มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ | กล้ามเนื้อ | (n) muscle, Syn. กล้าม, Example: นักวิ่งมาราธอนวิ่งมากเกินไปจนกล้ามเนื้อที่ต้นขาฉีก, Count Unit: มัด, Thai Definition: มัดเนื้อที่รวมกันเป็นก้อนๆ ในกายคนและสัตว์ | กล้ามเนื้อตา | (n) eye muscle, See also: ocular muscle, Example: ถ้าหากต้องมองสีต่างๆ สลับกันไปมาตลอด จะทำให้กล้ามเนื้อตาต้องคอยปรับอยู่ตลอดเวลา | กล้ามเนื้อหัวใจ | (n) cardiac muscle, Example: กล้ามเนื้อหัวใจเป็นกล้ามเนื้อที่มีลายแต่ทำงานภายนอกอำนาจจิต, Count Unit: มัด |
|
| เอ็นกล้ามเนื้อ | น. เอ็นชนิดที่ปลายใดปลายหนึ่งยึดกับกล้ามเนื้อ. | กระจัง ๒ | น. ชื่อปลานํ้ากร่อยชนิด Periophthalmodon schlosseri (Pallas) ในวงศ์ Gobiidae พบในบริเวณป่าชายเลน รูปร่าง การเคลื่อนไหว และความสามารถขึ้นมาพ้นนํ้าได้คล้ายปลาจุมพรวดซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า มีครีบอกเป็นกล้ามเนื้อใช้ต่างตีน ช่วยครีบหาง ทำรูลึกอยู่ในเลน เคลื่อนไหวได้รวดเร็วบนผิวเลนและผิวนํ้า ปีนเกาะบนที่ชันและกระโจนเป็นห้วง ๆ ได้ ขนาดยาวได้ถึง ๒๗ เซนติเมตร, กะจัง ก็เรียก. | กระตุก | อาการที่กล้ามเนื้อหดและยืดตัวขึ้นทันที เช่น เส้นกระตุก ขากระตุก. | กระหมิบ | อาการที่กล้ามเนื้อขอบปากทวารรัดตัวเข้ามา. (แผลงมาจาก ขมิบ). | กระเหม่น | (-เหฺม่น) ก. เขม่น คือ อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกเต้นเบา ๆ ขึ้นเอง ตามความเชื่อโบราณถือว่าเป็นนิมิตบอกเหตุร้ายหรือดีได้ เช่น กระเหม่นตา | กระแหม่ว | (-แหฺม่ว) ก. ผ่อนลมหายใจให้ท้องยุบลง, บังคับกล้ามเนื้อท้องให้ท้องยุบลง. | กล้าม | (กฺล้าม) น. มัดเนื้อที่รวมกันเป็นก้อน ๆ ในกายคนและสัตว์ เรียกว่า กล้ามเนื้อ | กะบังลม | น. แผ่นกั้นประกอบด้วยกล้ามเนื้อ เอ็นกล้ามเนื้อ และแผ่นพังผืด กั้นระหว่างช่องอกกับช่องท้อง ยืดและหดช่วยการหายใจ, คนทั่วไปเรียกบริเวณระหว่างหัวหน่าวกับสะดือ ว่า กะบังลม ด้วย. | กิริยาสะท้อน | น. การเคลื่อนไหวอย่างฉับพลันของกล้ามเนื้อที่ไม่อยู่ในอำนาจสั่งงานของสมอง เพื่อตอบสนองสิ่งกระตุ้น เป็นการหลีกเลี่ยงอันตรายหรือสิ่งรบกวน เช่นหดมือเมื่อถูกของร้อน. | กึ๋น | น. กระเพาะที่ ๒ ของสัตว์ประเภทสัตว์ปีก มีหน้าที่ย่อยอาหารต่อจากกระเพาะที่ ๑ ประกอบด้วยผนังที่มีกล้ามเนื้อหนาและเหนียวสำหรับบดอาหาร โดยมีหินก้อนเล็ก ๆ ที่กลืนเข้าไปเป็นเครื่องช่วย | เกร็ง | (เกฺร็ง) ก. ทำกล้ามเนื้อให้แข็ง เช่น เกร็งข้อ เกร็งแขน. | เกร็ง | (เกฺร็ง) ว. อาการที่กล้ามเนื้อเป็นต้นแข็งอย่างงอไม่ได้ เช่น มือเกร็ง เท้าเกร็ง. | เกลียวข้าง | น. กล้ามเนื้อที่สีข้าง. | เกลียวคอ | น. กล้ามเนื้อที่คอ สำหรับทำให้เอี้ยวคอได้สะดวก. | ขมิบ | อาการที่กล้ามเนื้อขอบปากทวารรัดตัวเข้ามา. | เขม่น | (ขะเหฺม่น) ก. อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกเต้นเบา ๆ ขึ้นเอง ตามความเชื่อโบราณถือว่าเป็นนิมิตบอกเหตุร้ายหรือดีได้, กระเหม่น ก็ว่า | แขม่ว | (ขะแหฺม่ว) ก. ผ่อนลมหายใจให้ท้องยุบลง, บังคับกล้ามเนื้อท้องให้ท้องยุบลง, กระแหม่ว ก็ว่า. | ไข้หวัดใหญ่ | น. โรคติดต่อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจ เกิดจากเชื้อไวรัส ผู้ป่วยมีไข้สูงมาก มีอาการหนาวสั่น ปวดกล้ามเนื้อและอ่อนเพลีย. | เคล็ด ๒ | (เคฺล็ด) ก. อาการที่กล้ามเนื้อแพลง เช่น ขาเคล็ด คอเคล็ด. | จับเส้น | ก. บีบนวดเพื่อให้กล้ามเนื้อคลายตัว | ฉีดยา | ก. เอายาฉีดเข้าไปในร่างกายทางใต้ผิวหนัง ทางกล้ามเนื้อ หรือทางเส้นเลือด. | ชัก ๒ | ก. อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกอย่างกะทันหันและรุนแรง มักมีอาการมือเท้าเกร็ง. | ตะคริว, ตะคิว | น. อาการหดตัวของกล้ามเนื้อและค้างอยู่ ทำให้เกิดการเจ็บปวด. | ตะโพก | น. ส่วนของร่างกายเบื้องหลังถัดบั้นเอวลงไป มีเนื้อเป็นกระพุ้งทั้ง ๒ ข้าง, กล้ามเนื้อส่วนบนที่นูนขึ้นของโคนขาสัตว์สองเท้าหรือโคนขาหลังของสัตว์สี่เท้า, สะโพก ก็ว่า. | ตาเดียว | น. ชื่อปลาในอันดับ Pleuronectiformes มีหลายชนิด หลายสกุล พบทั้งในทะเล นํ้ากร่อย และนํ้าจืด เมื่อเกิดใหม่ตาจะอยู่คนละข้างกันเหมือนลูกปลาทั่วไป แต่เมื่อเจริญเติบโตขึ้นกะโหลกจะบิดไปข้างใดข้างหนึ่ง เป็นผลให้กล้ามเนื้อข้างหนึ่งบิดตามไปด้วย จึงทำให้ตาทั้ง ๒ ข้างเหนี่ยวกันมาหรือเคลื่อนมาอยู่ด้านเดียวกัน มีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน เช่น ลิ้นหมา ลิ้นสุนัข ยอดม่วง ลิ้นควาย ลิ้นเสือ ลิ้นหมาหงอนยาว ใบไม้ ใบขนุน ซีกเดียว จักรผาน. | น่อง ๑ | น. กล้ามเนื้อที่อยู่ด้านหลังหน้าแข้ง. | เนื้อเยื่อ | น. กลุ่มของเซลล์ที่มักมีลักษณะเหมือนกัน ทำหน้าที่ร่วมกัน มีหลายชนิด เช่น เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ เป็นเนื้อเยื่อส่วนที่ช่วยให้อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายเคลื่อนไหวได้ เนื้อเยื่อบุผิว เป็นเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่บุผิวนอก บุผิวใน บุโพรง บุท่อ บุต่อมของอวัยวะ. | ปลี | (ปฺลี) น. ช่อดอกของกล้วยที่ยังมีกาบหุ้มอยู่ เรียกว่า หัวปลี, กล้ามเนื้อที่มีรูปลักษณะอย่างหัวปลี เช่น ปลีน่อง | ปอดเหล็ก | น. เครื่องกลไกสร้างด้วยโลหะ ใช้ทำให้เกิดการบีบและขยายของทรวงอกในการหายใจแทนการเคลื่อนไหวตามธรรมชาติในเมื่อมีอัมพาตของกล้ามเนื้อ เช่นในโรคโปลิโอ. | โปลิโอ | น. โรคกล้ามเนื้อลีบและอ่อนแรงหรือเป็นอัมพาต เพราะประสาทไขสันหลังอักเสบเนื่องจากเชื้อไวรัสประเภทหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า โปลิโอไวรัส, โรคไขสันหลังอักเสบ ก็เรียก. | พฤติกรรม | น. การกระทำหรืออาการที่แสดงออกทางกล้ามเนื้อ ความคิด และความรู้สึก เพื่อตอบสนองสิ่งเร้า. | พังผืด | น. เยื่อเหนียวที่ยึดกล้ามเนื้อให้ติดกัน, พั้งผืด ก็ว่า. | เพาะกาย | ก. บริหารร่างกายเพื่อให้กล้ามเนื้อแข็งแรงโดยวิธียกน้ำหนักเป็นต้น. | เมื่อย | ก. อาการเพลียของกล้ามเนื้อเมื่อทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งซ้ำ ๆ อยู่เป็นเวลานาน เช่น เดินอยู่นานจนเมื่อย เมื่อยมือเพราะเขียนหนังสือนาน. | ลูกสะบ้า | น. กระดูกมีลักษณะกลม ๆ แบน ๆ คล้ายลูกสะบ้า มีเอ็นยึดระหว่างกล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้ากับกระดูกหน้าแข้ง ประกอบเป็นส่วนนูนสุดของกระดูกหัวเข่า, สะบ้าหัวเข่า ก็ว่า. | ลูกหนู ๒ | น. ส่วนที่นูนขึ้นบนกล้ามเนื้อเวลาเอามือดึงหรือฟันที่แขน, ต่อมนํ้าเหลืองที่โตขึ้นและคลำได้เป็นก้อนบริเวณใต้หูใต้ขากรรไกรล่างและใต้คาง. | เล่นกล้าม | ก. บริหารร่างกายเพื่อเพาะกล้ามเนื้อให้ใหญ่แข็งแรง. | สลักเพชร | กล้ามเนื้อที่เกาะอยู่ระหว่างขอบกระดูกเชิงกรานตรงตะโพกกับหัวกระดูกต้นขาทำให้ขากางออกได้. | สะบ้าหัวเข่า | น. กระดูกมีลักษณะกลม ๆ แบน ๆ คล้ายลูกสะบ้า มีเอ็นยึดระหว่างกล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้ากับกระดูกหน้าแข้ง ประกอบเป็นส่วนนูนสุดของกระดูกหัวเข่า, ลูกสะบ้า ก็ว่า. | สะโพก | น. ส่วนของร่างกายเบื้องหลังถัดบั้นเอวลงไป มีเนื้อเป็นกระพุ้งทั้ง ๒ ข้าง, กล้ามเนื้อส่วนบนที่นูนขึ้นของโคนขาสัตว์สองเท้าหรือโคนขาหลังของสัตว์สี่เท้า, ตะโพก ก็ว่า. | สีกรุด | น. ชื่อปลาทะเลทุกชนิดในสกุล Pomadasysวงศ์ Haemulidae หรือ Pomadasyidae โดยเฉพาะชนิด P. maculatus (Bloch) ลำตัวป้อม แบนข้าง เกล็ดเป็นแบบเกล็ดหนาม บริเวณใต้คางมีรู ๒ รู ลำตัวสีเงิน ใกล้แนวสันหลังมีสีน้ำตาลอ่อนและมีแต้มสีน้ำตาลเข้มกระจายอยู่ตอนบนของลำตัว ปลาในสกุลนี้ทั้งขณะอยู่ในน้ำและเมื่อขึ้นพ้นน้ำจะทำเสียงได้จากการขบฟันที่บริเวณคอรวมทั้งการหดและขยายตัวของถุงลมและกล้ามเนื้อ โดยถุงลมยังทำให้เสียงก้องขึ้นอีกด้วย ขนาดยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร, มโหรี กระต่ายขูด กะทิขูด หรือ หัวขวาน ก็เรียก. | เส้นแข็ง | น. อาการที่กล้ามเนื้อตึงจนแข็งทำให้เลือดลมเดินไม่สะดวก | เส้นจม | น. อาการที่เส้นเลือดถูกกล้ามเนื้อที่ตึงแข็งกดให้อยู่ลึกลงไปกว่าปรกติ. | เส้นตึง | น. อาการที่กล้ามเนื้อตึงเกิดจากเลือดลมเดินไม่สะดวกหรือออกกำลังกายไม่ถูกวิธีเป็นต้น. | หูรูด | ปากช่องทวารหนักที่กล้ามเนื้อรัดตัวเข้ามาคล้ายปากถุงที่รูด, โดยปริยายเรียกผู้ที่พูดพล่าม พูดพล่อย หรือพูดโดยไม่ยั้งคิดเสียก่อนว่าอะไรควรพูดหรือไม่ควรพูด ว่า ปากไม่มีหูรูด. | เอ็น | น. กลุ่มหรือมัดเส้นใยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ซึ่งเรียงตัวในทิศทางเดียวเห็นได้ชัด และไม่มีกล้ามเนื้อยึดที่ปลาย, ชาวบ้านเรียก เส้นเอ็น. |
| partial ophthalmoplegia | อัมพาตกล้ามเนื้อกลอกตาบางมัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | paratonia | ภาวะกล้ามเนื้อตึงตัวผิดปรกติ, ภาวะความตึงตัวผิดปรกติ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | perimysium | เยื่อหุ้มกลุ่มใยกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pilomotor | ๑. -ทำให้ขนลุก๒. กล้ามเนื้อชันขน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pyomyositis | กล้ามเนื้ออักเสบเป็นหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | polymyositis | กล้ามเนื้ออักเสบหลายมัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pyloromyotomy | การตัดกล้ามเนื้อไพลอรัส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | lateral pterygoid muscle | กล้ามเนื้อเทอริกอยด์มัดนอก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | levator | กล้ามเนื้อยก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | levator of upper eyelid muscle; musculus levator palpebrae superioris | กล้ามเนื้อลืมตา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | respiratory spasm | ภาวะกล้ามเนื้อหายใจหดเกร็ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | relaxant | ๑. -ผ่อนคลาย, -หย่อน, -ลดความตึง๒. ยาคลายกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rigidity, muscle | สภาพกล้ามเนื้อแข็งเกร็ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | risorius muscle | กล้ามเนื้อแสยะยิ้ม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | syndrome, floppy infant | กลุ่มอาการทารกกล้ามเนื้อปวกเปียก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | superior pharyngeal constrictor muscle | กล้ามเนื้อหดคอหอยมัดบน [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | sarcous | -เนื้อ, -กล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sarc(o)- | เนื้อ, กล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sarc(o)- | เนื้อ, กล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | stethospasm | กล้ามเนื้อทรวงอกหดเกร็ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sthenometer; dynamometer; ergometer | มาตรกำลังกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sthenometry | การวัดกำลังกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spasticity | ภาวะหดเกร็ง (กล้ามเนื้อ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | skeletal muscle | กล้ามเนื้อโครงร่าง [ มีความหมายเหมือนกับ muscle, striated ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spasm, tonoclonic | อาการกระตุกรัว (กล้ามเนื้อ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spasm of accommodation | การหดเกร็งกล้ามเนื้อปรับตา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spasm, facial | อาการกล้ามเนื้อใบหน้ากระตุก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sesamoid | ๑. -รูปเมล็ดงา๒. กระดูกในเอ็นกล้ามเนื้อ [ มีความหมายเหมือนกับ bone, sesamoid ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sesamoid bone | กระดูกในเอ็นกล้ามเนื้อ [ มีความหมายเหมือนกับ sesamoid ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | subdeltoid | ใต้กล้ามเนื้อไหล่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sinew; tendon | เอ็นกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spastic | -หดเกร็ง (กล้ามเนื้อ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | stapedius muscle | กล้ามเนื้อดึงกระดูกรูปโกลน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sarcogenic; sarcopoietic | -สร้างเนื้อ, -สร้างกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sarcolemma | เยื่อหุ้มเส้นใยกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sarcopoietic; sarcogenic | -สร้างเนื้อ, -สร้างกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | synclonus | อาการกล้ามเนื้อกระตุกสั่นด้วยกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spasm, respiratory | ภาวะกล้ามเนื้อหายใจหดเกร็ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sphincter | ๑. หูรูด๒. กล้ามเนื้อหูรูด [ มีความหมายเหมือนกับ muscle, sphincter ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sphincter muscle | กล้ามเนื้อหูรูด [ มีความหมายเหมือนกับ sphincter ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sphincter oculi; muscle, orbicularis oculi | กล้ามเนื้อหลับตา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sphincter oris; muscle, orbicularis oris | (กล้ามเนื้อ)หูรูดปาก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sphincter vesicae | กล้ามเนื้อหูรูดกระเพาะปัสสาวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sheath, tendon | ปลอกเอ็นกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sense, muscle; myaesthesia; myesthesia; sense, muscular | การกำหนดรู้จากกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sense, muscular; myaesthesia; myesthesia; sense, muscle | การกำหนดรู้จากกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | strabismus, kinetic | ตาเหล่เหตุกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | supinator muscle | กล้ามเนื้อดึงหงาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | smooth muscle; muscle, non-striated | กล้ามเนื้อเรียบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | striated muscle | กล้ามเนื้อลาย [ มีความหมายเหมือนกับ muscle, skeletal ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Electromyography | การบันทึกคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Muscle strength training | การฝึกกำลังกล้ามเนื้อ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Cardiomyopathy, Hypertrophic | โรคกล้ามเนื้อหัวใจหนา [TU Subject Heading] | Electromyography | การบันทึกคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Fascia lata | เนื้อเยื่อหุ้มกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Injections, Intramuscular | การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Muscle contraction | กล้ามเนื้อหดตัว [TU Subject Heading] | Muscle relaxants, Central | ยาคลายกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Muscle spasticity | ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง [TU Subject Heading] | Muscle strength | กำลังกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Muscle, skeletal | กล้ามเนื้อโครงร่าง [TU Subject Heading] | Muscles | กล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Muscular fatigue | ความล้าของกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Musculoskeletal diseases | โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก [TU Subject Heading] | Musculoskeletal manipulations | การดัดดึงทางระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก [TU Subject Heading] | Musculoskeletal system | ระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก [TU Subject Heading] | Myocardial infarction | กล้ามเนื้อหัวใจตาย [TU Subject Heading] | Myocardial ischemia | กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด [TU Subject Heading] | Myofascial pain syndromes | กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืด [TU Subject Heading] | Myofibroma | เนื้องอกกล้ามเนื้อชนิดเซลล์เยื่อเหนียว [TU Subject Heading] | Myometrium | กล้ามเนื้อมดลูก [TU Subject Heading] | Neoplasms, Muscle tissue | เนื้องอกเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Neuromuscular blockade | การระงับความรู้สึกที่จุดเชื่อมต่อระหว่างเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Oculomotor muscles | กล้ามเนื้อโอคูโลมอเตอร์ [TU Subject Heading] | Pyomyositis | กล้ามเนื้ออักเสบเป็นหนอง [TU Subject Heading] | Respiratory muscles | กล้ามเนื้อหายใจ [TU Subject Heading] | Tendinitis | เอ็นกล้ามเนื้ออักเสบ [TU Subject Heading] | Abdominal Muscles | กล้ามเนื้อหน้าท้อง, กล้ามเนื้อท้อง [การแพทย์] | Abdominal Pressure | แรงจากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง [การแพทย์] | Abductor Digital Quintl | กล้ามเนื้อกางนิ้วก้อย [การแพทย์] | Abductor Group | กล้ามเนื้อกลุ่มทางด้านนอก [การแพทย์] | Abductor Hallucis | กล้ามเนื้อกางหัวแม่เท้า [การแพทย์] | Abductor Pollicis Brevis | กล้ามเนื้อกางหัวแม่มือมัดสั้น [การแพทย์] | Abductor Pollicis Longus | กล้ามเนื้อกางหัวแม่มือมัดยาว [การแพทย์] | Abscess, Psoas | ฝีชั้นในกล้ามเนื้อ, ฝีข้างกระดูกสันหลัง, ฝีในกล้ามเนื้อป์โซแอส [การแพทย์] | Accessory Muscles | กล้ามเนื้อช่วยหายใจ [การแพทย์] | Accessory Muscles of Respiration | กล้ามเนื้อของระบบหายใจส่วนอื่นๆ, กล้ามเนื้อช่วยการหายใจอื่นๆ [การแพทย์] | Achilles Tendon | เอ็นร้อยหวาย, เอ็นอะคิลลิส, กลุ่มของกล้ามเนื้อเอ็นร้อยหวาย [การแพทย์] | Adductor Group | การเกร็งของกล้ามเนื้อขา [การแพทย์] | Adductor Hallucis | กล้ามเนื้อหุบหัวแม่เท้า [การแพทย์] | Adductor Longus | แอดดัคเตอร์ลองกัส, กล้ามเนื้อต้นขาด้านใน [การแพทย์] | Adductor Muscle | กล้ามเนื้อทำหน้าที่หุบเข้า [การแพทย์] | Adductor of Hip | กล้ามเนื้อหุบข้อตะโพก [การแพทย์] | Adductor Pollicis | หุบหัวแม่มือชิดกับนิ้วอื่นๆ, กล้ามเนื้อหุบหัวแม่มือ [การแพทย์] | Adductor Tubercle | ปุ่มที่เกาะของกล้ามเนื้อหุบขาบนกระดูกต้นขา [การแพทย์] | Adductor Tuberosity | ปุ่มที่เกาะของกล้ามเนื้อหุบขาบนกระดูกต้นขา [การแพทย์] | Adductors | ดึงเข้าหาแกนของร่างกาย, กล้ามเนื้อหุบแขน, อาการหุบเข้า [การแพทย์] | Adenomyosis | เยื่อบุมดลูกเจริญเข้าไปในกล้ามเนื้อมดลูก, เนื้องอกแอดดิโนไมโอซิส [การแพทย์] |
| ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ | [chītyā khao klāmneūa] (v, exp) EN: intramuscular injection FR: faire une injection intramusculaire | ครีมบรรเทาอาการปอดกล้ามเนื้อ | [khrīm banthāo ākān pøt klāmneūa] (n, exp) EN: analgesic cream FR: pommade analgésique [ f ] | กล้ามเนื้อ | [klāmneūa] (n) EN: muscle FR: muscle [ m ] ; biceps [ m ] ; tissu musculaire [ m ] | กล้ามเนื้อหัวใจ | [klāmneūa hūajai] (n, exp) EN: cardiac muscle | กล้ามเนื้อกะบังลม | [klāmneūa kabang-lom] (n, exp) EN: diaphragm FR: diaphragme [ m ] | กล้ามเนื้อลาย | [klāmneūa lāi] (n, exp) EN: reticular muscle | กล้ามเนื้อเรียบ | [klāmneūa rīep] (n, exp) EN: smooth muscle | กล้ามเนื้อตา | [klāmneūa tā] (n, exp) EN: ciliary muscle FR: muscle ciliaire [ m ] | กล้ามเนื้อท้อง | [klāmneūa thøng] (n, exp) EN: abdominal muscles FR: abdominaux [ mpl ] | ภายในกล้ามเนื้อ | [phāinai klāmneūa] (adj) EN: intramuscular FR: intramusculaire | ระบบกล้ามเนื้อ | [rabop klāmneūa] (n, exp) EN: muscular system FR: système musculaire [ m ] | ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก | [rabop klāmneūa lae kradūk] (n, exp) EN: musculoskeletal system | เซลล์กล้ามเนื้อ | [sel klāmneūa] (n, exp) EN: muscle cell FR: cellule musculaire [ f ] |
| myositis | (n) อาการกล้ามเนื้ออักเสบเรื้อรัง | diaphram | [ได'อะแฟรม] (n) กะบังลม, แผ่นของกล้ามเนื้อที่กั้นระหว่างช่องท้องกับทรวงอก | Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
| actin | (n) โปรตีนในกล้ามเนื้อ | adductor | (n) กล้ามเนื้อที่ดึงเข้าสู่แกนร่างกาย | beef | (n) กำลังกล้ามเนื้อ, See also: อำนาจ, พละกำลัง | biceps | (n) กล้ามเนื้อด้านหน้าของแขนส่วนบน | blubber | (n) ชั้นไขมันที่อยู่ระหว่างชั้นกล้ามเนื้อและหนังของปลาวาฬ | bodybuilding | (n) การสร้างกล้ามเนื้อให้ใหญ่และแข็งแรงด้วยการออกกำลัง | brawn | (n) กล้ามเนื้อ, See also: กำลังกล้ามเนื้อ, Syn. muscle | brawny | (adj) ซึ่งมีกล้ามเนื้อแข็งแรง | contracture | (n) การหดตัวของกล้ามเนื้อ | crick | (n) อาการเจ็บจากกล้ามเนื้อตึง, Syn. spasm, cramp, kink | erector | (n) กล้ามเนื้อที่ยกส่วนต่างๆ ของร่างกาย | fibrillate | (vi) สั่นระริก (กล้ามเนื้อ) | fibrillate | (vi) ทำให้สั่นระริก (กล้ามเนื้อ) | fibrillation | (n) การสั่นระริกของกล้ามเนื้อ | fibroid | (n) เนื้องอกซึ่งประกอบด้วยเส้นใยและกล้ามเนื้อเรียบ | flex | (vt) เกร็ง (กล้ามเนื้อ) | glycogen | (n) สารไกลโคเจนซึ่งเก็บไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อ | grand mal | (n) โรคลมบ้าหมูที่มีการหมดสติ กล้ามเนื้อเกร็ง น้ำลายฟูมปาก | intercostal | (n) กล้ามเนื้อที่อยู่ระหว่างซี่โครง | kink | (n) อาการปวดกล้ามเนื้อ (คำไม่เป็นทางการ), Syn. mascular spasm | labor | (n) กระบวนการในการคลอดบุตร (โดยเฉพาะเมื่อกล่าวถึงการหดตัวของกล้ามเนื้อ), Syn. parturition | labour | (n) กระบวนการในการคลอดบุตร (โดยเฉพาะการหดตัวของกล้ามเนื้อ), Syn. parturition | motor | (adj) เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ | muscle | (n) กล้ามเนื้อ, See also: กล้าม, Syn. fiber, flesh, meat | muscle | (n) กำลังของกล้ามเนื้อ, See also: กำลังวังชา, ความแข็งแรง, Syn. brawn | muscle-bound | (adj) ซึ่งทำให้กล้ามเนื้อยืดขยาย, Syn. athletic | muscly | (adj) ซึ่งมีกล้ามเนื้อใหญ่และแข็งแรงมาก | muscular | (adj) เกี่ยวกับกล้ามเนื้อ | muscular dystrophy | (n) โรคกล้ามเนื้อเสื่อม | muscularity | (n) การมีกล้ามเนื้อ | muscularly | (adv) เกี่ยวกับกล้ามเนื้อ | musculature | (n) ระบบกล้ามเนื้อ, Syn. grip | musculoskeletal | (adj) เกี่ยวกับส่วนที่ติดกันของกระดูกและกล้ามเนื้อ | myalgia | (n) อาการปวดกล้ามเนื้อ | myalgic | (adj) ซึ่งมีอาการปวดกล้ามเนื้อ | myopathy | (n) ความผิดปกติของเซลล์กล้ามเนื้อ | myoscope | (n) เครื่องมือตรวจการหดตัวของกล้ามเนื้อ | orthopaedic | (adj) เกี่ยวกับกระดูกและกล้ามเนื้อ, Syn. orthopaedics | orthopaedics | (n) การรักษากระดูกและกล้ามเนื้อ, Syn. orthopaedic | orthopedic | (adj) เกี่ยวกับการรักษากระดูกและกล้ามเนื้อ | osteopathic | (adj) เกี่ยวกับการรักษาโรคกระดูกและกล้ามเนื้อ | pectoralis | (n) กล้ามเนื้ออก, Syn. pectoral muscle | pull in | (phrv) เก็บเข้า (กล้ามเนื้อ), See also: หดกล้าม, Syn. hold in, keep in | rheumatic | (adj) เกี่ยวกับโรคปวดตามข้อและกล้ามเนื้อ, See also: เกี่ยวกับโรคไขข้ออักเสบ, Syn. arthritic, gouty | sartorius | (n) กล้ามเนื้อแคบและยาวที่ทอดเฉียงทางด้านหน้าของสะโพก | scalenus | (n) กล้ามเนื้อบริเวณก้านคอ | spasm | (n) การชักกระตุกของกล้ามเนื้อ, See also: การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ, อาการกล้ามเนื้อ, Syn. contraction, convulsion, seizure | suspensory | (n) เส้นเอ็นพยุง, See also: เส้นเอ็นหรือกล้ามเนื้อที่พยุงร่างกายอยู่, Syn. ligament, muscle | taut | (adj) เกร็ง (เช่น กล้ามเนื้อเกร็ง), Syn. tense | tendon | (n) เส้นเอ็นที่ยึดกล้ามเนื้อและกระดูก, See also: เอ็น, เส้นเอ็น, Syn. cord, ligament |
| abasia | (อะเบ' เชีย) การที่ไม่สามารถจะเดินได้เพราะขาดการประสานกันของกล้ามเนื้อ | abducent nerve | ควบคุมการหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อภายนอกลูกตา | abductor | กล้ามเนื้อที่ดึงออกห่างจากแกนกลาง | achilles tendon anat. | เส้นเอ็นที่เชื่อมระหว่างกล้ามเนื้อน่องกับกระดูกส้นเท้า | actin | (แอค' ทิน) globulin ที่เกี่ยวกับการหดตัวของกล้ามเนื้อ | actomyosin | (แอคโทไม' โอซิน) n., Biochem. โปรตีนเชิงซ้อนที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของกล้ามเนื้อลายหรือกล้ามเนื้อกระดูก มันทำปฏิกริยากับ ATP ทำให้กล้ามเนื้อบีบตัวได้ (a complex protein) | adductor | (อะดัค' เทอะ) n. กล้ามเนื้อที่ดึงAdelaide (แอด' ดิเลด) ชื่อเมืองในออสเตรเลีย | amyosthenia | กล้ามเนื้อขาดกำลัง | amyotrophy | กล้ามเนื้อฝ่อลีบ | antagonist | (แอนแทก' โกนิสทฺ) n. ผู้ต่อต้าน, ผู้เป็นปรปักษ์, ศัตรู, กล้ามเนื้อที่ต้านกล้ามเนื้ออื่น, ยาต้านฤทธิ์, Syn. opponent, adversary | aponeurosis | (แอพพะนิวโร'ซิส) n. (Pl. -ses) แผ่นกล้ามเนื้อยืดต่อที่ยึดกล้ามเนื้อกับกระดูกหรือเนื้อเยื่ออื่น. -aponeurotic adj. | ataxia | (อะแทค'เซีย, -ซี) n. ภาวะกล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน (โดยเฉพาะกล้ามเนื้อแขนขา) . -ataxic adj. เดินโซเซ | atony | (แอท'โทนี) n. การไร้ความตึงตัว, การไร้พลังงาน, ความอ่อนเพลียของกล้ามเนื้อ, การไม่เน้น | atp | abbr. adenosine triphosphate เป็นแหล่งของพลังงานของร่างกาย (โดยเฉพาะการบีบตัวของกล้ามเนื้อ) | beef | (บีฟ) { beefed, beefing, beefs } n. เนื้อวัว, เนื้อควาย, วัวสำหรับฆ่าเป็นอาหาร, กำลังกล้ามเนื้อ, อำนาจ, พละกำลัง, น้ำหนัก, การบ่น vi. บ่น, See also: beef up ทำให้แข็งแรง, เพิ่มกำลัง, เพิ่มจำนวน | biceps | (ไบ'เซพซฺ) n. กล้ามเนื้อลูกหนูที่โคนแขน | blepharospasm | กล้ามเนื้อรอบเบ้าตากระตุก | blubber | (บลับ'เบอะ) n. เปลวไขมันระหว่างผิวหนังและกล้ามเนื้อของปลาวาฬ, การร้องไห้สะอึกสะอื้น vi. ร้องไห้สะอึกสะอื้น adj. บวม, โป่งออก, เป็นมัน, See also: blubberer n., Syn. weep | brawn | (บรอน) n. กล้ามเนื้อ, กำลังกล้ามเนื้อ, นื้อสุกร, เนื้อหมูป่าเค็ม | brawny | (บรอ'นี) adj. แข็งแรง, กล้ามเนื้อเป็นมัด, See also: brawniness n. ดูbrawny | catalepsy | (แคท'ทะเลพซี) n. ภาวะการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อในร่างกายบางส่วน/ทำให้ร่างอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งชั่วขณะ, See also: cataleptic adj. ดูcatalepsy | cataplexy | n. ช็อคที่เกิดขึ้นอย่างกระทันหัน ซึ่งกล้ามเนื้อไร้กำลังและคนไข้ล้มลง | chalasia | n. การยับยั้งหรือผ่อนคลายการหดตัวของกล้ามเนื้อ | chalasis | n. การยับยั้งหรือผ่อนคลายการหดตัวของกล้ามเนื้อ | ciliary muscle | กล้ามเนื้อปรับเลนส์ตา | clonic | adj. เกี่ยวกับการกระตุกสั่นของกล้ามเนื้อ, See also: clonism n. clonicity n. | clonus | n. การกระตุกสันของกล้ามเนื้อ | compressor | (คัมเพรส'เซอะ) n. ผู้อัด, สิ่งอัด, กล้ามเนื้อที่กดส่วนหนึ่งของร่างกาย, เครื่องยนต์ที่มีลูกสูบหรือเครื่องปั๊ม | constrictor | n. งูที่สามารถรัดเหยื่อให้ตาย, กล้ามเนื้อที่บีบตัว, ผู้บีบ, สิ่งหรือเครื่องบีบ | contractor | (คอน'แทรคเทอะ) n. ผู้ทำสัญญา, สิ่งที่หดตัว, กล้ามเนื้อที่หดตัว | contracture | n. การหดตัวของกล้ามเนื้อเนื่องจากอาการเกร็งตัว แผลเป็นหรืออัมพาต | convulse | (คันวัลสฺ') { convulsed, convulsing, convulses } vt. สั่นสะเทือนอย่างรุนแรง, ทำให้สั่นสะเทือนอย่างรุนแรงด้วยการหัวเราะ (ความโกรธ ความเจ็บปวด หรืออื่น ๆ) , ทำให้กล้ามเนื้อเกร็งตัวอย่างรุนแรง, ทำให้ชัก | convulsion | (คันวัล'เชิน) n.