สะเทือน | (v) shake, See also: quake, vibrate, Syn. กระเทือน, สั่นสะเทือน |
สะเทือน | (v) shake, See also: vibrate, bump, quake, rock, tremble, shiver, Syn. สั่นสะเทือน, Example: รถวิ่งช้าไม่ได้ ขืนวิ่งช้ารถจะสะเทือนจนนั่งไม่ได้, Thai Definition: อาการที่สั่นชนิดหนึ่งของวัตถุใดอันมีลักษณะสั่นถี่เป็นจังหวะเพราะถูกกระทบกระทั่ง, อาการสั่นเช่นนั้น สั่นหรือเลื่อนแล่นมากระทบกระทั่งกับสิ่งอื่นๆ ทำให้สิ่งนั้นๆ สั่นตามไปด้วย |
กระเทือน | (v) shake, See also: vibrate, tremble, shiver, bump, quake, rock, Syn. สะเทือน, Example: พอมีรถบรรทุกวิ่งผ่าน บ้านก็กระเทือนทันที, Thai Definition: มีอาการเหมือนไหวหรือสั่นเพราะถูกกระทบ |
สะเทือนใจ | (v) be hurt, Syn. เสียใจ, ช้ำใจ, เศร้าโศก |
สะเทือนใจ | (v) be touched, See also: be deeply moved or affected, , Example: เขาหวั่นไหวและสะเทือนใจกับเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นอย่างมาก, Thai Definition: มีจิตใจหวั่นไหวอย่างแรงและรวดเร็วในเมื่อมีสิ่งที่น่าพอใจหรือไม่น่าพอใจมากระทบ (มักใช้เป็นสามัญในทางที่ไม่พอใจ) |
สะเทือนใจ | (v) be touched, See also: be deeply moved or affected, be struck deeply, Example: ภาพแม่ลูกนอนกอดกันตายชวนให้สะเทือนใจ, Thai Definition: มีจิตใจหวั่นไหวอย่างแรงและรวดเร็วในเมื่อมีสิ่งที่น่าพอใจหรือไม่น่าพอใจมากระทบ (มักใช้เป็นสามัญในทางที่ไม่พอใจ) |
สะเทือนใจ | (adj) moved, See also: touched, affected, Example: เรื่องนี้เป็นเรื่องสะเทือนใจเมื่อมันเป็นข่าวขึ้นมา, Thai Definition: เกี่ยวกับการมีจิตใจหวั่นไหวอย่างแรงและรวดเร็วในเมื่อมีสิ่งที่น่าพอใจหรือไม่น่าพอใจมากระทบ (มักใช้เป็นสามัญในทางที่ไม่พอใจ) |
กระเทือนใจ | (v) be affected, See also: be touched, be moved, strike one's mind, be hurt, Syn. สะเทือนใจ, กระทบกระเทือนใจ, Example: ทุกครั้งที่มีเรื่องทำให้กระเทือนใจหล่อนต้องร้องไห้, Thai Definition: มีจิตใจหวั่นไหวอย่างรุนแรง เพราะมีสิ่งอื่นมากระทบจิตใจ |
กันกระเทือน | (adj) shockproof, Syn. กันกระแทก, Example: เขาใช้แผ่นยางกันกระเทือน |
ความสะเทือน | (n) vibration, See also: shaking, trembling, Syn. การสั่นไหว, Example: น้ำดีจะทำให้ความตึงผิวของไขมันลดลงเมื่อได้รับความสะเทือนไขมันจะแตกตัวเป็นชิ้นเล็กๆ, Thai Definition: ลักษณะอาการสั่นที่เป็นจังหวะเพราะถูกกระทบกระทั่ง |
สะเทือนขวัญ | (adj) awful, See also: dreadful, awesome, fearful, Syn. กลัว, หวั่นเกรง, เกรงกลัว, Example: คดีนี้ถือเป็นคดีสะเทือนขวัญซึ่งได้รับความสนใจจากประชาชนโดยทั่วไป |
สั่นสะเทือน | (v) quake, See also: shake, vibrate, Syn. สะเทือน, สั่น, ไหว |
กระทบกระเทือน | (v) affect, See also: impact, influence, effect, have an impact on, have a repercussion, Syn. กระเทือน, กระทบ, Example: การที่อังกฤษจะเข้ามีส่วนในตลาดร่วมยุโรปย่อมกระทบกระเทือนถึงประเทศอื่นด้วย, Thai Definition: มีผลไปถึง |
ความสะเทือนใจ | (n) depression, See also: melancholy, Example: โศกนาฎกรรมที่กฤษณา อโศกสินนำเรื่องพุ่งขึ้นไปสู่ความสะเทือนใจสูงสุดแก่ผู้อ่าน, Thai Definition: การมีจิตใจหวั่นไหวอย่างแรงและรวดเร็วในเมื่อมีสิ่งที่น่าพอใจหรือไม่น่าพอใจมากระทบ |
สะดุ้งสะเทือน | (v) tremble, See also: be shaken, Syn. สะดุ้ง, พรั่นพรึง, หวั่นไหว, Example: คำขู่ของ “ป๋าเหนาะ” ไม่ทำให้ “ทักษิณ” สะดุ้งสะเทือน |
สะเทือนอารมณ์ | (v) touch, See also: be deeply moved, be touched, stir up one's feelings, Example: เขาเขียนนิยายเรื่องนี้ได้สะเทือนอารมณ์ผู้อ่านมาก, Thai Definition: อารมณ์หวั่นไหวอย่างแรงด้วยความทุกข์ |
กระทบกระเทือนใจ | (v) hurt one's feelings, See also: be mentally moved, be touched, be stirred, stir up one's feeling, be hurt, Syn. สะเทือนใจ, Example: ปัญหาครอบครัวแตกแยกส่งผลกระทบกระเทือนใจต่อเด็ก, Thai Definition: พาดพิงไปถึงให้รู้สึกสะเทือนใจ |
อารมณ์สะเทือนใจ | (n) emotion, Example: ความสามารถในเชิงประพันธ์ของผู้ประพันธ์ ทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจ |
ความกระทบกระเทือน | (n) effect, See also: impact, Syn. ผลกระทบ, ผลกระทบกระเทือน, Example: เศรษฐกิจได้รับความกระทบกระเทือนจากความวุ่นวายทางการเมือง |
ความรู้สึกสะเทือนใจ | (n) sympathy, See also: compassion, condolence, Syn. ความสะเทือนใจ |
กระทบกระเทือน | ก. กระเทือนไปถึง, พาดพิงไปถึงให้รู้สึกสะเทือนใจ. |
กระเทือน | ก. มีอาการสั่นไหวเพราะถูกกระทบ เช่น นั่งรถที่แล่นไปตามทางขรุขระก็รู้สึกกระเทือน เสียงระเบิดทำให้บ้านกระเทือน, โดยปริยายหมายความว่า เป็นทุกข์กังวล เช่น เขาว่าลูกก็กระเทือนไปถึงแม่ ใครจะว่าอย่างไร ๆ ก็ไม่กระเทือน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ กระทบ เป็น กระทบกระเทือน, สะเทือน ก็ว่า. |
กระเทือนใจ | ก. ไม่สบายใจเพราะมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากระทบ, สะเทือนใจ ก็ว่า. |
กระเทือนซาง | ก. เป็นทุกข์กังวลเพราะมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากระทบความรู้สึกอย่างรุนแรง เช่น ว่าเท่าไร ๆ ก็ไม่กระเทือนซาง ถูกตำหนิอย่างแรงทำให้รู้สึกกระเทือนซาง. |
เทือน | น. ที่ไกล. |
ฟ้าไม่กระเทือนสันหลัง | น. อำนาจเบื้องบนหรือผู้ปกครองยังไม่ลงโทษทัณฑ์ ใช้ในสำนวนว่า ถ้าฟ้าไม่กระเทือนสันหลังก็ยังไม่รู้สึก. |
สะดุ้งสะเทือน | ก. หวั่นไหว, เดือดร้อน, กังวลใจ, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ใครจะนินทาว่าร้ายอย่างไรก็ไม่สะดุ้งสะเทือน มหาเศรษฐีเสียเงินล้านสองล้านไม่สะดุ้งสะเทือนหรอก. |
สะเทือน, สะเทื้อน | ก. มีอาการสั่นไหวเพราะถูกกระทบ เช่น นั่งรถที่แล่นไปตามทางขรุขระก็รู้สึกสะเทือน เสียงระเบิดทำให้บ้านสะเทือน, โดยปริยายหมายความว่า เป็นทุกข์กังวล เช่น เขาว่าลูกก็สะเทือนไปถึงแม่ ใครจะว่าอย่างไร ๆ ก็ไม่สะเทือน, กระเทือน ก็ว่า. |
สะเทือนใจ | ก. ไม่สบายใจเพราะมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากระทบ เช่น เห็นภาพแม่กอดศพลูกร้องไห้แล้วรู้สึกสะเทือนใจ, กระเทือนใจ ก็ว่า. |
สะเทือนอารมณ์ | ก. มีจิตใจหวั่นไหวอย่างแรงเพราะมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากระทบทำให้รู้สึกเศร้าหมอง เช่น นวนิยายสะเทือนอารมณ์ อ่านเรื่องเศร้าแล้วสะเทือนอารมณ์. |
กระฉอก | ก. อาการที่ของเหลวเช่นนํ้าเป็นต้นกระเพื่อมอย่างแรงหรือล้นหกเพราะความสั่นสะเทือน, (ปาก) กระดอนหรือกระเด้ง เช่น ลูกบอลกระฉอกออกจากมือผู้รักษาประตู. |
กระทบ | ก. โดน, ถูกต้อง, ปะทะ, ในบทกลอนใช้ว่า ทบ ก็มี เช่น ของ้าวทบประทะกัน (ตะเลงพ่าย), หรือ ประทบ ก็มี เช่น ประทบประทะอลวน (ตะเลงพ่าย), พูดหรือทำให้กระเทือนไปถึงผู้อื่น เช่น พูดกระทบเขา ตีวัวกระทบคราด. |
กระทบกระทั่ง | ก. แตะต้อง, ทำให้กระเทือนถึง, ทำให้กระเทือนใจ. |
กระทั่ง ๑ | ให้เสียงสัญญาณ เช่น ตามช่องฉากบังกระทั่งไอ (คาวี), ถ้าใช้เข้าคู่กับคำ กระทบ เป็น กระทบกระทั่ง หมายถึง แตะต้อง, ทำให้กระเทือนถึง, ทำให้กระเทือนใจ |
กระทืบยอบ | น. ชื่อไม้ล้มลุก ๓ ชนิด คือ Biophytum adiantoides Wight ex Edgew. et Hook. f., B. petersianum Klotzsch และ B. sensitivum (L.) DC. ในวงศ์ Oxalidaceae ต้นเล็ก ๆ ใบคล้ายใบผักกระเฉด เมื่อถูกกระเทือนหุบได้ ดอกสีเหลือง, กระทืบยอด ก็เรียก. |
กระเทื้อม | ก. กระเทือน เช่น เสียงดังโครมใหญ่ไม่กระเทื้อม (อภัย) |
การนำ | การส่งถ่ายพลังงานความร้อนผ่านเทหวัตถุโดยวิธีการซึ่งโมเลกุลของเทหวัตถุนั้นกระทบกระแทกกันเนื่องจากโมเลกุลสั่นสะเทือนอย่างรวดเร็วมาก. |
กำธร | (-ทอน) ว. สนั่น, หวั่นไหว, สะเทือน, เช่น เสียงเทพอวยอาศิรวาท กำธรอากาศ ฦๅเลวงไชยไชย (สมุทรโฆษ). |
กินแถว | ก. เอาตัวหมากออกจากกระดานตลอดทั้งแถว (ใช้เฉพาะการเล่นหมากแยก). ว. กระทบกระเทือนทุกคนในพวกนั้น, ถูกลงโทษทุกคนในพวกนั้น. |
ขนหน้าแข้งไม่ร่วง | ว. ไม่กระทบกระเทือนถึงเดือดร้อน (ใช้แก่คนมั่งมีที่ต้องจ่ายเงินแม้จะมากแต่ก็ดูเหมือนเป็นจำนวนเล็ก ๆ น้อย ๆ ). |
เขย่า | (ขะเหฺย่า) ก. อาการที่จับสิ่งใดสั่นหรือยกขึ้นยกลงเร็ว ๆ เพื่อให้สิ่งนั้นกระเทือนหรือเคลื่อนไหว เช่น เขย่าตัวเพื่อให้ตื่น เขย่าขวดเพื่อให้ยาระคนกัน เขย่ากิ่งไม้เพื่อให้ลูกไม้หล่น, กระเทือน, ทำให้กระเทือน, เช่น รถเขย่า เกวียนเขย่า, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เขย่าขวัญ เขย่าโลก. |
ครั่นครื้น | (คฺรั่นคฺรื้น) ก. สะเทือน. |
ความถี่ | น. จำนวนไซเกิล, การแกว่งกวัด, การสั่นสะเทือนหรือคลื่นใน ๑ วินาที เช่น ไฟฟ้ากระแสสลับมีความถี่ ๕๐ ไซเกิลต่อวินาที, ปัจจุบันใช้ เฮิรตซ์ แทน ไซเกิล |
ค่อน ๑ | ก. ติ, ว่าให้สะเทือนใจ. |
คอบ ๑ | ก. ครอบ, รักษา, ครอบงำ, ครอบครอง, เช่น พระเม้านอระเนิ้งคอบ เรียมทุกข์ เทือนี้ (หริภุญชัย). |
ค้าน | หัก, พัง, ทำลาย, เช่น เครื่องบนกระบาลผุค้าน (คำฤษฎี), สยงสรเทือนพ้ยงค้าน ค่นเมรุ (ยวนพ่าย). |
คิดมาก | ก. คิดเกินกว่าเหตุ, รู้สึกสะเทือนใจง่าย. |
งง | อาการมึนเกิดเพราะหัวหรือบริเวณหน้าได้รับความกระทบกระเทือนอย่างแรงเป็นต้น. |
เจ็บช้ำน้ำใจ | ก. เจ็บใจ, สะเทือนใจ. |
ตบหัวลูบหลัง | ก. ทำหรือพูดให้กระทบกระเทือนใจในตอนแรกแล้วกลับทำหรือพูดเป็นการปลอบใจในตอนหลัง. |
