the property of which a person or estate is found to be possessed; hence, an itemized list of goods or valuables, with their estimated worth. Hence: Any listing, as in a catalogue, of objects or resources on hand and available for use or for sale. Specifically, the annual account listing the stock on hand, taken in any business. [ 1913 Webster ] There take an inventory of all I have. Shak. 2. The objects contained on an inventory{ 1 }; especially: the stock of items on hand in any business, either for sale and not yet sold, or kept as raw materials to be converted into finished products. [ PJC ] 3. The total value of all goods in an inventory{ 2 }. [ PJC ] 4. The act of making an inventory{ 1 }. [ PJC ] Syn. -- List; register; schedule; catalogue. See List. [ 1913 Webster ] | Inventory | v. t. [ imp. & p. p. Inventoried p. pr. & vb. n. Inventorying. ] [ Cf. F. inventorier. ] To make an inventory of; to make a list, catalogue, or schedule of; to insert or register in an account of goods; as, a merchant inventories his stock. [ 1913 Webster ] I will give out divers schedules of my beauty; it shall be inventoried, and every particle and utensil labeled. Shak. [ 1913 Webster ] | inventorying | n. the act or process of making an inventory; making an itemized list of merchandise or supplies on hand. Syn. -- inventory, stocktaking. [ WordNet 1.5 ] |
| |
| inventor | (อินเวน'เทอะ) n. นักประดิษฐ์ | inventory | (อิน'เวนทอรี) n. รายการสิ่งของ, รายการทรัพย์สิน, รายการสินค้า, แคทตาล็อก, สิ่งของทรัพย์สินหรือสินค้าในรายการดังกล่าว, การทำรายการดังกล่าว. vt. ทำรายการสิ่งของ, สรุป. vi. เป็นมูลค่าเท่ากับ., See also: inventoriable adj. inventorial adj. |
| inventor | (n) ผู้ประดิษฐ์, นักประดิษฐ์, ผู้คิด | inventory | (n) บัญชีสิ่งของ, สินค้าคงคลัง, รายการสินค้า |
| inventory | สินค้าคงคลัง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | inventory | บัญชีทรัพย์สิน (ปพพ.) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Inventor | ผู้ประดิษฐ์ [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Inventor's Country Code | รหัสสัญชาติผู้ประดิษฐ์ [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Inventories | สินค้าคงคลัง [TU Subject Heading] | Inventories | การสำรวจหนังสือ [TU Subject Heading] | Inventories, Retail | สินค้าคงคลังในการขายปลีก [TU Subject Heading] | Inventors | นักประดิษฐ์ [TU Subject Heading] | Inventory | การสำรวจหนังสือ, Example: การสำรวจหนังสือ หมายถึง การติดตามสถานภาพของหนังสือที่ห้องสมุดมีให้บริการ เป็นการบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด เพื่อให้ทราบว่า หนังสือนั้น ยังคงอยู่ให้บริการที่ชั้นหรือไม่ และมีการจัดเรียงอย่างถูกต้องหรือไม่ หนังสือรายการใดที่มีการยืมออก สามารถตรวจสอบได้จากหลักฐานการยืมออก หรือมีปรากฏอยู่ในฐานข้อมูลห้องสมุด และเพื่อให้ตรวจสอบถึงสภาพของหนังสือที่ชำรุด สมควรได้รับการซ่อมแซม หรือควรจำหน่าย หรือควรซื้อมาทดแทน หรือ รายการใดที่สูญหายไป เป็นจำนวนเท่าใด ควรจะซื้อมาทดแทนหรือไม่ <p> <p> โดยปรกติแล้ว การสำรวจหนังสือจะจัดทำทุกปี อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง แต่ทั้งที่ขึ้นอยู่กับนโยบาย ความพร้อม และความเหมาะสมของห้องสมุดแต่ละแห่งด้วย <p> การดำเนินการ <p> 1. ก่อนการสำรวจหนังสือ ห้องสมุดมักจะประกาศให้ผู้ใช้ที่ยังมีหนังสือในครอบครองนำมาคืน เพื่อให้หนังสือทุกเล่มอยู่ในห้องสมุด และสะดวกแก่การสำรวจ กรณีนี้ จะเป็นการเตือนผู้ใช้ที่อ่านหนังสือเสร็จแล้ว ยังมิได้นำมาคืนห้องสมุด หรือเป็นการเตือนว่า หนังสือที่เคยยืมออกไปนั้น อ่านหรือใช้เสร็จแล้วหรือไม่ จะได้มีการพิจารณาให้นำมาคืน ในหลายห้องสมุดใช้นโยบายให้นำหนังสือมาคืนโดยไม่คิดค่าปรับหนังสือ ซึ่งทำให้มียอดการคืนหนังสือกลับมา หรือกรณีที่ผู้ใช้ยังจำเป็นต้องอ่านหรือใช้หนังสือนั้นๆ อยู่ ควรจะได้มีการติดต่อกับห้องสมุดเพื่อมีการบันทึก หรือให้มีการยืมกรณีพิเศษ ซึ่งเมื่อมีการสำรวจก็จะทราบสถานภาพของหนังสือนั้นๆ ว่าเป็นอย่างไร <p> 2. นำหนังสือทุกเล่มจัดเรียงขึ้นชั้นตามเลขหมู่ <p> 3. การสำรวจหนังสือกับรายการหลักฐานที่ห้องสมุดมีอยู่ นั้น มีการดำเนินการอยู่ 2 วิธี <p> แต่เดิม ที่ห้องสมุดยังคงใช้บัตรรายการนั้น จะใช้บัตรแจ้งหมู่ (Shelf list card) เป็นบัตรหลักฐานของหนังสือแต่ละรายการในการตรวจสอบ กล่าวคือ ผู้ปฏิบัติงานการสำรวจหนังสือ จะใช้บัตรแจ้งหมู่ เป็นหลักฐานในการอ่านหนังสือที่เรียงอยู่บนชั้น ว่าตรงกับบัตรแจ้งหมู่หรือไม่ โดยมีการตรวจสอบอย่างละเอียดว่า หนังสือที่ปรากฏตรงกันกับบัตรแจ้งหมู่นั้น มีจำนวนครบตามที่ปรากฏไว้ในบัตรแจ้งหมู่หรือไม่ ถ้ามีมากกว่า 1 ฉบับ บนชั้นหนังสืออยู่ครบถ้วนหรือไม่ ถ้าไม่ครบมีการลงหลักฐานไว้หรือไม่ ว่าฉบับนั้นอยู่ที่ใด เช่น อยู่ในระหว่างการส่งซ่อม หรือมีการยืมเป็นกรณีพิเศษ หรือมีการยืมออกไปโดยมิได้ติดต่อว่าเป็นการยืมกรณีพิเศษ และทำเครื่องหมายในบัตรแจ้งหมู่ พร้อมลงวันที่ ที่สำรวจไว้ <p> หมายเหตุ บัตรแจ้งหมู่ จะมีการลงรายการทางบรรณานุกรมเหมือนกับบัตรหลัก แต่จะมีการลงเลขทะเบียนของหนังสือ และจำนวนฉบับ กำกับไว้ ทำให้ทราบว่า หนังสือชื่อเรื่องนั้น มีกี่ฉบับ เลขทะเบียนใดบ้าง <p> เช่น <p> 00123 ฉ.1 / 31 ธ.ค. 53 (ใส่เครื่องหมาย / เพื่อแสดงว่า พบหนังสือฉบับที่ 1 และลงวันที่ที่สำรวจ) <p> 00124 ฉ.2 x 31 ธ.ค. 53 (ใส่เครื่องหมาย x เพื่อแสดงว่า ไม่พบหนังสือฉบับที่ 2 และลงวันที่ที่สำรวจ) <p> และอาจจะใช้กระดาษสีคลิปติดกับบัตรแจ้งหมู่ เพื่อให้ทราบว่าบัตรนั้นมีหนังสือที่ยังหาไม่พบหรือมีปัญหาที่รอการพิจารณาแก้ไขต่อไป (ทั้งนี้แล้วแต่ข้อตกลงของห้องสมุดแต่ละแห่ง) <p> ในปัจจุบัน ที่ห้องสมุึดใช้ระบบห้องสมุึดอัตโนมัตินั้น โดยระบบที่ใช้ในการบริหารจัดการฐานข้อมูลห้องสมุดนั้น จะมีฟังก์ชันของการสำรวจหนังสือมาด้วย เช่น ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Millennium : Circulation Module ฟังก์ชั่น Count-Use ทำให้สะดวกในการสำรวจหนังสือขึ้นมาก โดยเริ่มจากการสแกนบาร์โคดหนังสือ ตรวจสอบความถูกต้องของหนังสือให้ตรงกับฐานข้อมูล และเขียนสัญลักษณ์แสดงการสำรวจหนังสือ และ ปีที่สำรวจ ทุกเล่ม ในระบบยังมีฟังก์ชัน Create Lists เพื่อช่วยในการจัดทำรายงานการสำรวจหนังสือตามแต่ละวัตถุประสงค์ เช่น สำรวจหนังสือหาย สำรวจหนังสือเพื่อจำหน่ายหนังสือออก สำรวจหนังสือที่ไม่มีการใช้งานเพื่อจัดเก็บเข้าชั้นเก็บ เป็นต้น <p> ห้องสมุดบางแห่ง อาจจะพัฒนาโปรแกรมสำรวจหนังสือ ขึ้นมาใช้เอง แต่ก็อาศัยข้อมูลจากระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่ใช้อยู่ โดยการ create list รายการหนังสือตาม collection ที่ต้องการสำรวจจากระบบห้องสมุดอัตโนมัติ และ export ข้อมูลเป็นไฟล์ Excel ก่อนเข้าสู่โปรแกรมสำรวจหนังสือที่พัฒนาขึ้นมา และสแกนบาร์โคดหนังสือด้วยโปรแกรมสำรวจหนังสือ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับความสามารถของโปรแกรมสำรวจหนังสือ ในการตรวจสอบหนังสือกับรายการหนังสิอในระบบ ตรวจสอบความถูกต้องของการจัดเรียงหนังสือบนชัน ความถูกต้องของเลขเรียกหนังสือ และการทำรายงานผลการสำรวจ <p> 4. ถ้าพบหนังสือที่มีสภาพชำรุด ขาด หรือไม่พบบัตรแจ้งหมู่หรือรายการทางบรรณานุกรมในฐานข้อมูล ให้เอาหนังสือตั้งขึ้นเพื่อจะได้เป็นที่สังเกตได้ง่าย และเพื่อนำไปพิจารณาดำเนินการต่อไป เช่น หนังสือที่มีสภาพชำรด ต้องแยกออกมาเพื่อพิจารณาการซ่อม หรือถ้าซ่อมไม่ได้ ต้องซื้อมาทดแทนหรือหามาทดแทน (กรณีที่ไม่จำหน่ายในท้องตลาด) หรือ พิจารณาการจำหน่ายออก ในกรณีที่ไม่สามารถซ่อมได้ ไม่มีจำหน่าย หนังสือล้าสมัย และไม่มีสถิติการใช้ <p> กรณีที่พบหนังสือ แต่ไม่มีบัตรแจ้งหมู่หรือรายการทางบรรณานุกรม จะได้พิจารณาทำบัตรแจ้งหมู่ (ซึ่งอาจสูญหาย) หรือลงรายการในฐานข้อมูลต่อไป <p> 5. เก็บสถิติการสำรวจหนังสือ เช่น จำนวนหนังสือที่ไม่พบ หนังสือชำรุดที่ต้องซ่อม (ซ่อมแซมได้) จำนวนหนังสือที่ซ่อมแซมไม่ได้ (ต้องซื้อมาทดแทน หรือจำหน่ายออก) จำนวนหนังสือเก่า ล้าสมัย ต้องจำหน่ายออก <p> ประโยชน์ของการสำรวจหนังสือ <p> 1. มีการสำรวจหนังสือให้มีความถูกต้องกับรายการหลักฐาน (บัตรแจ้งหมู่/ฐานข้อมูลห้องสมุด) <p> 2. รายการหลักฐาน (บัตรแจ้งหมู่/ฐานข้อมูลห้องสมุด) มีความทันสมัย ครบถ้้วน สมบูรณ์ <p> 3. การจัดชั้นหนังสือถูกต้องตามระบบหมวดหมู่ <p> 4. สามารถประเมินคุณค่าหนังสือที่มีให้บริการในปัจจุบัน <p> บรรณานุกรม: <p> มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สำนักหอสมุด. 2555. องค์ความรู้ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสำรวจหนังสือ. [ ออนไลน์ ] : http://kmcorner.lib.cmu.ac.th/kmcorner/sites/default/files/BI%20Knowledge.pdf สืบค้นเมื่อ 31 ธันวาคม 2555. <p> Berthelot, Sue. Conducting an inventory in a computerized church library. [ Online ] : http://www.lifeway.com/Article/Church-library-ministry-conducting-an-inventory-in-a-computerized-church-librar. Accessed: 31/12/2012. <p> Berthelot, Sue. Conducting an inventory in a non-computerized church library. [ Online ] :http://www.lifeway.com/Article/Church-library-ministry-conducting-an-inventory-in-a-non-computerized-church-library. Accessed: 31/12/2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Inventory | สินค้าคงเหลือ [เศรษฐศาสตร์] | Inventory | สินค้าคงเหลือ [การบัญชี] | Inventory | ของคงคลัง [การแพทย์] |
