ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*พลเรือ*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พลเรือ, -พลเรือ-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
พลเรือ(n) civilian, See also: official, Syn. ข้าราชการ, Example: นายกสัญญาว่าจะปรับเงินให้กับข้าราชการ พลเรือน ทุกตำแหน่ง, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณรายจ่ายหมวดเงินเดือน เช่น ข้าราชการพลเรือน เป็นต้น
พลเรือ(n) civilian, See also: noncombatants, Syn. ประชาชน, ราษฎร, พลเมือง, Example: ผู้มาจากพลเรือนอย่างเขาจะไปสู้กับใครได้, Count Unit: คน, Thai Definition: พลเมืองของประเทศที่ไม่ใช่ทหาร
พลเรือโท(n) Vice Admiral, Example: เขาพ้นจากตำแหน่งทางการเมือง พร้อมกับการได้เลื่อนยศเป็นพลเรือโท, Count Unit: นาย, Thai Definition: ชื่อยศทหารเรือที่สูงกว่าพลเรือตรี แต่ต่ำกว่าพลเรือเอก
พลเรือตรี(n) Rear Admiral, Example: เมื่อเขาได้เลื่อนขึ้นดำรงยศเป็น พลเรือตรี เขาก็ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองผู้บังคับการกองเรือรบ, Count Unit: นาย, Thai Definition: ชื่อยศทหารเรือที่ต่ำกว่าพลเรือโท
พลเรือเอก(n) Admiral, Example: พลเรือเอกธีระ ห้าวเจริญ เข้ารับตำแหน่งสูงสุดของกองทัพเรือ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2541, Count Unit: นาย, Thai Definition: ยศระดับสูงสุดของนายทหารเรือ
ราชการพลเรือ(n) civil service, Ant. ราชการทหาร, Example: พระองค์ทรงมีพระราชประวัติดีเด่นในด้านราชการพลเรือน
ข้าราชการพลเรือ(n) civil servant, See also: government employee, government officer, civil official, Syn. ข้าราชการ, เจ้าหน้าที่รัฐ, Example: พ่อรับราชการเป็นเป็นข้าราชการพลเรือนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ปฏิบัติราชการในส่วนราชการที่ไม่ใช่การงานทางทหาร
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือ(n) Office of the Civil Service Commission, Syn. ก.พ., Example: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนต้องการรับสมัครคัดเลือกข้าราชการเพื่อรับทุนรัฐบาลศึกษาในประเทศ

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
เจ้าพนักงานสนมพลเรือน. ข้าราชการในราชสำนัก ทำหน้าที่เกี่ยวกับพิธีศพ ทำสุกำศพหีบ จัดดอกไม้ ดูแลรักษาเครื่องนมัสการ โกศ หีบ เป็นต้น, สนม ก็เรียก.
พลเรือ(พนละ-) น. ผู้ซึ่งไม่ใช่ทหาร.
พลเรือ(พนละ-) ว. ที่ไม่ใช่ทหาร เช่น ข้าราชการพลเรือน.
กฎอัยการศึกน. กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการของประชาชนได้ตามความจำเป็น ทั้งให้มีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน การใช้กฎอัยการศึกจะกระทำได้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล โดยจะให้มีผลบังคับทุกท้องที่หรือบางท้องที่ก็ได้ตามความจำเป็น.
กรม ๓แผนกใหญ่ในราชการ ตามลักษณะปกครองในสมัยโบราณ ซึ่งในปัจจุบัน เรียกว่า กระทรวง เช่น กรมพระกลาโหม คือ กรมฝ่ายทหาร เป็นกระทรวงกลาโหม, กรมมหาดไทย คือ กรมฝ่ายพลเรือน เป็นกระทรวงมหาดไทย, กรมเมือง หรือ กรมนครบาล รวมอยู่ในกระทรวงมหาดไทย, กรมวัง แยกเป็นกระทรวงวัง และกระทรวงยุติธรรม (ปัจจุบันกระทรวงวังไม่มีแล้ว), กรมพระคลัง แยกเป็นกระทรวงการคลัง และกระทรวงการต่างประเทศ, กรมนา เป็นกระทรวงเกษตราธิการ (ปัจจุบัน คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์).
กำหนดบทบริหารบัญญัติคล้ายพระราช-กฤษฎีกา โดยมากเป็นบัญญัติที่เกี่ยวกับบุคคลหรือข้าราชการบางจำพวก เช่น พระราชกำหนดเครื่องแบบแต่งกายข้าราชการฝ่ายทหารและพลเรือน.
แก๊ปน. ชื่อหมวกของทหารตำรวจหรือข้าราชการพลเรือนเป็นต้นที่มีกะบังหน้า เรียกว่า หมวกแก๊ป
ข้าราชการบุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง ทบวง กรม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการการเมือง ข้าราชการครู ข้าราชการทหาร ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ.
ขีดเรียกเครื่องหมายแสดงระดับชั้นของข้าราชการพลเรือน เช่น ข้าราชการชั้นตรีที่บ่ามีขีดใหญ่ ๑ ขีด
ขุนนางน. ลูกขุน, ข้าราชการฝ่ายทหารและพลเรือน แบ่งเป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่มีศักดินาตั้งแต่ ๔๐๐ ขึ้นไป และข้าราชการชั้นผู้น้อยมีศักดินาต่ำกว่า ๔๐๐.
จตุสดมภ์น. การจัดระเบียบราชการฝ่ายพลเรือนส่วนกลาง ประกอบด้วยกรมใหญ่ ๔ กรม คือ กรมเมือง กรมวัง กรมคลัง กรมนามีจตุสดมภ์เสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชาแต่ละกรม.
จอมพลน. ยศทหารบกชั้นสูงสุด, ถ้าเป็นทหารเรือ เรียก จอมพลเรือ, ถ้าเป็นทหารอากาศ เรียก จอมพลอากาศ.
เจ้ากรมน. หัวหน้ากรมในราชการฝ่ายทหาร, (โบ) หัวหน้ากรมราชการทั้งฝ่ายทหารและพลเรือน เช่น กรมพระแสงสรรพวุธ กรมพระคชบาล กรมราชบัณฑิต, หัวหน้ากรมของเจ้าต่างกรม.
ติดสนมก. ถูกกักบริเวณในเขตพระราชฐาน ใช้แก่พระราชวงศ์ฝ่ายในและข้าราชการฝ่ายใน โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของโขลน, ถูกกักบริเวณในวังที่ประทับ โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของพวกสนมพลเรือน ใช้แก่ผู้มีฐานันดรศักดิ์แห่งราชวงศ์หรือข้าทูลละอองธุลีพระบาทชั้นผู้ใหญ่.
โทษทางวินัยน. โทษที่ลงแก่บุคลากรขององค์กรซึ่งปฏิบัติฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ทางวินัยขององค์กรที่กำหนดไว้ เช่น โทษทางวินัยของข้าราชการพลเรือนสามัญตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ได้กำหนดไว้ ๕ สถาน ได้แก่ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ปลดออก และไล่ออก.
นาวา ๑น. ยศทหารเรือหรือทหารอากาศชั้นสัญญาบัตร สูงกว่าเรือเอกหรือเรืออากาศเอก ตํ่ากว่าพลเรือตรีหรือพลอากาศตรี.
แนวหลังน. ผู้ที่ไม่ได้ไปรบด้วย ได้แก่พลเรือนผู้สนับสนุนอยู่ข้างหลัง.
พ่อเรือนน. พลเรือน.
ภาคทัณฑ์(พากทัน) ก. ตำหนิโทษ, คาดโทษ, ลงโทษเพียงว่ากล่าว, ลงโทษข้าราชการพลเรือนโดยตำหนิโทษเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งเป็นการลงโทษขั้นเบาที่สุด.
มหาชัยน. ชื่อเพลงไทยโบราณ อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ มี ๒ ท่อน อยู่ในเรื่องทำขวัญ ต่อมาแปลงเป็นทางฝรั่งใช้เป็นเพลงคำนับเมื่อบุคคลสำคัญมาถึงมณฑลพิธี, สำนักพระราชวังและข้อบังคับกระทรวงกลาโหมกำหนดให้ดุริยางค์บรรเลงเพลงมหาชัยรับและส่งเสด็จในพิธีการที่พระบรมวงศ์เสด็จพระราชดำเนินหรือเสด็จไปทรงเป็นประธาน และบรรเลงรับและส่งประธานในพิธีการที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และบรรเลงเป็นเพลงเคารพธงราชวงศ์เวลาผ่านหรือขึ้นลง นายทหารที่มียศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ.
เรือธงน. เรือที่ผู้บัญชาการกองเรือ ซึ่งมียศตั้งแต่พลเรือตรีขึ้นไปใช้เป็นที่บังคับบัญชากองเรือ ชักธงตามยศของผู้บัญชาการนั้นไว้บนยอดเสาสูงสุดเพื่อให้เรือลำอื่นในกองเดียวกันสังเกตเห็นได้ชัดเจน.
ศาลทหารน. ศาลที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ ซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทำผิดเป็นบุคคลซึ่งอยู่ในอำนาจศาลทหาร เช่น ทหารพลเรือนที่สังกัดอยู่ในราชการทหาร.
ศาลาลูกขุนในน. ที่ประชุม ปรึกษา และสั่งราชการของคณะเสนาบดีฝ่ายพลเรือนและทหาร แบ่งเป็นศาลาลูกขุนในฝ่ายซ้ายสำหรับพลเรือน และศาลาลูกขุนในฝ่ายขวาสำหรับทหาร.
สนม ๒(สะหฺนม) น. ข้าราชการในราชสำนัก ทำหน้าที่เกี่ยวกับพิธีศพ ทำสุกำศพหีบ จัดดอกไม้ ดูแลรักษาเครื่องนมัสการ โกศ หีบ เป็นต้น, เจ้าพนักงานสนมพลเรือน ก็เรียก.
สมุหนายกน. ตำแหน่งข้าราชการชั้นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือน ดูแลรับผิดชอบและเป็นประธานที่ประชุมเสนาบดีของฝ่ายพลเรือน รวมทั้งการปกครองและการยุติธรรมในหัวเมืองฝ่ายเหนือ.
สารวัตรทหารน. ทหารที่ได้รับคำสั่งจากผู้มีอำนาจสั่งใช้ให้ปฏิบัติหน้าที่ เช่น สอดส่อง ตรวจตรา ตักเตือน จับกุมทหาร ข้าราชการพลเรือนและคนงานสังกัดกระทรวงกลาโหมที่กระทำความผิดหรือไม่อยู่ในระเบียบวินัยซึ่งอยู่ภายนอกที่ตั้งหน่วยทหาร.
สุกำศพก. การที่เจ้าพนักงานภูษามาลาหรือเจ้าพนักงานสนมพลเรือนเอาผ้าขาวห่อศพและใช้ด้ายดิบมัดตราสัง แล้วบรรจุศพลงโกศหรือหีบศพซึ่งมีกระดาษฟางปูรองรับ เช่น เจ้าหน้าที่จะสุกำศพ, ทำสุกำศพ ก็ว่า.
สุรัสวดีชื่อกรมมีหน้าที่จัดทำสารบาญชีไพร่บ้านพลเมือง และจัดสรรไพร่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนไปทำราชการตามกรมกองต่าง ๆ, เรียกเต็มว่า กรมพระสุรัสวดี.
หมวกแก๊ปน. หมวกทหารตำรวจหรือข้าราชการพลเรือนเป็นต้นที่มีกะบังหน้า.
อมาตย์ลูกขุน, ขุนนาง, ข้าราชการฝ่ายพลเรือน.
อำมาตย-, อำมาตย์ลูกขุน, ขุนนาง, ข้าราชการฝ่ายพลเรือน. (ส. อมาตฺย; ป. อมจฺจ).

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
list, civil๑. เงินปีพระมหากษัตริย์, งบค่าใช้จ่ายส่วนพระมหากษัตริย์๒. งบเงินเดือนข้าราชการพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
status, civil serviceสถานภาพข้าราชการพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
servant, civilข้าราชการพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
service, civilราชการพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
officer, civilข้าราชการพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
office, civilตำแหน่งฝ่ายพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
aviation, civilการบินพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
civil๑. แพ่ง๒. พลเรือน๓. เกี่ยวกับพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
civil๑. แพ่ง (ก. แพ่ง)๒. พลเรือน, เกี่ยวกับพลเมือง (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
civil authority clauseข้อกำหนดประกันความเสียหายที่เกิดจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
civil serviceราชการพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
civil serviceราชการพลเรือ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Civil Service Commission; Commission, Civil Serviceคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Civil Service Commissionคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
civil service statusสถานภาพข้าราชการพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
civil servant; civil officerข้าราชการพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
civil servantข้าราชการพลเรือ[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
civil servantข้าราชการพลเรือน [ ดู civil officer ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
civil aviationการบินพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
civil aviationการบินพลเรือ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
civilianพลเรือน, ฝ่ายพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
civilianพลเรือน, ฝ่ายพลเรือน, ฝ่ายคฤหัสถ์ (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
civilian control; control, civilianการควบคุมโดยพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
civil officeตำแหน่งฝ่ายพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
civil officeตำแหน่งฝ่ายพลเรือ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
civil officer; civil servantข้าราชการพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
civil officerข้าราชการพลเรือน [ ดู civil servant ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
control, civilian; civilian controlการควบคุมโดยพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
civil list๑. เงินปีพระมหากษัตริย์, งบค่าใช้จ่ายส่วนพระมหากษัตริย์๒. งบเงินเดือนข้าราชการพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Commission, Civil Service; Civil Service Commissionคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
civil defenceการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
civil defenceการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
defence, civilการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
defence, civilการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
สุกำศพ้เป็นคำกิริยา หมายถึง อาการที่เจ้าพนักงานภูษามาลาหรือเจ้าพนักงานสนมพลเรือนเอาผ้าขาวห่อศพและใช้ด้ายดิบมัดตราสัง แล้วบรรจุศพลงโกศหรือหีบ ซึ่งมีกระดาษฟางปูรองรับ [ศัพท์พระราชพิธี]
Women in the civil serviceสตรีในราชการพลเรือ[TU Subject Heading]
Civic actionกิจกรรมทางพลเรือ[TU Subject Heading]
Civil defenseการป้องกันพลเรือ[TU Subject Heading]
Civil serviceราชการพลเรือ[TU Subject Heading]
Civil service ethicsจรรยาบรรณข้าราชการพลเรือ[TU Subject Heading]
Civil service positionsตำแหน่งข้าราชการพลเรือ[TU Subject Heading]
Civil-military relationsความสัมพันธ์ระหว่างพลเรือนกับทหาร [TU Subject Heading]
Civilian reliefการบรรเทาทุกข์พลเรือ[TU Subject Heading]
Civilian useการใช้ประโยชน์ทางพลเรือ[TU Subject Heading]
Convention on International Civil Aviation (1944)อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ค.ศ. 1944) [TU Subject Heading]
Evacuation of civiliansการอพยพพลเรือ[TU Subject Heading]
Protection of civiliansการพิทักษ์สิทธิพลเรือ[TU Subject Heading]
ASEAN Conference on Civil Service Mattersการประชุมอาเซียนว่าด้วยกิจการพลเรือ[การทูต]
Thailand-Singapore Civil Service Exchange Programmeโครงการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานข้าราชการพลเรือนไทย-สิงคโปร์ [การทูต]
full dress uniform with sash and decorationเครื่องแบบเต็มยศ ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด (ข้าราชการพลเรือน) [การทูต]
Gorbachev doctrineนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต]
International Civil Aviation Organizationองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2490 โดยอนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (Convention on International Civil Aviation) มีวัตถุประสงค์ที่จะเป็นหน่วยงานกลางระหว่างประเทศสมาชิก ในการออกกฎ ระเบียบ และ ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการบินพลเรือน ปัจจุบันมีสมาชิก 185 ประเทศ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา " [การทูต]
International Civil Service Commissionคณะกรรมาธิการพนักงานพลเรือนระหว่างประเทศ [การทูต]
International Civil Aviation Organizationเรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ [การทูต]
militiaพลเรือนติดอาวุธ [การทูต]
Passportหนังสือเดินทาง คือเอกสารทางราชการที่ใช้แสดงตัวและสัญชาติ ซึ่งทางราชการออกให้แก่บุคคลที่จะเดินทางไป หรือพำนักอยู่ชั่วคราวในต่างประเทศเมื่อสมัยก่อนสงครามโลกทั้งสองครั้ง ประเทศต่าง ๆ มิได้ขอให้คนต่างด้าวที่จะเข้าไปในประเทศของตนต้องมีหนังสือเดินทาง มีการเริ่มใช้หนังสือเดินทางอย่างแพร่หลายก็ในระยะหลังสงครามดังกล่าว ทุกวันนี้ ประเทศส่วนมากในโลกต่างต้องการให้คนต่างด้าวที่จะเดินทางเข้าไปในดินแดนของ ตนมีหนังสือเดินทางซึ่งได้รับการตรวจลงตรา (Visa) โดยถูกต้องจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนเสียก่อน อย่างไรก็ดี ทุกวันนี้ประเทศส่วนมากได้มอบอำนาจให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนในต่าง ประเทศเป็นผู้ออกหนังสือเดินทางได้ด้วยหนังสือเดินทางที่ใช้กันในปัจจุบันมี อยู่หลายประเภทอันได้แก่1. หนังสือเดินทางทูต (Diplomatic passports ) ออกให้แก่ผู้ที่มีตำแหน่งเอกอัครราชทูต อัครราชทูต เจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งทางการทูต รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น2. หนังสือเดินทางพิเศษ (Special passports) ออกให้ แก่ข้าราชการที่ไม่มีสถานะทางการทูต และบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น3. หนังสือเดินทางธรรมดา ( Regular passports ) ออกให้แก่บุคคลธรรมดา (Private persons) ซึ่งมีสิทธิจะขอหนังสือเดินทางดังกล่าวได้ตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของ ประเทศของตนมีบางประเทศได้ออกหนังสือเดินทางประเภทอื่น นอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาข้างต้นด้วยเหตุผลเฉพาะ เช่น ภายใต้ระบบของสหรัฐอเมริกา มีการออกหนังสือเดินทางที่เรียกว่า1. หนังสือเดินทางบริการ (Service passports) ออกให้แก่คนอเมริกัน หรือชนชาติที่สวามิภักดิ์ต่อสหรัฐอเมริกาที่อยู่ในต่างประเทศ2. หนังสือเดินทางบุคคลในครอบครัว (Dependent passports) ออกให้แก่บุคคลที่ถือหนังสือเดินทางนี้ในกรณีที่เดินทางไปชั่วคราว หรือพำนักอยู่นาน ๆ ในต่างประเทศในฐานะที่เป็นบุคคลในครอบครัวของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ หรือพลเรือนอเมริกันที่ยังรับราชการอยู่นอกเขตประเทศสหรัฐอเมริกา [การทูต]
peace keepingการรักษาสันติภาพ " หมายถึง การส่งคณะเจ้าหน้าที่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนในนามของสหประชาชาติเข้าไปใน พื้นที่ที่มีความขัดแย้งโดยความยินยอมของ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำหน้าที่ดูแลให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงหยุดยิง หรือความตกลงสันติภาพ หรือกระบวนการแก้ไขปัญหาโดยวิถีทาง การเมือง " [การทูต]
War Crimesอาชญากรรมสงคราม ตามกฎบัตรต่อท้ายความตกลงว่าด้วยการพิจารณาลงโทษ อาชญากรสางคามที่สำคัญ ๆ ของฝ่ายอักษะยุโรป (European Axis) การกระทำต่อไปนี้ถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามคือ การละเมิดกฎหมายหรือประเพณีของการสงคราม เช่น การฆ่า การปฏิบัติอันโหดร้าย หรือการขับคนไปทำงานเยี่ยงทาส หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใด ซึ่งกระทำต่อราษฎรพลเรือนของดินแดนที่ถูกยึดครอง การฆ่าหรือปฏิบัติอย่างโหดร้ายต่อเชลยศึกหรือบุคคลในท้องทะเล การฆ่าตัวประกัน การปล้นสะดมทรัพย์สินสาธารณะหรือส่วนบุคคล การทำลายล้างตัวเมืองหรือหมู่บ้าน ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่จำเป็นในแง่การทหาร [การทูต]
working uniform" สำหรับข้าราชการพลเรือน หมายถึง เครื่องแบบปกติสีกากี คอพับ แขนยาว สำหรับข้าราชการตำรวจ/ทหาร หมายถึง เครื่องแบบปกติ คอพับ สีตามเหล่าทัพ " [การทูต]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
การบินพลเรือ[kānbin phon reūoen] (n, exp) EN: civil aviation   FR: aviation civile [ f ]
นายพลเรือ[nāi phon reūa] (n, exp) EN: admiral  FR: amiral [ m ]
พลเรือ[phonlareūoen] (n) EN: civil ; civilian ; noncombatant  FR: civil [ m ]
พลเรือ[phonreūa] (n) EN: rear admiral
พลเรือเอก[phonreūa ēk] (n, exp) EN: admiral ; four-star admiral  FR: amiral [ m ]
พลเรือตรี[phonreūa trī] (n, exp) EN: rear admiral
ราชการพลเรือ[rātchakān phonlareūoen] (n, exp) EN: civil service
สถาบันการบินพลเรือ[sathāban kān bin phon reūoen] (n, exp) EN: civil aviation training center  FR: centre de formation de l'aviation civile [ m ]
พล.อ. (พลเรือเอก)[phølø.ø. (phonreūa ēk)] EN: Admiral ; Adm.  FR: amiral [ m ]

English-Thai: Longdo Dictionary
civil service system(n, phrase) ระบบข้าราชการพลเรือ

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
admiral(n) พลเรือเอก
malfeasance(n) การทุจริต (เช่น การเมืองหรือฝ่ายพลเรือน), See also: การกระทำผิดหรือการประพฤติผิดกฎหมาย, Syn. malpractice, misprision, misfeasance
mandarin(n) ข้าราชการพลเรือน (ระดับสูง), Syn. bureaucrat
rear admiral(n) นายทหารเรือยศพลเรือตรี
civvies(sl) ชุดพลเรือน (ไม่ใช่เครื่องแบบ) (ทางทหาร)
seaman(n) กะลาสี, See also: ลูกเรือ, พลเรือยศต่ำกว่าจ่าทหารเรือ, Syn. sailor, naval officer, seafarer, mariner
vice admiral(n) พลเรือโท (ยศต่ำกว่า admiral และสูงกว่า rear admiral)

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
a. of f.abbr. Admiral of the Fleet จอมพลเรือ
admiral(แอด' มีเริล) n. นายพลเรือ, พลเรือเอก, หัวหน้าหน่วยเรือประมงหรือเรือสินค้า
air raid wardenพลเรือนที่หน้าที่เป็นตำรวจระหว่างสัญญาณเตือนภัยทางอากาศ
caesar(ซี'ซาร์) n. ชื่อตำแหน่งของจักรพรรดิโรมัน, จักรพรรดิ, ผู้เผด็จการ, เจ้าหน้าที่พลเรือน, จูเลียสซีซาร์, Syn. tyrant
citizenryn. ประชากรทั้งหลาย, พลเรือนทั้งหลาย
civic(ซิฟ'วิค) adj. (เกี่ยวกับ) เมือง (นคร, กรุง) , เทศบาล, สัญชาติ, พลเรือน (พลเมือง, ประชากร) , ที่เป็นประโยชน์แก่เมือง
civies(ซิฟ'วีซ) n., pl. เครื่องแต่งกายพลเรือ
civil(ซิฟ'เวิล) adj. เกี่ยวกับพลเรือน (พลเมือง, ประชากร) อย่างพลเมืองที่ดี, เกี่ยวกับคดีแพ่ง, มีอารยธรรม, มีมารยาท, ไม่เกี่ยวกับศาสนา
civil aviation)n. การบินพลเรือ
civil servicen. ราชการพลเรือน.
civilian(ซิวิล'เยิน) n. พลเรือน, นักศึกษากฎหมายแพ่ง
commandeer(คอมมันเดียร์') { commandeered, commandeering, commandeers } vt. เกณฑ์พลเรือนเข้าทำการรบหรือทำงานให้กับหน่วยทหาร, ยึดทรัพย์สินเอกชนเพื่อประโยชน์ทางทหารหรือเพื่อสาธารณประโยชน์, Syn. draft, conscript, impress
commodore(คอม'มะดอร์) n. พลเรือจัตวา, นาวาเอกพิเศษ, ผู้บังคับการขบวนเรือพาณิชย์ขนาดใหญ่, ประธานหรือหัวหน้าสโมสรเล่นเรือ
militia(มิลิช'ชะ) n. กลุ่มทหารกองหนุน, ชายที่มีอยู่ในระหว่างที่เข้าประจำการทหารได้, กลุ่มทหารพลเรือน (ต่างจากทหารอาชีพ)
militiaman(มิลิช'ชะเมิน) n. ทหารกองหนุน, ทหารพลเรือน, ชายที่มีอายุอยู่ในระหว่างที่เข้าประจำการทหารได้ pl. militiamen
rear admiraln. นายพลเรือตรี
vice admiraln. พลเรือโท., See also: vice admiralty n.
vigilante(วิจจะแลน'ที) n. สมาชิกกลุ่มพลเรือนที่ทำโทษอาชญากรแบบศาลเตี้ย
vigilantism(วิจ'จะเลินทิสซึม) n. ลัทธิศาลเตี้ยที่ประกอบด้วยพลเรือ

English-Thai: Nontri Dictionary
admiral(n) พลเรือเอก
CIVIL civil servant(n) ข้าราชการพลเรือ
CIVIL civil service(n) ราชการฝ่ายพลเรือ
civilian(n) พลเรือ
noncombatant(n) พลเรือ
REAR rear admiral(n) พลเรือตรี

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
american civil liberties union(n) สหภาพสิทธิเสรีภาพพลเรือนอเมริกัน
Chief Secretary(n) เสนาเอก เป็นตำแหน่งข้าราชการพลเรือนฝ่ายปกครองในอาณานิคมของสหราชอาณาจักร
Civil Aviation Training Center(name, org) สถาบันการบินพลเรือน, See also: CATC
Deputy Governorรองข้าหลวง เป็นตำแหน่งข้าราชการพลเรือนฝ่ายปกครองในดินแดนของสหราชอาณาจักร ตำแหน่งนี้ปรากฎเฉพาะอาณานิคมในทวีปอเมริกาเหนือ เทียบได้ตำแหน่งผู้ช่วยข้าหลวง (Lieutenant-Governor) ในอาณานิคมอื่นๆ
International Civil Aviation Organization(name, org) องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ, Syn. ICAO
Lieutenant-Governorผู้แทนข้าหลวง เป็นตำแหน่งข้าราชการพลเรือนฝ่ายปกครองในดินแดนของสหราชอาณาจักร

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top