ทองไม่รู้ร้อน | ว. เฉยเมย, ไม่สะดุ้งสะเทือน. |
ธรณิน | (ทอระ-) น. ธรณี, แผ่นดิน, เช่น กึกก้องสะเทือนธรณิน (ลอ). |
เนียรนาท | (เนียระนาด) ก. กึกก้อง เช่น เสียงฆ้องกลองประนังเนียรนาท สะเทือนท้องวนาวาสหิมวันต์ (ม. ร่ายยาว นครกัณฑ์), นีรนาท ก็ใช้. |
บัวไม่ช้ำ น้ำไม่ขุ่น | ก. รู้จักผ่อนปรนเข้าหากัน มิให้กระทบกระเทือนใจกัน, รู้จักถนอมนํ้าใจไม่ให้ขุ่นเคืองกัน, บัวไม่ให้ชํ้า นํ้าไม่ให้ขุ่น ก็ว่า. |
แผ่นดินไหว | น. การสั่นสะเทือนของแผ่นดินที่รู้สึกได้ ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งบนผิวโลก ส่วนใหญ่เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกที่รองรับผิวโลกอยู่ บางครั้งเกิดจากภูเขาไฟระเบิด. |
ฟะฟั่น | สั่น, สะเทือน. |
ไมยราบ | (ไมยะราบ) น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Mimosa pudica L. ในวงศ์ Leguminosae ใบคล้ายใบกระเฉด เมื่อถูกกระเทือนก็หุบราบไป, หญ้าปันยอด ก็เรียก. |
ระคาย | ก. ทำให้คายคันเหมือนถูกละออง เช่น ระคายตัว, กระทบกระเทือนกายใจให้เกิดรำคาญไม่สุขใจ เช่น ระคายหู, (กลอน) ใช้เป็น กระคาย ก็มี. |
รัญจวน | ก. ปั่นป่วนใจ เช่น กลิ่นหอมรัญจวนใจ, สะเทือนใจด้วยความกระสันถึง. |
ละเอียดอ่อน | อ่อนไหวง่าย, สะเทือนใจง่าย, เช่น บางคนถือเรื่องส่วนตัว เรื่องการเงินเป็นเรื่องละเอียดอ่อน. |
ลูกหมาก ๒ | น. อุปกรณ์ในส่วนช่วงล่างของรถยนต์ มีหน้าที่บังคับล้อและพวงมาลัยไม่ให้สั่น ทั้งช่วยผ่อนความสะเทือนของตัวรถด้วย. |
ลูบหน้าปะจมูก | ก. ทำอะไรเด็ดขาดจริงจังลงไปไม่ได้ เพราะเกรงจะไปกระทบกระเทือนพวกพ้องเป็นต้น. |
ศิลป-, ศิลป์ ๑, ศิลปะ | การแสดงออกซึ่งอารมณ์สะเทือนใจให้ประจักษ์ด้วยสื่อต่าง ๆ อย่างเสียง เส้น สี ผิว รูปทรง เป็นต้น เช่น วิจิตรศิลป์ ศิลปะการดนตรี ศิลปะการวาดภาพ ศิลปะการละคร. |
เศร้าสร้อย | ว. มีความรู้สึกสะเทือนใจชวนให้โศกเศร้าเพราะคิดถึงหรือผิดหวัง เช่น เขาสอบไม่ผ่านเลยเดินกลับบ้านอย่างเศร้าสร้อย ลูกนั่งเศร้าสร้อยคอยแม่กลับบ้าน, สร้อยเศร้า ก็ว่า. |
สะท้อนใจ | ก. อาการที่หายใจแรงขึ้น ๆ ลง ๆ เพราะอารมณ์สะเทือนใจเป็นต้น. |
สะท้าน | ดังลั่น, ดังก้อง, สั่นสะเทือน, เช่น เสียงปืนใหญ่ดังสะท้านก้องไปทั้งกรุง. |
สิทธิ, สิทธิ์ | อำนาจที่กฎหมายรับรองให้กระทำการใด ๆ โดยสุจริตได้อย่างอิสระ แต่ต้องไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิของคนอื่น. |
แสลงใจ ๑ | ก. อาการที่รู้สึกกระทบกระเทือนใจเหมือนถูกของมีคมบาดหัวใจ เช่น พอเห็นคนรักเก่าเดินไปกับหญิงคนใหม่ ก็รู้สึกแสลงใจ. |
หนุบ, หนุบ ๆ | ว. ลักษณะอาการตอด, อาการที่เจ็บในกายรู้สึกเต้นกระเทือนแต่น้อย ๆ |
หมวกนิรภัย | น. หมวกสำหรับสวมป้องกันหรือลดอันตรายเมื่อศีรษะได้รับความกระทบกระเทือนเป็นต้น, (ปาก) หมวกกันน็อก. |
Vibration | การสั่นสะเทือน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Mechanical vibration | การสั่นสะเทือนเชิงกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Seismic exploration | การสำรวจด้วยคลื่นไหวสะเทือน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Seismic waves | คลื่นไหวสะเทือน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Active noise and vibration control | การควบคุมเสียงและความสั่นสะเทือนแบบแอคทีฟ [TU Subject Heading] |
Shock absorbers | ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน [TU Subject Heading] |
Vibration | การสั่นสะเทือน [TU Subject Heading] |
Order of Precedence | หมายถึง ลำดับอาวุโสทางการทูต โดยถือยศหรือตำแหน่งเป็นบรรทัดฐาน โดยเฉพาะในโอกาสที่ไปร่วมพิธีต่าง ๆ ตลอดจนการเลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ นักการทูตทั่วโลกต่างถือลำดับอาวุโสเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพิถีพิถันกันไม่ น้อย เพราะในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ หากมีการจัดลำดับอาวุโสไม่ถูกต้อง เขาผู้นั้นซึ่งคำนึงถึงศักดิ์ศรีในฐานะตัวแทนของประเทศย่อมต้องรู้สึกว่า นอกจากจะไม่ได้รับความถูกต้องแล้ว ยังเป็นการดูแคลนประเทศของตนด้วยในสมัยก่อน ผู้ที่ทำหน้าที่ชี้ขาดในเรื่องลำดับอาวุโสของบรรดาประมุขของรัฐทั้งหลาย คือสมเด็จพระสันตะปาปา ต่อมาในการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาเมื่อปี ค.ศ. 1815 ที่ประชุมได้ตกลงกันให้ถือวันที่เดินทางมาถึงประเทศผู้รับ และได้แจ้งให้ทราบเป็นทางการว่าเป็นเรื่องลำดับอาวุโส ผู้ที่มาถึงก่อนย่อมมีอาวุโสกว่าผู้ทีมาทีหลัง อย่างไรก็ดี มาในทุกวันนี้มีหลายประเทศถือหลักว่า ผู้แทนทางการทูตที่ยื่นสารตราตั้งก่อนจะมีอาวุโสกว่าผู้ยื่นสารตราตั้งที หลัง และในกรณีที่เกิดความเห็นไม่ลงรอยกันระหว่างบุคคลในคณะทูตเรื่องลำดับอาวุโส ประเทศเจ้าภาพหรือประเทศผู้รับจะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติเกี่ยวกับลำดับอาวุโสของผู้แทนทางการ ทูตไว้ดังนี้ ?ข้อ 16 1. ให้หัวหน้าคณะผู้แทนมีลำดับอาวุโสในแต่ละชั้นของตนตามลำดับวันและเวลาที่ เข้ารับการหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้ง หรือเมื่อได้บอกกล่าวการมาถึงของตนและได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง ต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงตามแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป 2. การเปลี่ยนแปลงในสารตราตั้งของหัวหน้าคณะผู้แทน ซึ่งไม่เกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงชั้นใด ๆ จะไม่กระทบกระเทือนลำดับอาวุโสของหัวหน้าคณะผู้แทน 3. ข้อนี้ไม่เป็นที่เสื่อมเสียแก่ทางปฏิบัติใด ซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับ ในเรื่องลำดับอาวุโสของผู้แทนของโฮลี่ซี ข้อ 17 ลำดับอาวุโสของสมาชิกคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทนนั้น ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้บอกกล่าวแก่กระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน? [การทูต] |
Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
Regional Organizations | คือองค์การส่วนภูมิภาค ในเรื่องนี้ ข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติไว้ว่า ?ไม่มีข้อความใดในกฎบัตรฉบับปัจจุบัน อันจักริดรอนสิทธิประจำตัวในการป้องกันตนเองโดยลำพังหรือโดยร่วมกัน หากการโจมตีโดยกำลังอาวุธบังเกิดแก่สมาชิกของสหประชาชาติ จนกว่าคณะมนตรีความมั่นคงจะได้ดำเนินมาตรการที่จำเป็น เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ มาตรการที่สมาชิกได้ดำเนินไปในการใช้สิทธิป้องกันตนเองนี้ จักต้องรายงานให้คณะมนตรีความมั่นคงทราบโดยทันที และจักไม่กระทบกระเทือนอำนาจและความรับผิดชอบของคณะมนตรีความมั่นคงภายใต้กฎ บัตรฉบับปัจจุบันแต่ทางหนึ่งทางใด ในอันที่จักดำเนินการเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้หรือสถาปนากลับคืนมา ซึ่งสันติภาพความมั่นคงระหว่างประเทศ?จะเห็นได้ว่า ประเทศต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเดียวกันมักจะทำข้อตกลงกันในส่วนภูมิภาค โดยอาศัยสนธิสัญญา และโดยที่อาศัยอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใกล้เคียงกัน ( Geographical Propinquity ) หรือมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และมีวัตถุประสงค์ที่จะอำนวยความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการเมืององค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่งที่พอจะหยิบยก มาเป็นตัวอย่างได้ คือ องค์การสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEATO) ซึ่งบัดนี้ได้ยุบเลิกไปแล้วเพราะหมดความจำเป็น องค์การรัฐอเมริกัน (Organization of American States-OAS) องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ หรือนาโต้ (NATO) องค์การร่วมมือระหว่างออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกา (ANZUS) เป็นต้น องค์การภูมิภาคเหล่านี้ตั้งขึ้นโดยอาศัยข้อ 51 ของกฎบัตร สหประชาชาติ ซึ่งกล่าวถึงสิทธิของประเทศสมาชิกที่จะทำการป้องกันตนเองโดนลำพังหรือโดย ร่วมกัน หากถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ [การทูต] |
Butyl Rubber or Isobutylene Isoprene Rubber: IIR | ยาง IIR เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากโคโพลิเมอร์ระหว่าง isobutylene กับ isoprene มีสมบัติทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องจากสารเคมี ความร้อน แสงแดด ได้เป็นอย่างดี มีค่าการกระเด้งกระดอนต่ำที่อุณหภูมิห้อง นอกจากนี้ยางชนิดนี้ยังมีสมบัติเด่น คือ มีอัตราการซึมผ่านของก๊าซต่ำมาก ดังนั้นจึงนิยมใช้ในการผลิตยางในรถยนต์ หรือเคลือบผนังด้านในของยางเรเดียล ใช้ทำถุงยางลมสำหรับอบยางล้อให้คงรูปในอุตสาหกรรมผลิตยางรถยนต์ เป็นต้น และเนื่องการมีค่าการกระเด้งกระดอนต่ำที่อุณหภูมิห้อง ทำให้ดูดซับพลังงานกลและการสั่นสะเทือนได้ดีในช่วงอุณหภูมิที่กว้าง จึงเหมาะที่จะผลิตเป็นยางกันสะเทือนด้วย [เทคโนโลยียาง] |
Isobutylene isoprene rubber or Butyl rubber | ยาง IIR หรือยางบิวไทล์เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากโคพอลิเมอร์ระหว่าง isobutylene กับ isoprene มีสมบัติทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องจากสารเคมี ความร้อน แสงแดด ได้เป็นอย่างดี มีค่าการกระเด้งกระดอนต่ำที่อุณหภูมิห้องทำให้ดูดซับพลังงานกลและการสั่น สะเทือนได้ดีในช่วงอุณหภูมิที่กว้าง จึงเหมาะที่จะผลิตเป็นยางกันสะเทือน นอกจากนี้ยางชนิดนี้ยังมีสมบัติเด่น คือ มีอัตราการซึมผ่านของก๊าซต่ำมาก ดังนั้นจึงนิยมใช้ในการผลิตยางในรถยนต์ หรือเคลือบผนังด้านในของยางเรเดียล ใช้ทำถุงยางลมสำหรับอบยางล้อให้คงรูปในอุตสาหกรรมผลิตยางรถยนต์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Affect | กระทบกระเทือน, อารมณ์, ผลกระทบ, สภาพอารมณ์, ลักษณะอารมณ์ [การแพทย์] |
Amenorrhoea, Hypothalamic | ภาวะไม่มีระดูที่มีสาเหตุทางจิดใจกระทบกระเทือน [การแพทย์] |
Brain Concussion | สมองกระเทือน [การแพทย์] |
Brain Trauma | การกระทบกระเทือนโดยตรงต่อสมอง [การแพทย์] |
Brain, Pulsation of | การสั่นสะเทือนของสมอง, การสั่นสะเทือนของสมอง [การแพทย์] |
Cerebral Concussion | สมองกระทบกระเทือน, สมองได้รับความสะเทือน [การแพทย์] |
Concussion | สมองกระทบกระเทือน [การแพทย์] |
Concussion | ความกระทบกระเทือน, กระทบกระเทือน [การแพทย์] |
Emotional Disturbed | กระทบกระเทือนทางอารมณ์ [การแพทย์] |
Experience, Traumatic | ความบกพร่องในพัฒนาการทางอารมณ์, การกระทบกระเทือนต่อจิตใจ [การแพทย์] |
Fluid Thrill | การสั่นสะเทือนของสารน้ำการสั่นสะเทือนของของเหลว [การแพทย์] |
seismic exploration | seismic exploration, การสำรวจคลื่นไหวสะเทือน [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
seismograph | seismograph, เครื่องวัดความไหวสะเทือน [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
vibrating roller | vibrating roller, รถบดแบบสั่นสะเทือน [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
amnion | ถุงน้ำคร่ำ, ถุงหุ้มเอ็มบริโอของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังชั้นสูง มีลักษณะเป็นเยื่อบาง ๆ ภายในถุงมีของเหลวบรรจุอยู่ ทำหน้าที่ป้องกันตัวอ่อนจากการกระทบกระเทือน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
earthquake | แผ่นดินไหว, การสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งบนผิวโลก ส่วนใหญ่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกที่เกิดขึ้นอย่างทันทีทันใด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
dura mater | ดูรามาเตอร์, เยื่อหุ้มชั้นนอกสุดของสมองและไขสันหลังเพื่อป้องกันการกระทบกระเทือน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
hard disk | ฮาร์ดดิสก์, อุปกรณ์บันทึกข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยแผ่นบันทึกแบบแข็งเคลือบด้วยสารแม่เหล็กที่ผิวทั้งสองด้านหลายแผ่นเรียงซ้อนกัน มีหัวอ่านข้อมูลติดอยู่บนแขนที่เลื่อนเข้าออกได้ โดยอุปกรณ์ทั้งหมดนี้ถูกบรรจุในกล่องที่ปิดสนิทเพื่อป้องกันฝุ่นและการกระทบกระเทือน สามารถเก็บข้อมูลไ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Injuries, Intracranial | ความกระทบกระเทือนในสมอง, อันตรายเกิดขึ้นที่สมอง [การแพทย์] |
Joint Vibration | ความรู้สึกสั่นสะเทือนของข้อ [การแพทย์] |
affecting | (adj) ที่กระทบกระเทือนใจ, Syn. moving, touching, pathetic |
awesome | (adj) น่าสะพรึงกลัว, See also: ซึ่งทำให้สะเทือนขวัญ, น่าหวาดเสียว, Syn. awe-inspiring, formidable |
cast down | (phrv) เสียใจกับ, See also: เศร้าใจกับ, สะเทือนใจกับ |
delicate | (adj) ไวต่อความรู้สึก, See also: อ่อนแอ, สะเทือนอารมณ์ได้ง่ายเปราะบาง, Syn. weak, feeble |
depression | (n) ความสะเทือนใจ, See also: ความเศร้าสลด, ความหดหู่, Syn. unhappiness, gloom, Ant. hopefulness, cheerfulness |
epicenter | (n) พื้นดินเหนือศูนย์กลางการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว, See also: พื้นดินเหนือจุดศูนย์กลางของแผ่นดินไหว, Syn. center |
insusseptible | (adj) ซึ่งไม่ถูกชักจูงได้ง่าย, See also: ซึ่งไม่ถูกกระทบกระเทือนได้ง่าย, Ant. susceptible |
jar | (n) การสั่นสะเทือน, See also: การกระเทือน, Syn. vibration, jolt |
jar | (vt) ทำให้สั่นสะเทือน, See also: ทำให้สะเทือน, Syn. rattle, shake |
jar | (vi) สั่น, See also: สั่นสะเทือน, Syn. vibrate, shake |
move | (vt) ทำให้สะเทือนใจ, See also: เร้าความรู้สึกของ, Syn. affect, touch, influence, induce, incite, instigate, lead |
poignant | (adj) สะเทือนอารมณ์, See also: ปวดร้าว, ขมขื่น, Syn. bitter, piquant, Ant. mild |
quaverer | (n) สิ่งที่สั่นสะเทือน |
quavering | (adj) ซึ่งสั่นสะเทือน, Syn. quivering |
quaveringly | (adv) อย่างสั่นสะเทือน |