| | Artist, inventor, sculptor, naturalist. | ศิลปิน, นักประดิษฐ์, ประติมากร , นักธรรมชาติวิทยา ชาวอิตาลี ในคริสตศตวรรษที่ 15 Pi (1998) | Suddenly, you... the fantasy, see her, your inventor, and she becomes your fantasy. | จินตนาการที่เห็นเธอนักประดิษฐ์ของคุณและเธอจะกลายเป็นจินตนาการของคุณ The Birdcage (1996) | What a chance for you to meet another great inventor. | โชคดีเราจะได้พบนักประดิษฐ์ผู้ยิ่งใหญ่ Around the World in 80 Days (2004) | So, Foggy, tell me. I heard you're an inventor. | ฟ็อกกี้ ผมได้ยินว่าคุณเป็นนักประดิษฐ์ Around the World in 80 Days (2004) | Well, I'm not an inventor, but I did develop a new way of irrigating dry land so that no one in my kingdom ever has to be hungry. | ผมไม่ใช่นักประดิษฐ์ แต่ผมคิดระบบชลประทาน เพื่อไม่ให้ประชาชนของผมอดอยาก Around the World in 80 Days (2004) | - I'm an inventor. | ฉันเป็นนักประดิษฐ์ Around the World in 80 Days (2004) | And I don't think my father, the inventor of Toaster Strudel, would be too pleased to hear about this. | และหนูไม่คิดว่าคุณพ่อ ที่เป็นคนประดิษฐ์เครื่องปิ้งขนมปัง จะยินดีที่ได้ฟังเรื่องนี้ Mean Girls (2004) | Yes, sir, he's a brilliant boy. An inventor. | ใช่ครับ เขาเก่งมาก เขาเป็นนักประดิษฐ์ด้วย Robots (2005) | Inventor. | นักประดิษฐ์เรอะ Robots (2005) | I wanna be an inventor. I wanna meet Bigweld. | ผมอยากเป็นนักประดิษฐ์ ผมอยากเจอกับคุณบิ๊กเวลด์ Robots (2005) | I'm an inventor. | ผมเป็นนักประดิษฐ์ Robots (2005) | Well, then how do they hire new inventors? | แล้วเขาจะจ้างนักประดิษฐ์ ใหม่ๆ ได้ไงล่ะ Robots (2005) |
| | ตำรับ | (n) creator, See also: inventor, Example: ขนมโบราณชนิดต่างๆ นับวันจะเลือนหายไปพร้อมกับเจ้าของตำรับ | ผู้ประดิษฐ์ | (n) inventor, See also: creator, originator, Example: กระทรวงได้จัดให้มีการมอบรางวัลเป็นกำลังใจให้แก่ผู้ประดิษฐ์ที่มีความคิดสร้างสรรค์ทุกคน, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่จัดทำขึ้นหรือคิดสร้างขึ้นใหม่ให้เหมือนของจริงหรือให้แตกต่างไปจากของธรรมชาติ | พัสดุ | (n) article, See also: inventory, things, supplies, goods, objects, Example: งานพัสดุรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุม การเบิกจ่ายพัสดุของสำนักงาน, Count Unit: ชิ้น, ประเภท, Thai Definition: สิ่งของเครื่องใช้ | ประคนธรรพ | (n) god of music, See also: inventor and heavenly musician of the lute, Syn. ประคนธรรพ์, ประโคนธรรพ์, ปรคนธรรพ, ประโคนธรรพ, เจ้าแห่งการดนตรี, Count Unit: องค์, Thai Definition: หัวหน้าคนธรรพ์ผู้เป็นเจ้าแห่งการดนตรี | นักประดิษฐ์ | (n) inventor, See also: author, originator, creator, Syn. ผู้ทำ, นักคิดค้น, Example: ดร.ดนัยเป็นนักประดิษฐ์ที่ได้รับรางวัลยอดเยี่ยมของปีนี้, Count Unit: คน |
