|
respirometer | มาตรการหายใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spirogram | ภาพบันทึกการหายใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spirograph | เครื่องบันทึกการหายใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spirography | การบันทึกการหายใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spiroid | คล้ายเกลียว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spirometer | มาตรอากาศหายใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spirometry | การวัดปริมาตรอากาศหายใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
|
|
Laptospirosis | เลปโตสไปโรซิส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Leptospirosis | เล็ปโตสไปโรซีส [TU Subject Heading] | Spirometry | การวัดปริมาตรอากาศหายใจ [TU Subject Heading] | Leptospirosis | โรคฉี่หนู, Example: <p>โรคฉี่หนู (Leptospirosis) เป็นโรคที่พบบ่อยที่สุดในบรรดาโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน มีสัตว์เป็นพาหะ เช่น หนู กระรอก แมว สุนัข สุกร ควาย วัว กวาง พบโรคนี้ได้ทั่วโลก เกิดจากเชื้อแบคทีเรียสกุล (genus) เลปโทสไปรา (Leptospira) เป็นโรคที่ไม่ติดต่อจากคนสู่คน แต่เชื้ออาจผ่านไปยังทารกในครรภ์หรือติดเชื้อจากการที่ทารกได้รับน้ำนมจากแม่ที่เป็นโรค มักพบโรคนี้ในคนวัยทำงาน เพศชายจะป่วยได้มากกว่าเพศหญิง สาเหตุที่เรียกโรคนี้ว่าฉี่หนูเพราะส่วนใหญ่คนเกิดเป็นโรคนี้เนื่องจากไปสัมผัสเชื้อก่อโรคที่ปนเปื้อนมากับปัสสาวะของหนู โรคนี้พบสูงสุดในฤดูฝนระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงตุลาคมของทุกปีเพราะหนูอพยพหนีน้ำท่วมเข้ามาในนาข้าวหรือเข้ามาในเมืองจึงทำให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อโรคในแหล่งน้ำต่างๆ <p> <p>การติดต่อของโรคมี 2 รูปแบบ คือ<br/> 1. การติดต่อโดยตรง คือ เกิดจากได้สัมผัสโดยตรงกับของเหลวที่เกิดจากสัตว์ที่เป็นพาหะ เช่น ปัสสาวะ เลือด น้ำลาย น้ำนม หรือถูกสัตว์ที่เป็นพาหะกัด<br/> 2. การติดต่อโดยอ้อม คือ เกิดจากได้สัมผัสกับแหล่งน้ำหรือดินที่เปียกชื้นที่มีการปนเปื้อนปัสสาวะและของเหลวที่มีเชื้อก่อโรค <p> <p>กลไกการเกิดโรค<br/> ขณะที่คนไปสัมผัสกับปัสสาวะ ของเหลว ดิน หรือน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อ เชื้อก็จะผ่านเข้าไปตามผิวหนังหรือเยื่อบุที่มีแผล ต่อมาเชื้อจะเข้าสู่กระแสโลหิตและอวัยวะต่างๆ เมื่อเข้าสู่ร่างกายเชื้อจะทำปฏิกิริยากับร่างกาย ผลคือทำให้เกิดการอักเสบของอวัยวะต่างๆ และหลอดเลือด ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดรุนแรงมากก็จะทำให้อวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่บกพร่องจนล้มเหลวในที่สุด <p> <p>อาการของโรค<br/> หลังจากได้รับเชื้อบางคนไม่แสดงอาการ บางคนมีอาการไข้เฉียบพลัน ปวดศีรษะ ตาแดง ปวดกล้ามเนื้อ ปวดท้อง บางคนที่ป่วยรุนแรงจะมีอาการเกิดขึ้นกับระบบต่างๆ ของร่างกาย เช่น ระบบกล้ามเนื้อ ระบบหายใจ ระบบทางเดินอาหาร รวมถึงความผิดปกติในการทำงานของไต ตับ ถ้าผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงและได้รับการรักษาไม่ทันส่วนใหญ่จะเสียชีวิต โดยสาเหตุของการเสียชีวิต คือ ไตวายเฉียบพลัน ระบบการหายใจล้มเหลว การล้มเหลวของอวัยวะหลายอย่าง <p> <p>การรักษา<br/> มีทั้งการรักษาโดยให้ยาปฏิชีวนะเพื่อทำลายเชื้อและการรักษาตามอาการ การให้ยาปฏิชีวนะจะทำให้กำจัดเชื้อได้เร็ว ไข้ลดลงเร็วและมีภาวะแทรกซ้อนน้อย การรักษาตามอาการ เช่น เมื่อมีไข้สูงก็รักษาด้วยการเช็ดตัวหรือให้ยาลดไข้ ถ้ามีภาวะการหายใจล้มเหลวก็ใส่เครื่องช่วยหายใจ <p> <p>วิธีปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคมีดังนี้<br/> 1. หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค<br/> 2. หลีกเลี่ยงการลงเล่นในแหล่งน้ำที่อาจปนเปื้อนเชื้อ<br/> 3. หลีกเลี่ยงการเดินด้วยเท้าเปล่าบนดินที่เปียกชื้น<br/> 4. สวมรองเท้าบูต ถุงมือยาง แว่นตา เมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อ<br/> 5. กำจัดเชื้อหรือสัตว์ที่เป็นพาหะ<br/> 6. ให้ยาปฏิชีวนะสำหรับผู้ที่ต้องสัมผัสสิ่งปนเปื้อนเชื้อเป็นครั้งคราว เช่น ผู้ที่เดินเที่ยวในป่า ผู้ที่เล่นน้ำในแหล่งน้ำที่อาจปนเปื้อนเชื้อ<br/> 7. ควรรีบพบแพทย์เมื่อมีอาการที่น่าสงสัยสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อ<br/> 8. ฉีดวัคซีนป้องกันโรคในสัตว์ <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> อมร ลีลารัศมี ยงค์ รงค์รุ่งเรือง และภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์. (2553). โรคฉี่หนู. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (เล่มที่ 34, หน้า 288-311). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Evapotranspirometer | อิแวพโพทรานส์ไพรอ มิเตอร์ หรือเครื่องวัดการระเหยของน้ำในดินและพืช [อุตุนิยมวิทยา] | Leptospirosis | เลปโตสไปโรซิส, โรค; เล็ปโตสไปโรซิส; เลปโตสไปโรสิส; โรคเล็บโตสไปโรสิส [การแพทย์] |
|
|
ตะโก | (n) Diospiros rhodocalyx, Example: เขาปลูกต้นตะโกไว้หลังบ้าน, Thai Definition: ชื่อไม้ต้นบางชนิดในสกุล Diospyros วงศ์ Ebenaceae เปลือกสีดำคล้ำ เช่น ตะโกสวน (D. malabarica Kostel.) ผลคล้ายมะพลับ ตะโกนา (D. rhodocalyx Kurz) ผลเล็ก ผล เปลือก และเนื้อไม้ใช้ทำยาได้ |
|
|
buspirone | (n) a drug (trade name BuSpar) designed specifically for anxiety, Syn. BuSpar | genus spirogyra | (n) a genus of protoctist | spirochaeta | (n) the type genus of the family Spirochaetaceae; a bacterium that is flexible, undulating, and chiefly aquatic, Syn. genus Spirochaeta | spirochaetaceae | (n) large coarsely spiral bacteria; free-living in fresh or salt water or commensal in bodies of oysters, Syn. family Spirochaetaceae | spirochaetales | (n) higher bacteria; slender spiral rodlike forms, Syn. order Spirochaetales | spirochete | (n) parasitic or free-living bacteria; many pathogenic to humans and other animals, Syn. spirochaete | spirodela | (n) minute aquatic herbs floating on the water surface consisting of a shiny leaflike frond and 2-21 roots, Syn. genus Spirodela | spirogram | (n) a recording of breathing made with a spirograph | spirograph | (n) a measuring instrument for recording the depth and rapidity of breathing movements | spirogyra | (n) freshwater algae consisting of minute filaments containing spiral chlorophyll bands | spirometer | (n) a measuring instrument for measuring the vital capacity of the lungs | spirometry | (n) the use of a spirometer to measure vital capacity | spironolactone | (n) a synthetic corticosteroid (trade name Aldactone) used to treat hypertension, Syn. Aldactone | borrelia burgdorferi | (n) cause of Lyme disease; transmitted primarily by ticks of genus Ixodes, Syn. Lime disease spirochete | great duckweed | (n) cosmopolitan except South America and New Zealand and some oceanic islands, Syn. Spirodela polyrrhiza, water flaxseed | swamp fever | (n) an infectious disease cause by leptospira and transmitted to humans from domestic animals; characterized by jaundice and fever, Syn. leptospirosis |
|
Spirobacteria | ‖n. pl.; sing. Spirobacterium /sing>. [ NL. See 4th Spire, and Bacterium. ] (Biol.) See the Note under Microbacteria. [ 1913 Webster ] | Spirochaete | { ‖‖ } n. [ L. spira a coil + Gr. &unr_;&unr_;&unr_; hair. ] (Biol.) A genus of Spirobacteria similar to Spirillum, but distinguished by its motility. One species, the Spirochaete Obermeyeri, is supposed to be the cause of relapsing fever. [ 1913 Webster ] Variants: Spirochaeta | Spirograph | n. [ L. spirare to breathe + -graph. ] (Physiol.) An instrument for recording the respiratory movements, as the sphygmograph does those of the pulse. [ 1913 Webster ] | Spirometer | n. [ L. spirare to breathe + -meter. ] An instrument for measuring the vital capacity of the lungs, or the volume of air which can be expelled from the chest after the deepest possible inspiration. Cf. Pneumatometer. [ 1913 Webster ] | Spirometry | n. The act or process of measuring the chest capacity by means of a spirometer. [ 1913 Webster ] | Spiroscope | n. [ L. spirare to breathe + -scope. ] (Physiol.) A wet meter used to determine the breathing capacity of the lungs. [ 1913 Webster ] | Spiroylous | { } a. [ NL. Spir&unr_; meadowsweet (a source of salicylal) + -yl + -ic, -ous. ] (Chem.) Pertaining to, or designating, a substance now called salicylal. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] Variants: Spiroylic |
|
|
|
|