reverberate | (vt) ทำให้ดังก้อง, See also: ทำให้ดังสั่นสะเทือน, Syn. echo, resound |
rock | (vt) ทำให้ตกใจ, See also: ทำให้สั่นสะเทือน, Syn. shake, shock, surprise |
seismogram | (n) การบันทึกของเครื่อง seismograph, See also: การบันทึกการเกิดแผ่นดินไหว, บันทึกจากเครื่องวัดแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว |
seismograph | (n) เครื่องมือตรวจจับ วัด และบันทึกวัดแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว |
seismographer | (n) เครื่องมือตรวจจับ วัด และบันทึกวัดแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว |
seismography | (n) การวัดและบันทึกความสั่นสะเทือนที่เกิดแผ่นดินไหว |
sentimental | (adj) ซึ่งรู้สึกมากกว่าปกติ, See also: ซึ่งรู้สึกเกินควร, ซึ่งสะเทือนอารมณ์, ซึ่งซาบซึ้ง, Syn. emotional, idealistic, susceptible |
shake | (vi) เขย่า, See also: สั่น, สั่นสะเทือน, หวั่นไหว, สะเทือนใจ |
shake | (vt) ทำให้ตกใจและสะเทือนใจ, See also: ทำให้ว้าวุ่นใจ, ไม่มั่นคง |
shaky | (adj) สั่น, See also: สั่นเทา, สั่นระริก, สั่นสะเทือน, ตัวสั่น, Syn. quivery, trembling |
shock absorber | (n) เครื่องป้องกันการสะเทือน |
shock | (n) อาการตกใจสุดขีด, See also: สภาวะช็อก, อาการสะเทือนใจ, Syn. wonderment, Ant. apathy |
shock | (vt) ทำให้สะดุ้งตกใจ, See also: ทำให้ช็อก, ทำให้ตกตะลึง, ทำให้สะเทือนใจสุดขีด, Syn. horrify, offend, upset, Ant. calm, please |
shook-up | (adj) ซึ่งสะเทือนใจมาก |
susceptibility | (n) ความรู้สึกไว, See also: ความอ่อนไหวง่าย, ความกระเทือนใจง่าย, Syn. sensitivity, impressibility, affectibility |
susceptible | (adj) มีจิตใจที่อ่อนแอ, See also: สะเทือนใจง่าย, หวั่นไหวง่าย, Syn. vulnerable, inclined, liable |
susceptive | (adj) มีอารมณ์อ่อนไหว, See also: สะเทือนใจง่าย, หวั่นไหวง่าย, Syn. vulnerable, susceptible |
suspension | (n) ระบบกันสะเทือนของรถ |
stab someone to the heart | (idm) ทำให้สะเทือนใจ, See also: ทำร้ายจิตใจ อย่างมาก |
tell | (vi) มีผลกระทบ, See also: กระทบกระเทือน, Syn. be effective |
tremble | (vi) กระเทือน, See also: สั่น, สั่นสะเทือน, ไหว |
tremolo | (n) เครื่องป้องกันการสั่นสะเทือน |
unaffected | (adj) ซึ่งไม่กระทบกระเทือน, See also: ซึ่งไม่สะทกสะท้าน |
unaffected | (adj) ซึ่งไม่ได้รับผลกระทบ, See also: ซึ่งไม่ได้รับความกระทบกระเทือน, Syn. unmoved, untouched, unstirred, Ant. affected |
unaffectedly | (adv) อย่างไม่กระทบกระเทือน, Syn. simply |
unaffectedness | (n) การไม่กระทบกระเทือน |
vibrant | (adj) ซึ่งสั่นสะเทือน, See also: ซึ่งก้องกังวาน, ซึ่งกระหึ่ม, ซึ่งก้องกังวาน |
vibratile | (adj) ที่สามารถสั่นสะเทือน, See also: ที่สามารถเคลื่อนที่ขึ้นลงอย่างรวดเร็ว |
wadding | (n) สิ่งที่นำมาห่อหรือบุของเพื่อป้องกัน (กระเทือน, แตก), See also: สิ่งบุรองหรืออุด, Syn. wad |
affect | (vi., vt. อะเฟคทฺ'; -n. เอฟ' แฟคทฺ, อะเฟคท'ฺ) -vt., vi. มีผลต่อ, ส่งผลต่อ, กระทบกระเทือน, ทำให้เสียใจ, ทำให้สงสาร, เป็น (โรค) , เสแสร้ง, ชอบ, โน้มเอียงไปทาง-n. ความรู้สึก, อารมณ์ |
affected | (อะเฟค' ทิด) adj. ได้รับผล, ได้รับอิทธิพล, กระทบกระเทือน (จิตใจ) , เสียใจ, สงสาร, แกล้ง, เสแสร้ง, โน้มเอียงไปทาง, Syn. supurious, artificial, Ant. spontaneous, real, moved |
affecting | (อะเฟค' ทิง) adj. กระทบกระเทือนใจ, เร้าอารมณ์. -affectation n. - affectional adj., Syn. friendship, love, goodwill |
amplify | (แอม' พลิไฟ) vt. ขยายใหญ่ขึ้น, ขยายความ, ขยายความถี่ของการสั่นสะเทือน |
antiknock | (แอนทินอค') adj., n. กันการระเบิดสะเทือนของเครื่องยนต์, สารที่มีฤทธิ์ดังกล่าว |
catalysis | (คะแทล'ลิซิส) n. การเร่งปฏิกิริยาทางเคมีโดยการเติมสารกระตุ้น, ปฏิกิริยาระหว่างบุคคลหรือแรงโดยมีตัวกระตุ้นที่ไม่ถูกกระทบกระเทือน, See also: catalytic adj. ดูcatalysis pl. catalyses, Syn. katalysis, stimulation |
concuss | (คันคัส') { concussed, concussing, concusses } vt. สั่นสะเทือน, ขู่เข็ญ |
concussion | (คันคัส'เชิน) n. การสั่นสะเทือน, การปะทะอย่างแรง, การกระเทือนที่เกิดจากการกระทบกระแทก, ภาวะสมองไขสันหลัง หรืออื่น ๆ ถูกกระทบอย่างแรง., See also: concussant adj. ดูconcussion concussive adj. ดูconcussion, Syn. shaking, shoc |
convulse | (คันวัลสฺ') { convulsed, convulsing, convulses } vt. สั่นสะเทือนอย่างรุนแรง, ทำให้สั่นสะเทือนอย่างรุนแรงด้วยการหัวเราะ (ความโกรธ ความเจ็บปวด หรืออื่น ๆ) , ทำให้กล้ามเนื้อเกร็งตัวอย่างรุนแรง, ทำให้ชัก |
dither | (ดิธ'เธอะ) n. การสั่น, การสั่นสะเทือน, ความตื่นเต้น, ความกลัว. vi. สั่น, สั่นสะเทือน |
emotion | (อิโม'เชิน) n. อารมณ์, สิ่งที่ทำให้เกิดอารมณ์, ความสะเทือนใจ, อาวรณ์, See also: emotionable adj. ดูemotion emotive adj. ดูemotion emotionalist n. ดูemotion, Syn. feeling |
emotional | (อิโม'เชินเนิล) adj. มีอารมณ์, เกี่ยวกับความรู้สึก, ซึ่งกระเทือนอารมณ์, ซึ่งเร้าอารมณ์, Syn. feeling |
fremitus | n. ความสั่นสะเทือน |
hz | ย่อมาจาก hertz เป็นหน่วยวัดการสั่นสะเทือนของกระแสไฟฟ้าที่ใช้จำนวนมาก ๆ เพื่อวัดความเร็วของการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์อีกทีหนึ่ง 1 เฮิร์ทซ์ เท่ากับ 1 รอบต่อวินาที เมื่อวัดกันในขนาดจำนวนมากจริง ๆ จึงใช้หน่วยใหญ่ที่เรียกว่า เมกะเฮิร์ทซ์ (megahertz) ใช้ตัวย่อว่า MHz ไมโครคอมพิวเตอร์ปัจจุบันจะทำงานด้วยความเร็วประมาณ 25 - 60 เมกะเฮิร์ทซ์ |
impacted | adj. อัด, ยัดเยียด, ซึ่งถูกกระทบกระเทือน, อุดตัน |
impassible | (อิมพาซ'ซะเบิล) adj. ไม่รู้สึกเจ็บปวด, ไม่รู้สึกทุกข์ร้อน, ไม่มีอารมณ์, ไม่สะดุ้งสะเทือน, เมินเฉย, เย็นชา., See also: impassibility n. impassibly adv. |
impervious | (อิมเพอ' เวียส) adj. เข้าไม่ได้, ผ่านไม่ได้, ไม่อนุญาตให้เข้า, ไม่ถูกรบกวน, ไม่ถูกกระทบกระเทือน, ไม่สะดุ้งสะเทือน., See also: imperviable. imperviously adv. imperviousness n., Syn. im |
injure | (อิน'เจอะ) vt. ทำอันตราย, ทำให้ได้รับบาดเจ็บ, ทำให้เสียหาย, ทำผิด, ทำร้าย, ประทุษร้าย, กระทบกระเทือน, ร้าวราน., See also: injurable adj. injurer n., Syn. hurt |
insusceptible | (อินซะเซพ'ทิเบิล) adj. ดื้อ, ไม่รับ, ไม่ถูกกระทบกระเทือนได้., See also: insusceptibility n. insusceptibly adv. |
intact | (อินแทคทฺ') adj. ไม่เปลี่ยนแปลง, ไม่เสื่อมเสีย, ไม่ถูกกระทบกระเทือน, เหมือนเดิม., See also: intactness n., Syn. untorched |
jar | (จาร์) { jarred, jarring, jars } n. กระปุก, ขวดปากกว้าง, เหยือก, โอ่ง, ไห, โถ, เสียงสั่นสะเทือนระคายหู, การสั่นสะเทือน, อาการช็อค, ความไม่เห็นด้วย v. สั่นสะเทือน, ขัดแย้ง, ชนโครม, ไม่เห็นด้วย, See also: jaringly adv. ดูjar, Syn. vibrate |
passionate | (แพช'เชินเนท) adj. มีอารมณ์มาก, เร่าร้อน, กระตือรือร้น, มีอารมณ์ไคร่ได้ง่าย, โกรธง่าย, สะเทือนอารมณ์ได้ง่าย |
passionless | adj. ไร้อารมณ์, เยือกเย็น, สุขุม, ไม่มีความกระตือรือร้น, ไม่เกิดการสะเทือนอารมณ์. |
pique | (พิค) vt., vi. ทำให้โกรธ, ทำให้เสียใจ, กระเทือนใจ, ทำให้ตื่นเต้น, ดึงดูดความสนใจ, กระตุ้นอารมณ์, เร้าใจ. n. ความโกรธ, ความเสียใจ |
poignant | (พอย'เยินทฺ, พอย'เนินทฺ) adj. เจ็บปวด, เจ็บแสบ, สาหัส, ฉุน, เผ็ดร้อน, คมกริบ, แหลม, รุนแรง, สะเทือนอารมณ์., See also: poignancy n., Syn. intense |
pulse | (พัลซฺ) n. ชีพจร, การเต้นเป็นจังหวะ, ความสั่นสะเทือน, อารมณ์, จังหวะของชีวิต. vi. เต้น, สั่นสะเทือน, Syn. regular beat |
pulser | (พัล'เซอะ) n. เครื่องทำให้เกิดการสั่นสะเทือน |
purr | (เพอ) n., v. (เกิด) เสียงคล้ายเสียงหายใจที่ได้ยินในเครื่องฟัง, เสียงสั่นสะเทือนของเครื่องยนต์, เสียงรัวของลมพัด, เสียงครางของแมวที่แสดงความพอใจ, See also: purringly adv. -S.pur |
quake | (เควค) vi., n. (การ) สั่นเทา, สั่น, สั่นสะเทือน, ไหว, ยวบ, แผ่นดินไหว, See also: quakingly adv., Syn. shake |
quaky | (เคว'คี) adj. มักสั่น, มักสะเทือน, มีความโน้มเอียงที่จะสั่นหรือสั่นสะเทือน, See also: quakily adv. quakiness n., Syn. shaky |
quick | (ควิค) adj. รวดเร็ว, เร็ว, ไว, ฉับไว, คล่องแคล่ว, ใจร้อน, ไม่อดทน, หลักแหลม, เข้าใจได้เร็ว n. บุคคลที่มีชีวิตทั้งหลาย, แก่นแท้, จุดสำคัญ. -Phr. (cut to the quick ทำให้ได้รับบาดเจ็บลึก, กระทบกระเทือนความรู้สึก) adv. รวดเร็ว, เร็ว, See also: quickness n. |
resonate | (เรซ'ซะเนท) vt. ทำให้กังวาน, ทำให้สะท้อนกลับ, ขยายเสียงให้สั่นสะเทือน vi. สะท้อนเสียง, ดังก้อง, See also: resonation n. |
resounding | (รีเซา'ดิง) adj. ดังก้อง, สะท้อนกลับ, กังวาน, ดังมาก, สั่นสะเทือน, มีกำลัง, รุนแรง, ชัดแจ้ง, ยิ่งใหญ่, Syn. echoing, clear, vibrating |
reverberate | (รีเวอ'บะเรท) vi., adj. ดังก้อง, (เสียง) สะท้อนกลับ, ทำให้ดังสั่นสะเทือน, เด้งกลับ, See also: reverberative adj. reverberator n., Syn. resound |
rock | (รอค) n. หิน, โขดหิน, ก้อนหิน, หินโสโครก, อันตราย, ภัยพิบัติ, รากฐานอันมั่นคง, เพชร, พลอย vi., vt., n. (การ) โยก, แกว่ง, ไกว, เขย่า, ทำให้สั่นสะเทือน, ร่อนแร่, โคลงเคลง, ปลอบโยน adj. โยกไปมา -Phr. (on the rocks สู่ความหายนะสู่ภัยพิบัติ, ล้มละลาย, ไม่มีเงิน) |
seismograph | (ไซซ'มะกราฟ) n. เครื่องมือวัดและบันทึกความสั่นสะเทือนที่เกิด จากแผ่นดินไหว., See also: seismographic adj. seismographical adj. |
seismography | (ไซซมอก'กระฟี) n. การวัดและบันทึกความสั่นสะเทือนที่เกิดจากแผ่นดินไหว, =seismology (ดู), See also: seismographer n. |
sentimental | (เซนทะเมน'เทิล) n. รู้สึกมากกว่าปกติ, รู้สึกเกินควร, มีอารมณ์อ่อน ไหว, ซาบซึ้ง, สะเทือนอารมณ์ได้ง่าย, เห็นอกเห็นใจ, Syn. warm, sympathetic, loving |
shake | (เชด) (shook, shaken, shaking, shakes } vt., vi., n. (การ) เขย่า, สั่น, โยก, ทำให้สั่น, สลัด, สะบัด, ทอดทิ้ง, ทำให้กระวนกระวาย, กวนใจ, ทำให้สงสัย, ขจัด, สั่นสะเทือน, ตัวสั่น, สะท้าน, แกว่ง, ไม่มั่นคง, หวั่นไหว, จับมือกัน (แสดงความเคารพการทักทายหรือการเห็นด้วย) , สิ่งที่เกิดจากการสั |
shaky | (เช'คี) adj. สั่น, สั่นเทา, สั่นระริก, สั่นสะเทือน, ตัวสั่น, โอนเอน, โยกคลอน, ไม่มั่นคง, ทำท่าจะล้ม, น่าสงสัย., See also: shakily adv. shakiness n., Syn. decrepit, rickety |
shock | (ชอค) n. การกระทบกระแทกอย่างกะทันหัน, อาการสะเทือน, อาการสะเทือนทางใจอย่างกะทันหัน, อาการตื่นตะลึง, ความสะดุ้งตกใจ, อาการสั่นกระตุก, อาการเป็นลม, อาการแน่นิ่งไปอย่างกระทันหัน. vt. ทำให้ตะลึงงัน, ทำให้สะดุ้งตกใจ, เขย่าขวัญ, ทำให้สะเทือน, กระทบอย่างแรง, ตีอย่างแรง. vi.ตะลึงงัน, สดุ้งตกใจ |
shock absorber | n. อุปกรณ์กันสะเทือน, โช๊คอัพ |
shook-up | (ชูค'อัพ) adj. ถูกกระทบกระเทือนทางใจอย่างรุนแรง |
susceptibility | (ซะเซพทะบิล'ลิที) n. ความรู้สึกไว, ความอ่อนแอทางใจ, การถูกกระทบกระเทือนทางใจได้ง่าย, อัตราการเป็นแม่เหล็ก, Syn. sensibility, vulnerability |
susceptible | (ซะเซพ'ทะเบิล) adj. รู้สึกไว, มีจิตใจอ่อนแอ, สะเทือนใจง่าย, หวั่นไหวง่าย, ประทับใจได้ง่าย., See also: susceptibleness n. susceptibly adv., Syn. sensitive, vulnerable, Ant. resistant |
tremble | (เทรม'เบิล) vi., n. (การ) สั่น, สั่นเทา, สั่นไหว, ตัวสั่น, สั่นระริก, กลัว, เป็นทุกข์, สั่นสะเทือน ., See also: trembler n. tremblingly adv., Syn. shake, quiver, teeter, sway |
trembling | (เทรม'บลิง) n. การสั่นเทา, การสั่นสะเทือน, Syn. shaking |
trepidation | (เทรพพิเด'เชิน) n. การสั่นระริก, การสั่น, การสั่นเทา, การสั่นสะเทือน, ความกังวลใจ, อาการกระตุกของกล้ามเนื้อ, Syn. anxiety, apprehension, panic, nerves |
twang | (ทแวง) n., vi., vt. (ทำ) เสียงซอ, เสียงแหลมที่สั่นสะเทือน, See also: twangy adj. |
tympanum | (ทิม'พะนัม) n. หูช่องกลาง, เยื่อแก้วหู, ช่องกลาง, แผ่นเยื่อสั่นสะเทือนของโทรศัพท์ pl. tympanums, tympana, Syn. drum |
affecting | (adj) น่าสงสาร, น่าเอ็นดู, สะเทือนใจ |
convulse | (vt) สั่น, ทำให้ชัก, สั่นสะเทือน |
damper | (n) สิ่งที่ทำให้ชื้น, เครื่องลดการสั่นสะเทือน, เครื่องบรรเทา |
emotional | (adj) ซึ่งเร้าอารมณ์, ซึ่งสะเทือนอารมณ์, ตื่นเต้นง่าย, เกี่ยวกับความรู้สึก |
friction | (n) การขัดถู, การกระทบกระเทือน, ความฝืด, การเสียดสี |
impact | (vi) ประกัน, สะเทือน, กระทบ, ปะทะ |
impassible | (adj) ไม่มีความรู้สึก, ไม่สะดุ้งสะเทือน, เฉย, เย็นชา |
impassive | (adj) ไม่ยินดียินร้าย, ไม่สะดุ้งสะเทือน, ไม่รู้สึกทุกข์ร้อน |
jar | (vt) ทำให้สั่นสะเทือน, ชน |
pulsation | (n) การเต้น, การสั่น, ชีพจร, จังหวะ, ความสะเทือน |
pulse | (n) ชีพจร, จังหวะ, การเต้น, ความสั่นสะเทือน, ถั่ว |
pulse | (vt) เต้น, สั่น, สะเทือน |
quake | (vi) ยวบ, ไหว, สั่นสะเทือน, สั่นเทา, สั่นระริก |
reverberate | (vi) ทำให้ก้อง, ทำให้สะท้อนกลับ, ทำให้สั่นสะเทือน |
reverberate | (vt) ก้อง, สะท้อนกลับ, สั่นสะเทือน |
reverberation | (n) เสียงก้อง, การสะท้อนกลับ, การสั่นสะเทือน |
shake | (vt) โยก, เขย่า, ไหว, ทำให้สั่นสะเทือน, ขจัด |
shaky | (adj) สั่นสะเทือน, สั่น, สั่นเทา, โอนเอน |
shock | (vt) ทำให้สะเทือน, ทำให้สะดุ้ง, กระตุก, ตะลึง, จู่โจม |
susceptible | (adj) อ่อนแอ, หวั่นไหวง่าย, สะเทือนใจง่าย |
tremble | (n) การสั่นสะท้าน, การสั่นสะเทือน |
tremor | (n) การสั่นสะเทือน, ความตื่นเต้น, ใจสั่น |
unruffled | (adj) เรียบ, สงบ, ไม่สะเทือน, มั่นคง |
vibrant | (adj) สั่นสะเทือน, สั่น, กังวาน |
vibrate | (vi) สั่นสะเทือน, สั่น, ก้อง, กังวาน |
vibration | (n) การสั่นสะเทือน, การสั่น, การแกว่ง, ความตื่นเต้น |