อาการชักกระตุก, การหดเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง, การสั่นอย่างรุนแรง, การหัวเราะท้องแข็ง, Syn. fit, spasm, tremor | convulsive | (คันวัล'ซิฟว) adj. เกี่ยวกับมีลักษณะอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง, เกี่ยวกับอาการชักกระตุก., See also: convulsiveness n. ดูconvulsive, Syn. fifful, jerky | crick | (คริค) n. อาการกล้ามเนื้อเกร็งและปวด, โดยเฉพาะที่คอและหลัง) , ลำธาร, ลำคลอง vt. บิด, Syn. spasm | deltoid | (เดล'ทอยด์) n. กล้ามเนื้อขนาดใหญ่รูปสามเหลี่ยม | dengue | (เดง'เก) n. ไข้เด๊งซึ่งเป็นโรคติดต่อชนิดหนึ่ง, มีลักษณะอาการเจ็บปวดข้อต่อและกล้ามเนื้อ, ไข้ส่า, Syn. dengue fever | dystonia | ความตึงตัวของกล้ามเนื้อเสื่อม | erector | (อีเรค'เทอะ) n. ผู้ตั้งตรง, สิ่งที่ตั้งตรง, สิ่งที่ลุก, กล้ามเนื้อลุกชัน | fibrillation | การกระตุกรัวของกล้ามเนื้อ | flexor | (เฟลค'เซอะ) n. กล้ามเนื้อที่งอข้อต่อ | glossopharyngeal | ไปเลี้ยงลิ้นส่วนหลังรับความรู้สึกจากลิ้น การกลืน เร้าให้หลั่งน้ำลาย ทำให้กล้ามเนื้อของหลอดคอเคลื่อนไหว | grand mal | โรคลมบ้าหมูที่มีการหมดสติกล้ามเนื้อเกร็งและน้ำลายฟูมปาก | hypoglassal nerve | เส้นประสาทของcranial nerves คู่ที่ 12 ที่ไปสู่กล้ามเนื้อของลิ้น ควบคุมการหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อลิ้นให้มีการเคลื่อนไหว | kink | (คิงคฺ) n. ส่วนงอ, ส่วนโค้ง, หงิกงอ, ข้อบกพร่อง, รอยด่างพร้อย, อาการปวด, กล้ามเนื้อที่คอหรือหลัง, ความคิดประหลาด v. ทำให้งอ, กลายเป็นงอ, Syn. bend, curl, quirk | massage | (มะซาจฺ') v. การนวดกล้ามเนื้อ, เทคนิคการนวดกล้ามเนื้อ., See also: massager, massagist n. | masseur | (มะเซอ') n. หมอนวดผู้ชาย, นักนวดกล้ามเนื้อที่เป็นผู้ชาย | masseuse | (มะซูส', มะซูซ') n. หมอนวดที่เป็นหญิง, นักนวดกล้ามเนื้อที่เป็นหญิง | mesomorph | (เมซ'ซะมอรฟ) n. ผู้ที่มีรูปกายที่มีกล้ามเนื้อและกระดูกมากเช่น นักกีฬา | motor | (โม'เทอะ) n. เครื่องจักร, เครื่องยนต์, เครื่องเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล adj. ซึ่งทำให้เกิดการเคลื่อนไหว, ซึ่งนำกระแสประสาท (impules) , เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ. vi. ขับรถยนต์, เดินทางโดยรถยนต์, See also: motors n., pl. พันธบัตรหรือใบหุ้นระหว่างบริษัทรถยนต์ |
| biceps | (n) กล้ามเนื้อลูกหนู | brawn | (n) หมูเค็ม, หมูตั้ง, กล้ามเนื้อ, พละกำลัง, กำลัง, ความแข็งแรง | muscle | (n) กล้ามเนื้อ | muscular | (adj) เกี่ยวกับกล้ามเนื้อ, กำยำ, แข็งแรง, ล่ำสัน | sinew | (n) กล้ามเนื้อ, เอ็น, แก่น, ความแข็งแรง, กำลังวังชา, อำนาจ | spasm | (n) อาการกระตุก, กล้ามเนื้อกระตุก |
| abducens nerve | (n) เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 นำคำสั่งจากสมองไปยังกล้ามเนื้อตา บังคับให้เกิดการชำเลืองตา ให้โฟกัสภาพชัด | Acute Compartment syndromes | เกิดขึ้นเมื่อความดันเนื้อเยื่อภายในช่องกล้ามเนื้อปิดเกินความดันระบบและผลในกล้ามเนื้อและการขาดเลือดของเส้นประสาท มันมักจะเกิดขึ้นในภายหลังกับเหตุการณ์ที่บาดเจ็บ, ส่วนใหญ่มักจะแตกหัก | anticonvulsant | ยาคลายกล้ามเนื้อ | cardiotoxin | (n) พิษต่อกล้ามเนื้อหัวใจ | Compartment syndrome | เงื่อนไขที่เจ็บปวดและอันตรายที่เกิดจากการสะสมของความดันจากเลือดออกภายในหรือบวมของเนื้อเยื่อ ความดันลดการไหลเวียนของเลือด, กีดกันกล้ามเนื้อและเส้นประสาทของการบํารุงที่จําเป็น.อาการอาจรวมถึงอาการปวดอย่างรุนแรงความรู้สึกของหมุดและเข็มและความอ่อนแอของพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ สําหรับกรณีที่รุนแรงของโรคช่องจําเป็นต้องผ่าตัดฉุกเฉิน | dermatophytosis | (n) โรคผิวหนังชนิดหนึ่งแสดงโดยอาการอักเสบของผิวหนังและกล้ามเนื้ออ่อนแรง | Fibromyalgia | ความผิดปกติเรื้อรังที่แพร่กระจายด้วยความเจ็บปวดที่และมีความแข็งกดเจ็บบริเวณของกล้ามเนื้อและโครงสร้างเนื้อเยื่อที่เกี่ยวข้องซึ่งมักจะเกิดขึ้นพร้อมกับความเมื่อยล้าปวดศีรษะและการรบกวนในเวลานอน | Frontalis | of or pertainingกล้ามเนื้อฟรอนทาลิส (Frontalis muscle) เป็นกล้ามเนื้อบางๆ ตั้งอยู่บริเวณด้านหน้าของศีรษะ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า และเกาะกับพังผืดชั้นผิว (superficial fascia) มีลักษณะกว้างกว่ากล้ามเนื้อออกซิปิตาลิส (Occipitalis) และใยของกล้ามเนื้อนี้ยังยาวและสีซีดกว่ากล้ามเนื้อออกซิปิตาลิส กล้ามเนื้อนี้ไม่มีจุดเกาะอยู่กับกระดูก to the temple and jaw | myotoxin | (n) พิษต่อกล้ามเนื้อ | pelvic floor muscles | (n) กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน (กล้ามเนื้อที่ควบคุมการกลั้น ปัสสาวะ อุจาระ และกล้ามเนื้อเกี่ยวกับการคลอดบุตร) | Polymyositis | โรคอักเสบของกล้ามเนื้อที่เริ่มต้นเซลล์เม็ดเลือดขาว, เซลล์ภูมิคุ้มกันของการอักเสบ, เป็นธรรมชาติกล้ามเนื้อ, โดยเฉพาะกับลำตัว, ส่งผลให้เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อ, และอ่อนแอ | Prostaglandins | ที่มีศักยภาพฮอร์โมนเช่นสารที่พบในหลายเนื้อเยื่อร่างกาย (และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในน้ำอสุจิ); ผลิตในการตอบสนองต่อการบาดเจ็บและอาจส่งผลกระทบต่อความดันโลหิตและการเผาผลาญและกิจกรรมกล้ามเนื้อเรียบ | Rhabdomyolysis | ความผิดปกติของเซลล์กล้ามเนื้อม, อาจนำไปสู่สภาวะร้ายแรง การสลายตัวของเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อโครงร่างเป็นผลมาจากการเกิดไฟฟ้าหรือการสัมผัสเป็นเวลานานกับสารพิษ (ลักษณะการขับถ่ายของ ปัสสาวะออกมาสีดำเหมือนน้ำโคคาโคล่า ในปัสสาวะ) | Semispinalis capitis | กล้ามเนื้อตามยาวลึกของหลังที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากกระบวนการตามขวางของทรวงอกหกหรือเจ็ดส่วนบนและกระดูกสันหลังส่วนคอที่เจ็ดถูกแทรกบนพื้นผิวด้านนอกของกระดูกท้ายทอยระหว่างสองสันหลัง (ช่องเปิดในกะโหลกศีรษะที่ไขสันหลังผ่านจนกลายเป็นไขกระดูก) และทําหน้าที่ขยายและหมุนศีรษะ | Serratus | หมายถึงกล้ามเนื้อในลำต้น (ทรวงอก) | Sternomastoid | [สเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์] เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่ในส่วนนอกของลำคอ ชื่อของกล้ามเนื้อมัดนี้มาจากจุดเกาะทั้งสามจุดของกล้ามเนื้อ ซึ่งได้แก่ กระดูกอก (sternum, sterno- ) กระดูกไหปลาร้า (clavicle, cleido- ) และมาสตอยด์ โพรเซส (mastoid process) ซึ่งเป็นส่วนนูนขนาดใหญ่บนกระดูกขมับ (temporal bone) ในบางครั้งอาจเรียกชื่อกล้ามเนื้อนี้ว่า สเตอร์โนมาสตอยด์ (sternomastoid) กล้ามเนื้อสเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์ทำหน้าที่หลักในการหมุนและการงอของศีรษะ นอกจากนี้ยังทำงานร่วมกับกลุ่มของกล้ามเนื้อสคาลีนนัส (scalenus muscles) เพื่อช่วยในการเคลื่อนไหวของช่องอกระหว่างการหายใจ แนวของกล้ามเนื้อนี้ยังใช้ในการแบ่งอาณาบริเวณทางกายวิภาคของลำคอเป็นสองส่วน คือพื้นที่สามเหลี่ยมลำคอด้านหน้า (anterior triangle of neck) และพื้นที่สามเหลี่ยมลำคอด้านหลัง (posterior triangle of neck) | Teratomas | ชนิดของเนื้องอกเซลล์เชื้อโรคที่อาจมีหลายชนิดที่แตกต่างกันของเนื้อเยื่อ, เช่นผม, กล้ามเนื้อ, และกระดูก. เกิดขึ้นบ่อยที่สุดในรังไข่ในผู้หญิงลูกอัณฑะในผู้ชายและกระดูกในเด็ก | Thromboxane | สารต่างๆที่มีการผลิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งเกล็ดเลือด, จะเกิดขึ้นจากการแทรกขนาดกลางในการเปลี่ยนแปลงของขา endoperoxides, ทำให้เกิดการหดตัวของหลอดเลือดและหลอดลมกล้ามเนื้อเรียบ, และส่งเสริมการแข็งตัวของเลือด | Trabeculation | ของกระเพาะปัสสาวะเกิดจากสิ่งกีดขวางซ้ำในท่อปัสสาวะ เมื่อเกิดการอุดตัน, ผนังกล้ามเนื้อของกระเพาะปัสสาวะจะต้องทำงานยากเกินไปที่จะย้ายปัสสาวะที่ผ่านการกีดขวาง. นี้นำไปสู่ความหนาของผนังกล้ามเนื้อและการสูญเสียความยืดหยุ่น. | Troponin | Troponin เป็นโปรตีนชนิดหนึ่งที่พบในกล้ามเนื้อของหัวใจของคุณ. โทรโพนินปกติไม่พบในเลือด. เมื่อกล้ามเนื้อหัวใจได้รับความเสียหาย troponin จะถูกส่งเข้าสู่กระแสเลือด เมื่อความเสียหายของหัวใจเพิ่มขึ้นปริมาณของ troponin จะถูกปล่อยออกมาในเลือดมากขึ้น | กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอ | (adj, name, uniq) ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ (อังกฤษ: Biceps brachii muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่สำคัญมัดหนึ่งที่อยู่ในพื้นที่ด้านหน้าของต้นแขน (Anterior compartment of arm) กล้ามเนื้อมัดนี้มีหน้าที่หลายประการ แต่ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการงอแขนและการหมุนของปลายแขนโดยมีข้อศอกเป็นจุดหมุน กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ ยังเป็นกล้ามเนื้อที่ผู้คนส่วนใหญ่รู้จักกันดี เนื่องจากเป็นกล้ามเนื้อที่เห็นได้ชัดจากภายนอก และสามารถบริหารกล้ามเนื้อนี้ให้มีรูปร่างที่ต้องการได้ง่ายโดยการยกน้ำหนัก |
| 筋肉 | [きんにく, kinniku] (n) กล้ามเนื้อ |
| 屈筋 | [くっきん, kukkin] (n) กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์, See also: R. flexor muscle | 心筋 | [しんきん, shinkin] (n) กล้ามเนื้อหัวใจ, See also: R. cardiac muscle | 心筋炎 | [しんきんえん, shinkin'en] (n) กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ, See also: R. myocarditis |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |