รู้ทาง | ก. รู้วิธีของคู่ต่อสู้หรือฝ่ายตรงข้าม. |
คหกรรมศาสตร์ | (คะหะกำมะสาด) น. วิชาที่เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ โดยมุ่งพัฒนาครอบครัวด้วยการจัดการทรัพยากรบุคคล วัสดุและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาอาชีพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความมั่นคงของสถาบันครอบครัวและสังคม. |
โต๊ะครู | น. ผู้อาวุโสที่มีความรู้ทางศาสนาอิสลาม. |
ทาง ๑ | วิธี, กลยุทธ์, เช่น แก้ทาง รู้ทาง แพ้ทาง |
เทคโนโลยี | น. วิทยาการที่นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ อุตสาหกรรม เป็นต้น. |
รังสีแพทย์ | น. แพทย์ที่วิเคราะห์และรักษาโรคโดยใช้ความรู้ทางรังสีวิทยา. |
ราชบัณฑิต | (-บันดิด) น. นักปราชญ์หลวงมีความรู้ทางภาษาบาลี |
วิญญาณ | ความรับรู้ เช่น จักษุวิญญาณ คือ ความรับรู้ทางตา โสตวิญญาณ คือ ความรับรู้ทางหู เป็นขันธ์ ๑ ในขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ |
วิศวกรรม | การนำความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้. |
วิศวกรรมศาสตร์ | (วิดสะวะกำมะสาด) น. วิชาที่เกี่ยวกับการนำความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้ มีหลายสาขา เช่น วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมเครื่องกล. |
เวท, เวท- | (เวด, เวทะ-) น. ความรู้, ความรู้ทางศาสนา |
หมอขวัญ | ผู้มีความรู้ทางคชศาสตร์และเป็นหัวหน้าในการจับช้าง, หมอเฒ่า ก็เรียก. |
หมอเฒ่า | น. ผู้มีความรู้ทางคชศาสตร์และเป็นหัวหน้าในการจับช้าง, หมอขวัญ ก็เรียก. |
psychic blindness; agnosia, visual; blindness, cortical psychic; psychanopsia | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางการเห็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
psychanopsia; agnosia, visual; blindness, cortical psychic; blindness, psychic | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางการเห็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
olfactory agnosia | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางกลิ่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
agnosia, acoustic; agnosia, auditory | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางการได้ยิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
acoustic agnosia; agnosia, auditory | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางการได้ยิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
agnosia, auditory; agnosia, acoustic | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางการได้ยิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
agnosia, olfactory | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางกลิ่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
agnosia, tactile | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางการสัมผัส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
agnosia, visual; blindness, cortical psychic; blindness, psychic; psychanopsia | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางการเห็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
auditory agnosia; agnosia, acoustic | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางการได้ยิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
blindness, psychic; agnosia, visual; blindness, cortical psychic; psychanopsia | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางการเห็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
blindness, cortical psychic; agnosia, visual; blindness, psychic; psychanopsia | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางการเห็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
cortical psychic blindness; agnosia, visual; blindness, psychic; psychanopsia | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางการเห็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
visual agnosia; blindness, cortical psychic; blindness, psychic; psychanopsia | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางการเห็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
tactile agnosia | ภาวะเสียการระลึกรู้ทางการสัมผัส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Science and Technology Knowledge Services | ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Language acquisition | การรับรู้ทางภาษา [TU Subject Heading] |
Social perception | การรับรู้ทางสังคม [TU Subject Heading] |
Visual perception | การรับรู้ทางสายตา [TU Subject Heading] |
Declaration | คำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น [การทูต] |
Biological Plausibility | ความรู้ทางชีววิทยา, ความเป็นไปได้ทางชีวภาพ [การแพทย์] |
information technology (IT) | เทคโนโลยีสารสนเทศ (ไอที), การนำความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างหรือจัดการกับสารสนเทศอย่างเป็นระบบและรวดเร็วโดยอาศัยเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
exploration | การสำรวจ, กระบวนการหนึ่งที่นำไปสู่ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
scientific process | กระบวนการทางวิทยาศาสตร์, กระบวนการพื้นฐานที่นำไปใช้เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยมีการทำงานเป็นระบบอย่างมีขั้นตอน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Learning Theory, Social | ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม [การแพทย์] |
Mass Approach | ให้เป็นกลุ่มใหญ่, ให้ความรู้ทางสื่อมวลชน [การแพทย์] |
authoring system | ระบบการเขียนโปรแกรมหมายถึง ระบบการเขียนโปรแกรมโดยที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องมีความรู้ทางด้านโปรแกรมเลย ผู้เขียนเพียงแต่ใช้ภาษาง่าย ๆ ในรูปแบบเชิงโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์เท่านั้น |
geek | (กีค) n. นักเล่นปาหี่, บุคคล, เจ้าหมอนี่, บุคคลที่มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์สูงมาก แต่ก็ไร้ประโยชน์ เพราะมักจะเป็นประเภทไม่ชอบให้ความช่วยเหลือใคร |
law | (ลอ) { lawed, lawing, laws } n. กฎหมาย, กฎ, กฎข้อบังคับ, คำสั่ง, วิชากฎหมาย, ความรู้ทางกฎหมาย, อาชีพกฎหมาย, หลักความประพฤติ, กฎทางคณิตศาสตร์ -Phr (the Law บัญญัติสิบประการของโมเซส, คำสั่งสอนในพระคัมภีร์ไบเบิล) . vi., vt. ดำเนินคดี, ฟ้องร้อง |
renaissance | (เรนนิซานซฺ', -ซานซฺ) n. ความเฟื่องฟู ความรู้ทางศิลปวรรณกรรมในยุโรปสมัยศตวรรษที่ 14-17, สมัยดังกล่าว, See also: renaissance การฟื้นฟูชีวิตพลังความสนใจหรืออื่น ๆ, ชีวิตใหม่ adj. เกี่ยวกับสมัยดังกล่าว, เกี่ยวกับลักษณะศิลปวรรณกรรมในสมัยดังกล่าว |