กรรมบถ | (กำมะบด) น. ทางแห่งกรรม มี ๒ อย่างตามลักษณะ คือ กุศลกรรมบถและอกุศลกรรมบถ. |
กระบถ | (-บด) น. การประทุษร้ายต่อทางอาณาจักร, ความทรยศ, ขบถ. |
เกรินราชรถ | น. เกรินที่ส่วนหัวและท้ายราชรถ. |
ขอเดชะ | น. คำขึ้นต้นและคำลงท้ายในการกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ. |
ขอบทาง | น. แนวริมของทางเดินรถ. |
คนไร้ความสามารถ | น. บุคคลวิกลจริตซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ. |
คนเสมือนไร้ความสามารถ | น. บุคคลที่ไม่สามารถจัดการงานโดยตนเองได้ หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว เพราะกายพิการ จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทำนองเดียวกันนั้น และศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ. |
ควายเหล็ก | น. รถไถ. |
คิว ๒ | น. แถวตามลำดับก่อนหลัง เช่น เข้าคิว คิวรถ. |
งอน ๑ | น. ส่วนปลายแห่งของบางอย่างที่เป็นรูปยาวเรียวและช้อยขึ้น เช่น งอนไถ. |
เจ้าแม่หลวง | น. คำที่ชาวไทยภูเขาใช้เรียกสมเด็จพระบรมราชินีนาถ. |
ชานชาลา | น. บริเวณสถานีรถไฟหรือสถานีขนส่งที่ผู้โดยสารมารอขึ้นรถ. |
เชื่อมือ | ก. เชื่อฝีมือ, เชื่อในความรู้ความสามารถ. |
ด้วย | บ. คำนำหน้านามเพื่อให้รู้ว่านามนั้นเป็นเครื่องใช้หรือเป็นสิ่งที่ใช้เป็นเครื่องกระทำ เช่น ฟันด้วยมีด, เพราะ, เหตุ, เช่น ลงโทษด้วยอารมณ์ ได้ดีด้วยความสามารถ. สัน. เพราะ, เหตุ, เช่น ด้วยปรากฏว่า. |
ดูถูก | ก. พูดหรือแสดงอาการเป็นเชิงดูหมิ่นหรือเหยียดหยามผู้อื่นที่รู้สึกว่าต่ำต้อยหรือไร้ความสามารถ. |
เดินรถ | ก. ประกอบกิจการขนส่งทางรถ. |
โดยอรรถ | ว. ตามเนื้อความ เช่น แปลภาษาบาลีโดยอรรถ. |
ตะแกรง ๒ | น. อุปกรณ์มีลักษณะเป็นแผงเหล็กทำเป็นซี่โปร่ง ๆ ติดอยู่ที่หน้ารถรางหรือรถจักร กันไม่ให้สิ่งที่ถูกชนพลัดเข้าไปใต้ท้องรถ. |
ตัดหน้า | ผ่านหน้าในระยะกระชั้นชิด เช่น วิ่งตัดหน้ารถ. |
ถ | (ถอ) พยัญชนะตัวที่ ๒๒ เรียกว่า ถอ ถุง เป็นอักษรสูง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น รถ นาถ. |
โถ ๑ | น. ภาชนะโดยมากทำด้วยดินเผา กระเบื้องเคลือบ หรือแก้ว ปากกว้าง มีฝาปิด, เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น โกศโถ. |
ไถ ๑ | ขอร้องแกมบังคับ เพื่อเอาทรัพย์สินเป็นต้นอย่างไม่ถูกต้อง, รีดไถ. |
ทวนสบถ | ก. ไม่ทำตามคำสบถ. |
ท้าทาย | ชวนให้ทดลองความรู้ความสามารถ เช่น ท้าทายปัญญา ท้าทายความสามารถ. |
ทาม ๑ | น. อุปกรณ์ที่มีลักษณะเป็นแผ่นคล้ายเข็มขัด ปลาย ๒ ข้างเป็นห่วงคาดอยู่ที่ต้นคอของวัวหรือควาย ปลายนั้นมีเชือกขึ้นไปผูกปลายตะโกกหรือแอกทั้ง ๒ ข้าง, เชือกหนังทำเป็นบ่วงสำหรับคล้องคอช้างที่จับใหม่ แล้วโยงมาผูกกับคอช้างต่อ, สายเชือกหรือหนังที่รั้งพวงมาลัยสวมคอม้าไปผูกกับรถ. |
เทียบ ๑ | ชิมอาหารหรือยาโดยเจ้าพนักงานก่อนที่จะถวายพระมหากษัตริย์เพื่อป้องกันสิ่งที่เป็นพิษ ในคำว่า เทียบเครื่อง เทียบพระโอสถ. |
นาถ | (นาด) น. ที่พึ่ง, ผู้เป็นที่พึ่ง, เช่น โลกนาถ. |
น้ำยา ๒ | น. ความสามารถในทางใดทางหนึ่ง (มักใช้ในทางตำหนิ) เช่น ไม่มีนํ้ายา หรือ หมดนํ้ายา หมายความว่า ไม่มีสติปัญญาความสามารถ หรือ หมดความสามารถ. |
บถ | น. ทาง เช่น กรรมบถ. |
บังโกลน, บังโคลน | (-โกฺลน, -โคฺลน) น. เครื่องบังเหนือล้อรถ ป้องกันโคลนมิให้กระเด็นขึ้นมาเปื้อนรถ. |
บุคคลผู้ไร้ความสามารถ | น. บุคคลใด ๆ ซึ่งไม่มีความสามารถตามกฎหมายหรือความสามารถถูกจำกัดโดยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยความสามารถ. |
ใบขับขี่ | น. ใบอนุญาตขับรถ. |
ประทักษ์ | ว. ขยัน, ฉลาด, คล่องแคล่ว, สามารถ. |
ปาติโมกข์ | น. คัมภีร์ว่าด้วยวินัยของสงฆ์ ๒๒๗ ข้อ, ชื่อบาลีที่ประมวลพุทธบัญญัติอันทรงตั้งขึ้นเป็นพุทธอาณา ได้แก่ อาทิพรหมจริยกาสิกขา มีพระพุทธานุญาตให้สวดในที่ประชุมสงฆ์ทุกวันอุโบสถ. |
ผู้พิทักษ์ | น. บุคคลซึ่งศาลมีคำสั่งตั้งให้เป็นผู้ปกครองดูแลคนเสมือนไร้ความสามารถ. |
ผู้อนุบาล | น. บุคคลซึ่งศาลมีคำสั่งแต่งตั้งให้เป็นผู้ปกครองดูแลคนไร้ความสามารถ. |
เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท | ก. ไปพบ, ไปหา, ใช้แก่พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ. |
พระนาย | น. คำเรียกหัวหมื่นมหาดเล็ก เช่น เจ้าหมื่นไวยวรนาถ เรียกว่า พระนายไวยวรนาถ. |
พิหาร | วิหาร, ที่ซึ่งประดิษฐานพระพุทธรูป, คู่กับอุโบสถ. |
ภูมิปัญญา | น. พื้นความรู้ความสามารถ. |
มหาพรหมราชินี | น. ชื่อต้นไม้ขนาดเล็ก ชนิด Mitrephora sirikitiae Weerasooriya, Chalermglin et M.K.R. Sanadero ในวงศ์ Annonaceae กลีบดอกสีเขียวอ่อน ปลายสีม่วงเข้ม ผลเป็นผลกลุ่ม ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ. |
มูล ๓ | (มูน) น. อุจจาระสัตว์, ขี้หรือเศษของสิ่งต่าง ๆ เช่น มูลไถ = ขี้ไถ. |
มูลไถ | น. ชื่อนกชนิดหนึ่งตัวขนาดนกกระจาบฝน โตกว่านิดหน่อย เรียกสามัญว่า นกขี้ไถ. |
โมกราชินี | น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Wrightia sirikitiae D.J. Middleton et Santisuk ในวงศ์ Apocynaceae ดอกสีขาว ผลเป็นฝักคู่สีน้ำตาล พบบริเวณเขาหินปูน ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ. |
ยุคลบาท | (ยุคนละบาด) น. เท้าทั้งคู่ โดยมากใช้แก่พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ. |
ระวัง | เอาใจใส่โดยไม่ประมาท, กันไว้ไม่ให้เกิดภัยอันตรายหรือความเสื่อมเสียเป็นต้น, เช่น ระวังตัวให้ดี ระวังโจรผู้ร้าย ระวังถูกล้วงกระเป๋า เวลาข้ามถนนให้ระวังรถ. |
รัถ | น. รถ. |
ราชรถ | (ราดชะรด) น. ยานพาหนะชนิดล้อเลื่อน มีเรือนยอดทรงบุษบก ใช้ประดิษฐานพระบรมโกศและพระโกศ เช่น พระมหาพิชัยราชรถ เวชยันตราชรถ. |
ไร้ | ว. ขัดสน, ไม่มี, ปราศจาก, เช่น ไร้ทรัพย์ ไร้ความสามารถ. |
ลาป- ๑ | (ลาปะ-, ลาบ-) น. นกมูลไถ. |
carsick | (คาร์'ซิค) adj. เมารถ., See also: carsickness n. การเมารถ |
incapable | (อินเค' พะเบิล) adj. ไม่สามารถ, ไม่มีความสามารถ. -n. ผู้ที่ไม่มีความสามารถ, ผู้ไร้ความสามารถ., See also: incapability n. incapably adv., Syn. unfit, unable, inadequate, incompetent, Ant. capable |
ineffective | (อินอิเฟค'ทิฟว) adj. ไม่ได้ผล, ไร้ประสิทธิภาพ, ไร้ความสามารถ., See also: ineffectively adv. ineffectiveness n., Syn. futile, Ant. effective |
tired | (ไท'เออด) adj. เหนื่อย, เหน็ดเหนื่อย, เมื่อยล้า, อ่อนเพลีย, เบื่อหน่าย, รำคาญ, จืดชืด, มียางออก, มีแถบโลหะหุ้มล้อรถ., Syn. fatigued, weary, enervated |
tool | (ทูล) n. เครื่องมือ, อุปกรณ์ vt. จัดให้มีเครื่องมือ, ใช้เครื่องมือ, ขับรถ., See also: tooler n., Syn. implement, utensil |
unfit | (อันฟิท') adj., vt. (ทำให้) ไม่เหมาะสม, ไม่มีคุณสมบัติ, ไม่มีความสามารถ., See also: unfitly adv. unfitness n. unfitting adv. |