| บัญชีพัสดุ | [banchī phatsadu] (n, exp) EN: inventory | การบริหารคลังพัสดุ | [kān børihān khlang phatsadu] (n, exp) EN: warehouse management ; inventory management | การควบคุมสินค้าคงเหลือ | [kān khūapkhum sinkhā khong leūa] (n, exp) EN: inventory control | การคุมสต๊อก | [kān khum satǿk] (n, exp) EN: inventory control | การทำเป็นตาราง | [kān tham pen tārāng] (n, exp) EN: tabulation ; census ; inventory | โละสินค้า | [lo sinkhā] (v, exp) EN: take stock ; take inventory | พัสดุ | [phatsadu] (n) EN: article ; inventory ; things ; supplies ; goods ; objects FR: fournitures [ fpl ; articles [ mpl ] | ผู้ให้กำเนิด | [phū hai kamnoēt] (n, exp) EN: founder ; initiator ; originator ; inventor FR: procréateur [ m ] (litt) | ผู้ประดิษฐ์ | [phūpradit] (n) EN: inventor FR: inventeur [ m ] | สินค้าคงเหลือ | [sinkhā khongleūa] (n, exp) EN: inventory |
| | | | Inventor | n. [ L.: cf. F. inventeur. ] One who invents or finds out something new; a contriver; especially, one who invents mechanical devices, new drugs, new processes, or other useful objects or procedures. [ 1913 Webster +PJC ] | Inventorial | a. Of or pertaining to an inventory. -- In`ven*to"ri*al*ly, adv. Shak. [1913 Webster] | Inventory | n.; pl. Inventories [ L. inventarium: cf. LL. inventorium, F. inventaire, OF. also inventoire. See Invent. ] 1. An account, catalogue, or schedule, made by an executor or administrator, of all the goods and chattels, and sometimes of the real estate, of a deceased person; a list of the property of which a person or estate is found to be possessed; hence, an itemized list of goods or valuables, with their estimated worth. Hence: Any listing, as in a catalogue, of objects or resources on hand and available for use or for sale. Specifically, the annual account listing the stock on hand, taken in any business. [ 1913 Webster ] There take an inventory of all I have. Shak. 2. The objects contained on an inventory{ 1 }; especially: the stock of items on hand in any business, either for sale and not yet sold, or kept as raw materials to be converted into finished products. [ PJC ] 3. The total value of all goods in an inventory{ 2 }. [ PJC ] 4. The act of making an inventory{ 1 }. [ PJC ] Syn. -- List; register; schedule; catalogue. See List. [ 1913 Webster ] | Inventory | v. t. [ imp. & p. p. Inventoried p. pr. & vb. n. Inventorying. ] [ Cf. F. inventorier. ] To make an inventory of; to make a list, catalogue, or schedule of; to insert or register in an account of goods; as, a merchant inventories his stock. [ 1913 Webster ] I will give out divers schedules of my beauty; it shall be inventoried, and every particle and utensil labeled. Shak. [ 1913 Webster ] | inventorying | n. the act or process of making an inventory; making an itemized list of merchandise or supplies on hand. Syn. -- inventory, stocktaking. [ WordNet 1.5 ] |
| | | |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |