ศอ | (n) neck, Syn. คอ, พระศอ, Example: พระอิศวรมีเศียรเป็นมนุษย์ แต่มีพระศอดำ, Count Unit: คอ, Notes: (ราชา) |
ศอ. | (n) NECTEC, See also: National Electronics and Computer Technology Center, Syn. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ |
ศอก | (clas) cubit, Example: พระพุทธไสยาสน์เดิมยาวสี่วา แต่องค์ใหม่ยาว 8 วา 2 ศอก, Thai Definition: มาตราวัดตามวิธีประเพณี 1 ศอก เท่ากับ 2 คืบ |
ศอก | (n) elbow, Syn. ข้อศอก, Example: พ่อใช้ศอกกระทุ้งเข้าที่ท้องของคนร้าย, Count Unit: ข้าง, Thai Definition: ส่วนของแขนตรงที่เป็นข้อพับ |
ข้อศอก | (n) elbow, Syn. ศอก, Example: ผู้เข้าประกวดนางสาวไทยจะต้องมีข้อศอกและหัวเข่าที่ไม่ดำหรือด้าน, Count Unit: ข้อ, ข้าง, Thai Definition: ส่วนของแขนตรงที่เป็นข้อพับ |
ทิศอุดร | (n) north, Syn. ทิศเหนือ, Ant. ทิศใต้, ทิศทักษิณ, Example: ห้องนอนไม่ควรจัดให้หันหน้าไปทางทิศอุดรหรือทิศอีสาน เพราะถึงฤดูหนาวจะหนาวมาก, Thai Definition: ทิศที่อยู่ทางเหนือ |
ยศอย่าง | (n) standing on one's dignity, See also: snobbery, arrogance, hauteur, presumption, pretension, pomposity, snootiness, Syn. การถือยศถือศักดิ์, Thai Definition: การทำตามแบบอย่างผู้มียศ, การถือยศถือศักดิ์ |
ทิศอีสาน | (n) northeast, Syn. ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, Ant. ทิศตะวันตกเฉียงใต้, ทิศหรดี, Example: ลมในบริเวณนี้มักจะพัดจากทิศอีสานสู่ทิศหรดี เรียกกันว่า ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ, Thai Definition: ทิศซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างทิศเหนือกับทิศตะวันออก |
อกสามศอก | (adj) broad-chested, See also: able-bodied, full-grown, masculine, virile, Example: เขาเป็นผู้ชายอกสามศอก แต่หาเลี้ยงตัวเองไม่ได้, Thai Definition: ลักษณะผู้ชายที่มีร่างใหญ่โต แข็งแรง |
ลดราวาศอก | (v) yield, Syn. อ่อนข้อ, ผ่อนปรน, Ant. แข็งกร้าว, Example: คนกลุ่มนี้ไม่เคยลดราวาศอกให้กับใคร แม้แต่พวกเดียวกันเอง |
ลดลาวาศอก | (v) decrease adamant, See also: give quarter, give remission, give let up, Syn. ผ่อนปรน, อ่อนข้อ, Example: แต่ละคนต่างยึดมั่นถือมั่นไม่ยอมลดลาวาศอกให้กัน จึงทำให้เกิดการทะเลาะวิวาทขึ้นในที่สุด, Thai Definition: เพลาลง, ผ่อนให้เบาหรือน้อยลง |
อัปยศอดสู | (v) disgrace, See also: lose fame, lose face, humiliate, embarrass, dishonour, Syn. อับอายขายหน้า, เสื่อมเสีย, Example: เขาต้องอัปยศอดสูเพราะพฤติกรรมคอรัปชั่นได้ถูกเปิดเผยสู่สาธารณะชน, Thai Definition: เสื่อมเสียชื่อเสียง, น่าอับอายขายหน้า |
ทิศอาคเนย์ | (n) southeast, Syn. ทิศตะวันออกเฉียงใต้, Ant. ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ, ทิศพายัพ, Example: เดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน ลมจะพัดมาทางทิศอาคเนย์, Thai Definition: ทิศซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างทิศตะวันออกกับทิศใต้ |
น่าอัปยศอดสู | (adv) shamefully, See also: embarrassingly, Syn. น่าอับอาย, น่าอับอายขายหน้า, Example: โจรสลัดทำทารุณโหดร้ายต่อคนญวณอพยพทางเรืออย่างน่าอัปยศอดสู |
ประเทศอังกฤษ | (n) England, Syn. อังกฤษ, Example: ประเทศอังกฤษอยู่ในทวีปยุโรป |
ประกาศอิสรภาพ | (v) declare independence, Syn. ปลดปล่อย, Example: วันนี้เป็นวันที่ประเทศอเมริกาประกาศอิสรภาพจากประเทศอังกฤษ |
ประเทศอินเดีย | (n) Republic of India, See also: India, Syn. อินเดีย, Example: ประเทศอินเดียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนามากมาย, Count Unit: ประเทศ |
ประเทศอุตสาหกรรม | (n) industrial country, See also: advanced or modern country, Ant. ประเทศเกษตรกรรม, Example: สถาบันการเงินของอเมริกาชะลอการปล่อยเงินกู้ให้กับประเทศอุตสาหกรรมเกิดใหม่ของเอเชีย, Thai Definition: ประเทศที่ทำอุตสาหกรรมเป็นหลัก |
กินน้ำใต้ศอก | ก. จำต้องยอมเป็นรองเขา, ไม่เทียมหน้าเทียมตาเท่า, (มักหมายถึงเมียน้อยที่ต้องยอมลงให้แก่เมียหลวง). |
ข้อศอก | น. ส่วนของแขนตรงข้ามกับข้อพับ, ศอก ก็ว่า. |
คืบก็ทะเล ศอกก็ทะเล | ออกทะเลอย่าประมาททะเล เพราะอาจเกิดอันตรายได้ทุกเมื่อ. |
ฉลองพระศอ | น. สร้อยนวม. |
ได้คืบจะเอาศอก | ต้องการได้มากกว่าที่ได้มาแล้ว. |
ไปไหนมาสามวาสองศอก | ก. ถามอย่างหนึ่งตอบไปอีกอย่างหนึ่ง. |
ไม่ลดราวาศอก | ก. ไม่ยอมผ่อนปรน เช่น เถียงไม่ลดราวาศอก. |
ยศอย่าง | น. การทำตามแบบอย่างผู้มียศ, การถือยศ ถือศักดิ์. |
ลงศอก | ก. เอาศอกกระทุ้งลง เช่น นักมวยลงศอกคู่ต่อสู้ |
ลงศอก | ใช้ศอกยันลงกับพื้นเพื่อพยุงตัวขณะหมอบ. |
ลดราวาศอก | ก. อ่อนข้อ, ยอมผ่อนปรนให้, เช่น เถียงกันไม่ลดราวาศอก เขาเป็นพี่ก็ต้องยอมลดราวาศอกให้เขาบ้าง. |
ศอ | น. คอ, ราชาศัพท์ ว่า พระศอ. |
ศอก | น. ส่วนของแขน ตรงข้ามกับข้อพับ, ข้อศอก ก็ว่า |
ศอก | ช่วงของแขนตั้งแต่ปลายสุดของข้อพับไปถึงปลายนิ้วกลาง |
ศอก | มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ ศอก เท่ากับ ๒ คืบ. |
ศอกกลับ | ก. หมุนตัวตีศอกทางด้านหลัง เป็นท่ามวยไทยท่าหนึ่ง |
ศอกกลับ | โดยปริยายหมายความว่า ย้อนว่าสวนคำ, พูดตอบสวนควัน, เช่น พอเขาว่ามาก็ศอกกลับไป. |
ศอกกำ, ศอกกำมา, ศอกตูม | น. ระยะตั้งแต่ข้อศอกจนสุดกำมือ โบราณใช้เป็นหน่วยวัดระยะ เช่น ๔ ศอกกับศอกกำมาหนึ่ง. |
ศอกคู้ | น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์หัสตะ มี ๕ ดวง, ดาวศีรษะช้าง ดาวหัสต หรือ ดาวหัฏฐะ ก็เรียก. |
อกสามศอก | ว. มีร่างกายกำยำล่ำสัน, แข็งแรง, (ใช้แก่ผู้ชาย). |
กโบร | (กะโบน) น. ศอก, ข้อศอก. (พจน.). |
กมเลศ | พระนารายณ์ เช่น ดุจองค์สมเด็จกมเลศอันลีลาศ ลงจากชั้นสุทธาวาสบวรวิมาน (ม. ร่ายยาว ฉกษัตริย์). |
กรรปุระ | (กัน-) น. ศอก, ข้อศอก. |
กรอง ๓ | (กฺรอง) น. กำไล, โดยมากใช้ประกอบกับคำอื่น ๆ เช่น กรองเชิง = กำไลเท้า กรองได = กำไลมือ กรองศอ = เครื่องประดับคอ, นวมคอ, เช่น กรองศอซ้อนสลับทับอังศา (อิเหนา). [ ข. กง (กอง) ว่า กำไล, วงกลม ]. |
กระจอกชวา | น. ชื่อนกขนาดเล็กชนิด Lonchura oryzivora (Linn.) วงศ์ย่อย Estrildinae ในวงศ์ Passeridae ปากหนารูปกรวย หัวสีดำ แก้มสีขาว ตัวสีเทาอมฟ้า ท้องสีส้ม หางเว้าตื้น มีถิ่นกำเนิดในเกาะชวาและเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เคยนำมาเลี้ยงใช้เสี่ยงทาย จึงเรียกว่า นกหมอดู. |
กระโจม ๓ | เครื่องสวมศีรษะอย่างหนึ่ง เช่น กระจอนหูแปงประดับแก้วเครื่องเลิศอุดมกระโจมคำสุบเก้าเกษ (ม. ภาคอีสาน นครกัณฑ์). |
กระทุ้ง | ก. เอาสิ่งที่มีลักษณะยาวกระแทก เช่น เอาสามเกลอกระทุ้งดิน เอาศอกกระทุ้งสีข้าง, ทุ้ง ก็ว่า, โดยปริยายหมายความว่า หนุนให้กระทำหรือกล่าวแสดงออกมา เช่น กระทุ้งให้ร้องเพลง. |
กระแพง | น. กำแพง เช่น ทิศออกกระแพงแก้วกั้น (จารึกวัดโพธิ์). |
กระวานเทศ | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Elettaria cardamomum (L.) Maton ในวงศ์ Zingiberaceae มาจากประเทศอินเดียตอนใต้ ผลรูปกระสวยหรือรูปไข่ปลายแหลม สีนวล มี ๓ พู กลิ่นหอมฉุน, เอลา ลูกเอ็ล หรือ ลูกเอ็น ก็เรียก. |
กระแสสลับ | (-สะหฺลับ) น. กระแสไฟฟ้าซึ่งเคลื่อนที่โดยสลับแนวทิศอยู่ตลอดเวลา. |
กระหย่อน | ก. ขย้อน คือ อาการขยับขึ้นขยับลง เช่น พระยานั่งอยู่แลกระหย่อนองค์โลดขึ้นทั้งนั้นก็ดี ขึ้นสูงได้ ๑๘ ศอก (ไตรภูมิ; สรรพสิทธิ์; พงศ. เหนือ), กระย่อน ก็ใช้. |
กระหวัดเกล้า | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างหนึ่งจีบหงาย งอข้อศอก หักข้อมือเข้าหาแง่ศีรษะ มืออีกข้างหนึ่งตั้งวงกลาง เอียงศีรษะข้างเดียวกับมือที่ตั้งวง. |
กรีส ๒ | (กะหฺรีด) น. มาตราวัดความยาว เท่ากับ ๑ เส้น ๑๑ วา ๑ ศอก หรือ ๑๒๕ ศอก, ความจุเท่ากับ ๔ อัมพณะ คือ ประมาณ ๔๔ ทะนาน. |
กะหรี่ ๑ | เรียกเครื่องแกงกะหรี่ซึ่งประกอบด้วยขมิ้นและเครื่องเทศอื่น ๆ บดเป็นผง ว่า ผงกะหรี่. |
การเวก ๒ | (การะ-) น. ชื่อนกขนาดเล็กถึงขนาดกลางหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Paradisaeidae แต่ละชนิดมีสีสันหลากหลาย อาจมี ๕-๑๐ สีในตัวเดียวกัน ตัวผู้สีสดกว่าตัวเมีย พบในเกาะนิวกินี เกาะใกล้เคียง และทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศออสเตรเลีย ในประเทศไทยมีผู้นำมาเลี้ยงตามบ้าน เช่น ชนิด Paradisea apoda Linn. |
กำแพงเขย่ง | (-ขะเหฺย่ง) น. ชื่อพระพิมพ์ปางลีลา ยกพระบาทข้างหนึ่งคล้ายเขย่ง เพราะขุดพบที่จังหวัดกำแพงเพชรเป็นแห่งแรก จึงเรียกว่า พระกำแพงเขย่ง, ถ้ามีขนาดสูงประมาณ ๑ ศอก เรียกว่า พระกำแพงศอก. |
กุเวร | (-เวน) น. ชื่อท้าวจาตุมหาราชองค์หนึ่ง ประจำทิศอุดร, ท้าวเวสวัณ หรือ ท้าวเวสสุวัณ ก็เรียก. |
เกสร | ขนสร้อยคอสิงโต เช่น เกสรสร้อยศอดังผ้ารัตกัมพล (ม. ร่ายยาว มหาพน). |
ข้อ | เรียกอวัยวะบางส่วนที่มีข้อต่อและงอได้ เช่น ข้อมือ ข้อศอก ข้อเท้า |
ขอนทิ้งอก | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างหนึ่งจีบหงาย งอข้อศอก หักข้อมือเข้าหาแง่ศีรษะ มืออีกข้างหนึ่งจีบหงายเข้าอก เอียงศีรษะข้างเดียวกับมือที่จีบเข้าอก. |
ขับซอ | ก. ร้องเพลงโดยมีดนตรีประกอบ เช่น ขับซอยอยศอ้าง ฦๅลูกกษัตริย์เจ้าช้าง ชื่นแท้ใครเทียมเทียบนา (ลอ). |
ขี่ม้าเลียบค่าย | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างหนึ่งตั้งวง ระดับไหล่ มืออีกข้างหนึ่งจีบหงาย งอข้อศอก ระดับไหล่ เอียงศีรษะข้างเดียวกับมือที่จีบ. |
เข้ารัง | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างหนึ่งจีบหงาย งอข้อศอก หักข้อมือเข้าหาแง่ศีรษะ มืออีกข้างหนึ่งจีบหงายข้างเอวด้านเดียวกัน เอียงศีรษะข้างเดียวกับมือต่ำ. |
แข่งดี | ก. มุ่งเอาชนะชิงดีชิงเด่นโดยไม่ยอมลดราวาศอกให้แก่กัน, มุ่งเอาชนะชิงดีชิงเด่นโดยไม่ยอมผ่อนปรนให้แก่กัน. |
แขน ๑ | น. อวัยวะที่ต่อจากไหล่ทั้ง ๒ ข้าง, (ราชา) เรียกอวัยวะตั้งแต่ศอกไปถึงไหล่ว่า พระพาหา ตั้งแต่ศอกไปถึงมือว่า พระกร |
คงคา ๑ | น. นํ้า, แม่นํ้า, ใช้เป็นสามัญว่า แม่พระคงคา หมายถึง เจ้าแม่ประจำนํ้า, ชื่อแม่นํ้าสำคัญสายหนึ่งในประเทศอินเดีย. (ป., ส. คงฺคา ว่า ผู้ไปเร็ว, ผู้ไหลเชี่ยว) |
คด ๒ | น. สิ่งปลูกสร้างซึ่งมีสัณฐานหักมุมเป็นข้อศอก เช่น วิหารคด. |
คลาน | กิริยาที่เคลื่อนไปด้วยเข่า เรียกว่า คลานเข่า, เคลื่อนไปด้วยเข่าและศอก เรียกว่า คลานศอก |
คลุกวงใน | ก. เข้าไปชิดตัวคู่ต่อสู้ เพื่อใช้หมัด เข่า ศอก ได้เต็มที่ (ใช้แก่กีฬามวย). |
คอ | น. ส่วนของร่างกายที่ต่อศีรษะกับตัว, ราชาศัพท์ว่า พระศอ |
Pan-Europe | ขบวนการรวมกลุ่มประเทศภาคพื้นยุโรป (ไม่รวมประเทศอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Pan-European | ขบวนการรวมกลุ่มยุโรป (รวมประเทศอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pneumohaemia; embolism, air; pneumathaemia; pneumathemia; Pneumohaemia; pneumohemia | ภาวะฟองอากาศอุดหลอดเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Pneumohaemia; embolism, air; pneumathaemia; pneumathemia; pneumohaemia; pneumohemia | ภาวะฟองอากาศอุดหลอดเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pneumohemia; embolism, air; pneumathaemia; pneumathemia; pneumohaemia; Pneumohaemia | ภาวะฟองอากาศอุดหลอดเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pharyngorrhea; pharyngorrhoea | อาการมีศอเสมหะ, อาการมีเสมหะจากคอหอย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pharyngorrhoea; pharyngorrhea | อาการมีศอเสมหะ, อาการมีเสมหะจากคอหอย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
posterior cubital region | บริเวณศอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
process, olecranon | ปุ่มปลายศอก, ยอดศอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pneumathaemia; embolism, air; pneumathemia; pneumohaemia; Pneumohaemia; pneumohemia | ภาวะฟองอากาศอุดหลอดเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pneumathemia; embolism, air; pneumathaemia; pneumohaemia; Pneumohaemia; pneumohemia | ภาวะฟองอากาศอุดหลอดเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
region, posterior cubital | บริเวณศอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
retaliatory law | กฎหมายตอบโต้ (กฎหมายของประเทศอื่น) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
suzerainty | การมีอำนาจเหนือประเทศอื่น, การมีอำนาจเหนือประเทศราช [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
saturated air | อากาศอิ่มตัว [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
olecranon process | ปุ่มปลายศอก, ยอดศอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
otolaryngology | โสตศอนาสิกวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
air embolism; pneumathaemia; pneumathemia; pneumohaemia; pneumohemia | ภาวะฟองอากาศอุดหลอดเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
antecubital fossa; fossa, cubital | แอ่งหน้าข้อศอก, แอ่งแขนพับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
accredit (an envoy) | ส่งผู้แทนทางการทูตไปประจำประเทศอื่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
accredit (an envoy) | ส่งผู้แทนทางการทูตไปประจำประเทศอื่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
AICS (advanced industrial countries) | กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมก้าวหน้า [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
air lock | อากาศอุด [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
advanced industrial countries (AICS) | กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมก้าวหน้า [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
joint, elbow; elbow | ข้อศอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
building orientation | ทิศอาคาร [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
monoecious | -ดอกแยกเพศอยู่ร่วมต้น [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
migratory divorce | การหย่าโดยวิธีย้ายภูมิลำเนาชั่วคราว (ไปอยู่ในประเทศอื่น) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
capitulation | ๑. การยอมจำนน (โดยมีข้อตกลงจำยอม)๒. การให้สิทธิพิเศษ (แก่คนสัญชาติของประเทศอื่นตามสนธิสัญญา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
comity | ๑. ไมตรีจิตระหว่างประเทศ๒. การรับรองการใช้อำนาจอธิปไตย (ของประเทศอื่น) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
cubital fossa; fossa, antecubital | แอ่งหน้าข้อศอก, แอ่งแขนพับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Declaration of Independence | คำประกาศอิสรภาพ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
divorce, migratory | การหย่าโดยวิธีย้ายภูมิลำเนาชั่วคราว (ไปอยู่ในประเทศอื่น) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dominion | ๑. กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ (ก. แพ่ง)๒. การมีอธิปไตยเหนือ (ดินแดนประเทศอื่น) (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dioecious | -ดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
fossa, antecubital; fossa, cubital | แอ่งหน้าข้อศอก, แอ่งแขนพับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
fossa, cubital; fossa, antecubital | แอ่งหน้าข้อศอก, แอ่งแขนพับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
embolism, air; pneumathaemia; pneumathemia; pneumohaemia; pneumohemia | ภาวะฟองอากาศอุดหลอดเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
embargo | ๑. การกักเรือสินค้าที่อยู่ในท่า๒. การห้ามส่งสินค้า (ไปยังประเทศอื่น) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
E layer | ชั้นบรรยากาศอี [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
elbow joint; elbow | ข้อศอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
E-region | บริเวณบรรยากาศอี [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
elbow; joint, elbow | ข้อศอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Independence, Declaration of | คำประกาศอิสรภาพ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
NIC (Newly Industrializing Country); Newly Industrialized Country | ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Newly Industrialized Country; Newly Industrializing Country (NIC) | ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Newly Industrializing Country (NIC); Newly Industrialized Country | ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
พระอิสริยยศ | ยศอันยิ่งใหญ่, ยศที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่ หมายถึง สกุลยศของพระราชวงศ์ที่ถือกำเนิดมาว่ามียศทางขัตติยราชสกุลชั้นใด เช่น เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า, ถ้าพระราชวงศ์พระองค์ใดได้ปฏิบัติราชการแผ่นดิน มีความดีความชอบ ก็อาจได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศเป็นเจ้าต่างกรมจึงต่อพระนามกรมไว้ท้ายพระ นามเดิม เช่น พลตรีพระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ [ศัพท์พระราชพิธี] |
Group of Five | กลุ่ม 5 (กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำ 5 ประเทศ) [เศรษฐศาสตร์] |
Advanced Gas-cooled Reactor | เครื่องปฏิกรณ์ขั้นสูงระบายความร้อนด้วยแก๊ส, เอจีอาร์, <em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em>ผลิตไฟฟ้าแบบหนึ่ง ใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ระบายความร้อน โดยพัฒนามาจากแบบที่ระบายความร้อนด้วยน้ำ ตัวอย่างของเครื่องปฏิกรณ์ชนิดนี้คือเครื่องปฏิกรณ์ Hinkley Point B อยู่ทางตะวันตกของประเทศอังกฤษ ใช้ยูเรเนียมไดออกไซด์ (มียูเรเนียม-235 ร้อยละ 1.4 ถึง 2.6) เป็นเชื้อเพลิง และใช้แกรไฟต์เป็น<strong>สารลดความเร็วนิวตรอน</strong> เครื่องปฏิกรณ์นี้ สามารถผลิตไอน้ำที่มีอุณหภูมิสูงถึง 540 องศาเซลเซียส และความดัน 16 เมกะพาสคัล ทำให้มีประสิทธิภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้าได้สูงถึงร้อยละ 40 ซึ่งสูงเท่ากับโรงไฟฟ้าพลังเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในปัจจุบัน [นิวเคลียร์] |
Carbon-14 | คาร์บอน-14, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุคาร์บอน มีครึ่งชีวิต 5, 730 ปี เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นบนของโลก โดยอนุภาคนิวตรอนที่เกิดมาจากรังสีคอสมิกไปชนนิวเคลียสของธาตุไนโตรเจนเกิดเป็นคาร์บอน-14 และถูกออกซิไดส์ไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่วงจรของสิ่งมีชีวิต หลังจากสิ่งมีชีวิตตายไป จะไม่มีการแลกเปลี่ยนกับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศอีก คาร์บอน-14 ที่มีอยู่ก็จะสลายลดลงด้วยอัตราที่สามารถทราบได้ จึงใช้ในการคำนวณอายุซากสิ่งมีชีวิตและวัตถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ (ดู Radiocarbon dating ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Elbow | ข้อศอก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Waste form | รูปแบบกากกัมมันตรังสี, รูปแบบทางกายภาพและทางเคมีของกากกัมมันตรังสีหลังการบำบัด และ/หรือ หลังการปรับสภาพ ซึ่งจะอยู่ในสภาพของแข็งพร้อมที่จะนำไปหีบห่อต่อไป เช่น กากขี้เถ้าจากการเผา กากแก้วอัด กากพลาสติกอัด กากวัสดุกรองอากาศอัด กากตะกอนเคมี กากที่ผนึกในซีเมนต์, Example: [นิวเคลียร์] |
International Atomic Energy Agency | ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ, ไอเออีเอ, หน่วยงานสากลด้านความร่วมมือทางนิวเคลียร์ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2500 ภายใต้องค์การสหประชาชาติ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสันติภาพของโลก ป้องกันการแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ให้ความช่วยเหลือด้านการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ในทางสันติเพื่อความปลอดภัยและความมั่นคงของมนุษยชาติ [นิวเคลียร์] |
Continuous Emission Monitoring System | ระบบติดตามมลพิษทางอากาศอย่างต่อเนื่องจากแหล่งกำเนิด, Example: ระบบติดตามตรวจสอบที่ใช้ในการตรวจวัดอัตราการสารมลพิษทางอากาศจากปล่องของแหล่งกำเนิดอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง ใช้ในการเฝ้าระวังปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น ชนิดของสารมลพิษที่จะต้องทำการตรวจวัดได้แก่ PM, SO2, CO, Nox, CO2, O2, VOC และสารมลพิษอื่นๆ ที่จำเป็น [สิ่งแวดล้อม] |
Apollo 11 (Spacecraft) | ยานอวกาศอะพอลโล 11 [TU Subject Heading] |
Apollo 8 (Spacecraft) | ยานอวกาศอะพอลโล 8 [TU Subject Heading] |
Arab countries | กลุ่มประเทศอาหรับ [TU Subject Heading] |
Association of Southeast Asian Nation countries | กลุ่มประเทศอาเซียน [TU Subject Heading] |
Cubital tunnel syndrome | กลุ่มอาการเส้นประสาทอัลนาถูกกดรัดบริเวณข้อศอก [TU Subject Heading] |
Elbow | ข้อศอก [TU Subject Heading] |
Elbow joint | ข้อต่อข้อศอก [TU Subject Heading] |
Electronic information resource searching | การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ [TU Subject Heading] |
Electronic information resources | แหล่งสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ [TU Subject Heading] |
Islamic countries | กลุ่มประเทศอิสลาม [TU Subject Heading] |
Otolaryngology | โสตศอนาสิกวิทยา [TU Subject Heading] |
Persian Gulf States | กลุ่มประเทศอ่าวเปอร์เซีย [TU Subject Heading] |
Asian-African Sub-Regional Organizations Conference | การประชุมองค์การอนุภูมิภาคเอเชีย-แอฟริกา มีการประชุมครั้งแรกที่เมืองบันดุง ประเทศอินโดนีเซียเมื่อปี 2546 [การทูต] |
accredit | แต่งตั้งให้ไปประจำ หมายถึง การแต่งตั้งมอบหมายให้หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตไปประจำยังประเทศอื่น และมีอำนาจดูแลประเทศนั้นหรือเขตอาณาต่าง ๆ ซึ่งในกรณีนี้เรียกว่า Accredited Ambassador [การทูต] |
ASEAN Free Trade Area - Mercado Común del Sur (Southern Common Market) | ความร่วมมือระหว่างเขตการค้าเสรีอาเซียนกับตลาดร่วมอเมริกาใต้ ประกอบด้วยประเทศอาร์เจนตินา บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย โดยความร่วมมือในชั้นนี้เป็นการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในเรื่องการ รวมตัวทางเศรษฐกิจของแต่ละฝ่าย [การทูต] |
ASEAN Industrial Cooperation Scheme | โครงการความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมอาเซียน เป็นมาตรการเพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนวัตถุดิบการผลิตในรูปสินค้าสำเร็จ รูป/กึ่งสำเร็จรูป เพื่อใช้ในการผลิตทางอุตสาหกรรมระหว่างบริษัทที่ตั้งอยู่ในประเทศอาเซียน อันจะเป็นการสนับสนุนการแบ่งกันผลิตและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของภาค อุตสาหกรรมในอาเซียน โดยจะต้องเป็นความร่วมมือตั้งแต่สองประเทศขึ้นไป และมีคนชาติประเทศสมาชิกอาเซียนมีหุ้นส่วนอยู่ในแต่ละบริษัทอย่างน้อยร้อยละ 30 สินค้าที่ได้รับอนุมัติให้อยู่ในโครงการจะได้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรใน อัตราร้อยละ 0-5 ในทันที โดยไม่ต้องรอให้เขตการค้าเสรีอาเซียนมีผลบังคับใช้ [การทูต] |
ASEAN Ministerial Meeting | การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน " เป็นการประชุมประจำปีของรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน โดยประเทศสมาชิกอาเซียนที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำอาเซียนจะเป็น เจ้าภาพ ส่วนใหญ่จะจัดการประชุมในช่วงเดือนกรกฎาคมของทุกปี " [การทูต] |
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
ASEAN Ministers Responsible for Information | การประชุมรัฐมนตรีสารนิเทศอาเซียน เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีที่รับผิดชอบงานทางด้านสารนิเทศของประเทศสมาชิก อาเซียน จัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี [การทูต] |
Arab Free Trade Area | เขตการค้าเสรีอาหรับ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2541 โดยมติที่ประชุมสุดยอดอาหรับที่กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ (มิถุนายน 2539) [การทูต] |
ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] |
ASEAN Standing Committee | คณะกรรมการประจำอาเซียน " ประกอบด้วยอธิบดีกรมอาเซียนของทุกประเทศสมาชิก มีหน้าที่ ควบคุม ดูแล ติดตามการดำเนินงานของกลไกและกิจกรรมต่าง ๆ ของอาเซียน ปกติจะประชุมปีละ 6 ครั้ง เป็นการประชุมในนามของ รัฐมนตรีต่างประเทศ ในช่วงกลางระหว่างการประชุมประจำปีของ รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน " [การทูต] |
ASEAN Senior Officials Meeting | การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน เป็นการประชุมระดับปลัดกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิก เพื่อติดตามและเสนอนโยบายด้านการเมือง ความมั่นคง และเรื่องอื่น ๆ ต่อรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] |
courtesy call | การเยี่ยมคารวะ เป็นการเข้าพบเพื่อทำความรู้จักกันของบุคคลสำคัญหรือนักการทูต เช่น การเข้าพบระหว่างนักการทูตด้วยกัน หรือนักการทูตเข้าพบรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีของประเทศอื่นเข้าพบนายกรัฐมนตรี ฯลฯ [การทูต] |
Council for Security and Cooperation in the Asia-Pacific | ชมรมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในเอเชียแปซิฟิก เป็นสถาบันเอกชนก่อตั้งขึ้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2536 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยมีสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ (Institute of Security and International Studies : ISIS) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันก่อตั้งร่วมกับสถาบันอื่น ๆ จากประเทศอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก CSCAP เป็นกลไกที่ไม่ใช่เป็นทางการ เพื่อให้นักวิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐบาลในฐานะส่วนตัวและบุคคลอื่นได้อภิปรายปัญหาทางการเมืองและ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก [การทูต] |
declaration | ปฏิญญา มีความหมาย 3 อย่าง คือ (1) ความตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งมีลักษณะผูกพัน (2) ปฏิญญาฝ่ายเดียว ซึ่งก่อสิทธิและหน้าที่ให้แก่ประเทศอื่น และ (3) ปฏิญญาซึ่งรัฐหนึ่งแถลงให้รัฐอื่นทราบความเห็นและเจตนาของตนในเรื่องบาง เรื่อง [การทูต] |
Declaration | คำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น [การทูต] |
Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] |
Drug-Free ASEAN | อาเซียนที่ปลอดจากยาเสพติด เป็นคำประกาศของอาเซียนในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน สมัยที่ 31 ที่กรุงมะนิลา เมื่อเดือนกรกฎาคม 2541 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยการตั้งเป้าหมาย ที่จะทำให้ภูมิภาคนี้ปลอดจากยาเสพติดในปี พ.ศ. 2563 และต่อมา ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน สมัยที่ 33 ที่กรุงเทพฯ เมื่อเดือนกรกฎาคม 2543 ได้ประกาศร่นกำหนดเวลาดังกล่าวให้เร็วขึ้น 5 ปี จากเดิมในปี พ.ศ. 2563 เป็นปี พ.ศ. 2558 [การทูต] |
Enhanced Interaction | การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ " การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์เป็นคำที่เสนอโดย นายอาลี อาลาตัส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอินโดนีเซีย ในที่ประชุม AMM ครั้งที่ 31 ณ กรุงมะนิลา ซึ่งในด้านสารัตถะมีความหมายเช่นเดียวกับนโยบาย Flexible Engagement แต่เป็นคำที่อาเซียนส่วนใหญ่เห็นว่า มีความ เหมาะสมที่จะใช้สื่อเจตนารมณ์ของอาเซียนในการยกระดับความร่วมมือที่เพิ่มพูน และเปิดกว้างระหว่างกัน " [การทูต] |
Food and Agriculture Organization | องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2488 มีหน้าที่บรรเทาความอดอยากและหิวโหยของ ประชากรโลกด้วยการส่งเสริม และพัฒนาเกษตรกรรม การปรับปรุงโภชนาการ และแสวงหาความมั่นคงทางด้านอาหาร ปัจจุบันมีสมาชิก 171 ประเทศ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี " [การทูต] |
Flexible Engagement | ความเกี่ยวพันอย่างยืดหยุ่น " ความเกี่ยวพันอย่างยืดหยุ่นเป็นข้อเสนอของ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยที่เสนอในการประชุมรัฐมนตรีต่าง ประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting : AMM) ครั้งที่ 31 เมื่อเดือนกรกฎาคม 2541 ณ กรุงมะนิลา ฟิลิปปินส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกอาเซียนมีการหารือและแลก เปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างสร้างสรรค์ เปิดกว้างและเป็นกันเองในเรื่องหรือประเด็นต่าง ๆ ที่เห็นว่าเป็นผลประโยชน์ร่วมกันหรือที่จะมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์และความ มั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจของนานาประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันสืบเนื่องจากการที่อาเซียนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศ และอยู่ในภาวะที่เผชิญปัญหาท้าทายต่าง ๆ ซึ่งมีความเชื่อมโยงและเกี่ยวพันกัน " [การทูต] |
Ganga-Suwanabhumi-Mekong Cooperation | ความร่วมมือลุ่มน้ำคงคา-สุวรรณภูมิ-ลุ่มน้ำโขง ประกอบด้วย ไทย-ลาว-พม่า-เวียดนาม-กัมพูชา และอินเดีย เป็นกรอบความร่วมมือที่เสนอในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับ รัฐมนตรีต่างประเทศประเทศคู่เจรจา ครั้งที่ 33 เมื่อ 28 กรกฎาคม 2543 โดยมีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2543 [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Government in Exile | รัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง [การทูต] |
Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] |
High Commiissioner | ข้าหลวงใหญ่ หรือผู้แทนทางการทูตของแต่ละประเทศที่เป็นสมาชิกสังกัดเครือจักรภพอังกฤษ (The Commonwealth of Nations) และประจำอยู่ ณ ประเทศของสมาคมนี้ด้วยกัน แท้ที่จริงแล้วตำแหน่งนี้ก็เท่ากับตำแหน่งเอกอัคร ราชทูตในกรณีของประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกสังกัดในเครือจักรภพนั่นเอง เช่น ในกรณีที่ผู้แทนทางการทูตของประเทศแคนาดาไปประจำ ณ ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งทั้งสองเป็นประเทศในเครือจักรภพด้วยกัน เขาจะเรียกผู้แทนทางการทูตของแคนาดานั้นว่า High Commissioner ไม่ใช้คำว่า Ambassador แต่ถ้าผู้แทนทางการทูตของแคนาดาไปประจำประเทศนอกเครือจักรภพ เช่น ประเทศไทย ก็จะเรียกผู้แทนทางการทูตของแคนาดานั้นว่า เอกอัครราชทูต (Ambassador) [การทูต] |
International Atomic Energy Agency | ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ตั้งอยู่ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เป็นองค์การอิสระและมีความเกี่ยวเนื่องอย่างใกล้ชิดกับสหประชาชาติ ทำหน้าที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการใช้พลังงานปรมาณูเพื่อสันติ [การทูต] |
International Narcotics Control Board | คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดระหว่างประเทศ ตั้งอยู่ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ทำหน้าที่ติดตามความเคลื่อนไหวของสารเสพติดที่ใช้ในด้านการแพทย์ รวมทั้งควบคุมดูแลการค้าสารเคมีระหว่างประเทศ เพื่อกำจัดช่องทางการลักลอบใช้สารดังกล่าว [การทูต] |
Intelligence | เรื่องสืบราชการลับ กล่าวอย่างกว้าง ๆ คือ เรื่องลับไม่ว่าชนิดใด โดยเฉพาะที่จะมีประโยชน์แก่ผู้กำหนดนโยบาย หรือฝ่ายทหารที่มีหน้าที่ว่างนโยบายหรือวางแผนยุทธศาสตร์ ถือว่าเป็น Intelligence ทั้งสิ้น เช่น ในสหรัฐอเมริกามีองค์กรสืบราชการลับอยู่หลายแห่ง เช่น CIA (สำนักงานสืบราชการลับกลาง) The NSA (National Security Agency หรือองค์การรักษาความมั่นคงปลอดภัยแห่งชาติ) G-2 (ฝ่ายสืบราชการลับของกองทัพบก) FBI (Federal Bureau of Investigation หรือหน่วยสืบสวนของรัฐบาลกลาง) Bureau of Intelligence and Research of the State Department หรือหน่วยสืบราชการลับและวิจัยของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ รวมทั้งฝ่ายสืบราชการลับของกองทัพเรือและกองทัพอากาศ ส่วนในโซเวียตรัสเซีย (ปัจจุบันเรียกชื่อใหม่ว่ารัสเซีย) แต่เดิมมีองค์การสืบราชการลับอยู่จำนวนหนึ่ง ที่สำคัญๆ ได้แก่ ฝ่ายสืบราชการลับทางทหารของกระทรวงกลาโหม หรือที่เรียกว่า YRU (Ylavnoe Razdevyvatelnoe Uptavlenie) และ KGB (Kommissariat Gosudatstvennoie Bezopastnotsi หรือ Commisariat of State Security) ในประเทศอังกฤษ มีฝ่ายสืบราชการลับเรียกว่า M15 (British Counter Intelligence) M16 เป็นหน่วยสาขาซึ่งทำงานด้านจารกรรมในต่างประเทศ และ M18 เป็นฝ่ายสืบราชการฝ่ายทหาร (Cryptographic Bureau of Military Intelligence) [การทูต] |
อัปยศอดสู | [appayot otsū] (v) EN: shame ; disgrace ; lose fame ; lose face ; humiliate ; embarrass ; dishonour |
การหนีไปประเทศอียิปต์ | [kān nīpai Prathēt Īyip] (n, exp) FR: La fuite en Égypte [ f ] |
การประกาศอิสรภาพ | [kān prakāt itsaraphāp] (n, exp) FR: proclamation d'indépendance [ f ] |
ข้อศอก | [khøsøk] (n) EN: elbow FR: coude [ m ] |
ข้อศอกรัฐบาล | [khøsøk ratthabān] (n, exp) EN: government spokesman FR: porte-parole du gouvernement [ m, f ] |
กระทุ้งด้วยศอก | [krathung dūay søk] (v, exp) FR: pousser (qqn) du coude ; donner un coup de coude ; jouer des coudes |
ลงศอก | [longsøk] (v) EN: elbow FR: jouer des coudes |
ลดลาวาศอก | [lotlāwāsøk] (n) EN: give quarter ; decrease adamant |
ลดราวาศอก | [lotrāwāsøk] (v) EN: yield |
ผีเสื้อหนอนพุทราแถบหักศอก | [phīseūa nøn phutsā thaēp hak søk] (n, exp) EN: Elbowed Pierrot |
ประกาศอิสรภาพ | [prakāt itsaraphāp] (v, exp) EN: declare independence |
ประเทศแอลจีเรีย = ประเทศอัลจีเรีย | [Prathēt Aēljirīa = Prathēt Aljirīa] (n, prop) EN: Algeria FR: Algérie [ f ] |
ประเทศอัฟกานิสถาน | [Prathēt Afkānisathān = Prathēt Apfakānisáthān] (n, exp) EN: Afghanistan FR: Afghanistan [ m ] |
ประเทศอาร์เจนตินา | [Prathēt Ājentinā] (n, prop) EN: Argentina FR: Argentine [ f ] |
ประเทศอเมริกา | [Prathēt Amērikā] (n, prop) EN: United States ; U.S ; USA ; America FR: États-Unis [ mpl ] ; États-Unis d'Amérique [ mpl ] ; Amérique [ f ] |
ประเทศอันดอร์รา | [Prathēt Andørā] (n, prop) EN: Andorra FR: Andorre |
ประเทศอังกฤษ | [Prathēt Angkrit] (n, prop) EN: England FR: Angleterre [ f ] |
ประเทศอินเดีย | [Prathēt Indīa] (n, prop) EN: India ; Republic of India FR: Inde [ f ] ; répuiblique de l'Inde [ m ] |
ประเทศอินโดนีเซีย | [Prathēt Indōnīsīa] (n, prop) EN: Indonesia FR: Indonésie [ f ] |
ประเทศอิหร่าน | [Prathēt Irān] (n, prop) EN: Iran FR: Iran [ m ] |
ประเทศอิสระ | [prathēt itsara] (n, exp) EN: independent country ; independent state FR: pays indépendant [ m ] ; état indépendant [ m ] |
ประเทศอิสราเอล | [Prathēt Isarāēn = Prathēt Isarāēl] (n, prop) EN: Israel FR: Israël [ f ] |
ประเทศอิตาลี | [Prathēt Itālī] (n, prop) EN: Italy FR: Italie [ f ] |
ประเทศอียิปต์ | [Prathēt Īyip] (n, prop) EN: Egypt FR: Égypte [ f ] |
ประเทศออสเตรเลีย | [Prathēt Østrēlīa] (n, prop) EN: Australia FR: Australie [ f ] |
ประเทศออสเตรีย | [Prathēt Østrīa = Prathēt Øttrīa] (n, prop) EN: Austria FR: Autriche [ f ] |
ประเทศอุซเบกิสถาน | [Prathēt Utbēkisathān] (n, prop) EN: Uzbekistan FR: Ouzbékistan [ m ] |
ประเทศอุตสาหกรรม | [prathēt utsāhakam] (n, exp) EN: industrial country; advanced country ; modern country FR: pays industrialisé [ m ] |
ปุ่มปลายศอก | [pum plāi søk] (n, exp) EN: olecranon FR: olécrane [ m ] ; apophyse du cubitus [ m ] |
ศอก | [søk] (n) EN: elbow FR: coude [ m ] |
ศอก | [søk] (n) EN: cubit FR: coudée [ f ] |
ศอก | [søk] (adj) FR: cubital |
ศอกกลับ | [søk klap] (v) EN: retort ; riposte ; back-elbow FR: riposter |
ศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.) | [sūn amnūaykān raksā khwām sa-ngop rīeprøi] (org) EN: peacekeeping operation centre ; government's peace-keeping centre |
เท้าข้อศอก | [thāo khøsøk] (v, exp) FR: s'accouder |
ทิศอีสาน | [thit Īsān] (n, exp) EN: the northeast ; Northeast FR: le nord-est ; la direction du nord-est |
ตีศอก | [tī søk] (v, exp) EN: punch with the elbow FR: donner un coup de coude |
ยศอย่าง | [yot yāng] (n, exp) EN: standing on one's dignity ; snobbery ; arrogance ; hauteur ; presumption ; pretension ; pomposity ; snootiness |
Afghanistan | (n) ประเทศอัฟกานิสถาน |
air lock | (n) ภาวะอากาศอุดตัน |
Argentina | (n) ประเทศอาร์เจนตินา |
Australia | (n) ประเทศออสเตรเลีย |
away | (adv) ไปที่อื่น, See also: ไปทางอื่น, ไปทิศอื่น, ไปจาก, Syn. off, forth |
Bengal | (n) แคว้นเบงกอลในประเทศอินเดีย |
blitz | (n) การโจมตีทางอากาศอย่างรวดเร็วและรุนแรง, Syn. bombardment, attack |
blitz | (vt) โจมตีทางอากาศอย่างรวดเร็วและรุนแรง, See also: ี, Syn. bombard |
bring over | (phrv) ย้ายไปตั้งรกรากถิ่นอื่นหรือประเทศอื่น, See also: เดินทางไปถิ่นอื่นหรือประเทศอื่น, Syn. come over |
Cairo | (n) กรุงไคโร, See also: เมืองหลวงของประเทศอียิปต์ |
Cairo | (n) ไคโร, See also: เมืองหลวงของประเทศอียิปต์ |
Calcutta | (n) กัลกัตตา, See also: เมืองหลวงของรัฐเบงกอลในประเทศอินเดีย |
Calcutta | (n) เมืองกัลกัตตา, See also: เมืองหลวงของรัฐเบงกอลในประเทศอินเดีย |
Canberra | (n) เมืองหลวงของประเทศออสเตรเลีย, See also: เมืองแคนเบอรา |
canonise | (vt) ประกาศอย่างเป็นทางการว่าเป็นนักบุญ, Syn. canonize, saint, sanctify |
canonize | (vt) ประกาศอย่างเป็นทางการว่าเป็นนักบุญ, Syn. canonise, saint, sanctify |
Canterbury | (n) แคนเทอเบอรี่ (ประเทศอังกฤษ), See also: เมืองหนึ่งในประเทศอังกฤษ เป็นที่ตั้งของโบสถ์ในศาสนาคริสต์นิกาย Church of England |
Canterbury | (n) เมืองแคนเทอเบอรี่ (ประเทศอังกฤษ), See also: เมืองหนึ่งในประเทศอังกฤษ เป็นที่ตั้งของโบสถ์ในศาสนาคริสต์นิกาย Church of England |
capsule | (n) ส่วนของยานอวกาศที่นักบินอวกาศอาศัยอยู่และใช้เดินทางกลับสู่พื้นโลก, Syn. satellite, spaceship |
clarion | (vt) ประกาศอย่างดัง |
colony | (n) ประเทศอาณานิคม, See also: เมืองขึ้น, ประเทศราช, Syn. settlement, dependency, dominion, possession, mandate |
declare oneself | (phrv) แสดงตัวอย่างชัดเจน, See also: ประกาศอย่างชัดเจน |
defect to | (phrv) หลบหนีออกจากประเทศ (เพื่อไปเข้าข้างประเทศอื่น) |
dig someone in the ribs | (idm) แตะด้วยข้อศอกอย่างแอบๆ (เพื่อแสดงความรู้สึกขบขัน), See also: เอาข้อศอกสัมผัสหรือแตะอย่างแอบๆ |
elbow aside | (phrv) ดันด้วยศอก, Syn. push aside, shoulder aside, thrust aside |
elbow forward | (phrv) ใช้ศอกดันหรือเบียดไปข้างหน้า, Syn. push forward, shoulder forward, thrust forward |
elbow through | (phrv) ใช้ศอกดันหรือเบียดผ่าน (ฝูงชน), Syn. push through, shoulder through, thrust through |
declassify | (vt) ประกาศอย่างเป็นทางการว่ามิได้เป็นความลับอีกต่อไป, See also: เปิดเผย |
deflate | (vt) ทำให้แฟบ, See also: ทำให้ยุบ, ปล่อยอากาศออก, ปล่อยลม, ทำให้แบน, Syn. collapse, flatten |
Democrat | (n) สมาชิกพรรคเดโมแครต (ของประเทศอเมริกา), Syn. liberal, Jeffersonian, Ant. Republican, Tory, Socialist |
deport | (vt) เนรเทศออกจากประเทศ, Syn. comport, disport |
deportation | (n) การเนรเทศออกจากประเทศ, Syn. banishment, exils |
deportee | (n) คนที่ถูกเนรเทศออกจากประเทศ, Syn. evacue, exile, refugee |
Egypt | (n) ประเทศอียิปต์ |
Egyptian | (n) ภาษาถิ่นอารบิกที่ใช้พูดในประเทศอียิปต์ |
elbow | (n) ข้อศอก, See also: ศอก, Syn. joint |
elbow | (vt) ดันด้วยข้อศอก, See also: ใช้ข้อศอกดัน, เอาศอกดัน, Syn. push |
emir | (n) ผู้ปกครองในประเทศอิสลามบางประเทศ, See also: ประมุข, ผู้นำในประเทศอิสลามบางประเทศ |
emu | (n) นกชนิดหนึ่งในประเทศออสเตรเลียบินไม่ได้คล้ายกับนกกระจอกเทศ, See also: นกอีมู |
England | (n) ประเทศอังกฤษ |
English | (adj) เกี่ยวกับประเทศอังกฤษ, See also: แห่งประเทศอังกฤษ, ของอังกฤษ, แบบอังกฤษ |
enounce | (vt) แถลงอย่างเป็นทางการ (คำทางการ), See also: ประกาศอย่างเป็นทางการ |
enunciate | (vt) ประกาศอย่างชัดเจน, See also: แถลงการณ์อย่างชัดแจ้ง, Syn. announce, declare, proclaim |
Eton collar | (n) (เครื่องแบบของวิทยาลัยอีตันในประเทศอังกฤษ) ปกเสื้อทรงกว้าง สีขาว |
Eton jacket | (n) (เครื่องแบบของนักเรียนของวิทยาลัยอีตันในประเทศอังกฤษ) เสื้อแจ๊คเก็ตทรงสั้นสีดำผ่าหน้า |
Eurobond | (n) พันธบัตรในสกุลเงินต่างๆ ที่นำออกขายให้กับนักลงทุนในประเทศอื่นที่ไม่ได้ใช้สกุลเงินที่ระบุไว้ในพันธบัตร |
fils | (n) หน่วยเงินตราของประเทศอาหรับ |
forearm | (n) แขนบริเวณระหว่างข้อศอกกับข้อมือ |
gentle sex | (n) ผู้หญิง, See also: เพศหญิง, เพศอ่อนแอ, Syn. womankind, woman sex |
gimbal | (n) วงแหวนสำหรับยึดให้เข็มทิศอยู่กับที่ |
aeroembolism | (แอโรเอม' โบลิสซึม) n. โรคฟองอากาศอุดตันในหลอดโลหิต, เนื่องจากความกดดันบรรยากาศลดลงอย่างรวดเร็วในขณะบินที่สูง |
afghanistan | (แอฟแกน' นิสแทน) n. ประเทศอัฟกานิสถาน อยู่ในทวีปเอเซียตะวันออกกลาง |
air lock | ภาวะอากาศอุดตัน, ห้องอากาศอุดตัน. -vt. ใช้ประตูอากาศอุดตัน |
albania | (แอลเบ' เนีย) n. ประเทศอัลบาเนีย |
albanian | (แอลเบ' เนียน) adj., n. เกี่ยวกับประเทศอัลบาเนีย, ภาษาอัลบาเนีย |
ancon | (แอง' คอน) n., (pl. -es) ข้อศอก, ข้อศอกค้ำมุมึก -anconal, anconeal, anconoid adj. |
angle bar | เหล็กฉาก, เหล็กข้อศอก |
anglia | (แอง' เกลีย) n. ประเทศอังกฤษ (ภาษาลาติน) (England) |
argentina | (อาร์เจนที'นา) n. ประเทศอาร์เจนตินา, Syn. -the Argentine, Argentine Republic |
argentinean | (อาร'์เจนทีน, -เนียน) n. ชาวอาร์เยนตินา, ประเทศอาร์เจนตินา |
australia | (ออสเทร'เลีย) n. ประเทศออสเตรเลีย |
austria | (ออส'เทรีย) n. ประเทศออสเตรีย -Austrian adj. |
bid | (บิด) { bade/bid, bidden/bid, bidding, bids } vt., n. (การ) ออกคำสั่ง, สั่ง, กล่าว, บอก, ให้ราคา, ประมูลราคา, เชื้อเชิญ, ประกาศอย่างเปิดเผย, รับเป็นสมาชิก, ความพยายามเพื่อให้ได้มา vi. ออกคำสั่ง, กริยาช่อง 3 ของ bide, See also: bidder n. ดู bid -Conf. bade |
blackdamp | n. เหมืองที่ขาดอากาศออกซิเจน, Syn. chokedamp |
booth | (บูธ) n. แผงลอย, ห้องเล็ก ต่างหาก, ศอก, โต๊ะแยกเฉพาะส่วน, หน่วยลงบัตรเลือกตั้ง, Syn. stall |
caliph | (แคล'ลิฟ) n. กาหลีบ, ผู้นำฝ่ายปกครองและศาสนาในประเทศอิสลาม, See also: caliphal adj. ดูcaliph, Syn. calif, kalif, khalif |
cray research, inc. | <ชื่อบริษัท>สถาบันวิจัยเครย์ <คำแปล>เป็นชื่อบริษัทที่สร้างคอมพิวเตอร์เมนเฟรมที่ยิ่งใหญ่บริษัทหนึ่ง ส่วนมากจะเป็นขนาดที่เรียกกับว่า supercomputer ผลิตภัณฑ์ชิ้นแรกมีชื่อว่า Cray I ในปี ค.ศ.1977 คอมพิวเตอร์ขนาดนี้จะมีราคาสูงมาก และมักจะใช้กับงานใหญ่ ๆ เป็นต้นว่า การส่งยานอวกาศออกไปนอกโลก เป็นต้น |
disgrace | (ดิสเกรส') n. การเสียหน้า, ความเสื่อมเสีย, การถอดถอนยศฐาบรรดาศักดิ์, ความอัปยศอดสู vt. ทำให้เสียหน้า, ทำให้ขายหน้า, ทำให้เสื่อมเสีย., See also: disgracer n., Syn. shame, dishonour, Ant. honour, credit |
disgraceful | (ดิสเกรส'ฟูล) adj. น่าอับอายขายหน้า, น่าอัปยศอดสู, เสียหน้า, เสื่อมเสีย, Syn. disreputable |
dishonor | (ดิสออน'เนอะ) n. ความเสื่อมเกียรติ, ความอัปยศอดสู, ความดูถูก, การไม่ยอมรับตั๋วเงิน, การไม่ยอมจ่ายเงินสำหรับตั๋วเงิน, Syn. disgrace |
dishonour | (ดิสออน'เนอะ) n. ความเสื่อมเกียรติ, ความอัปยศอดสู, ความดูถูก, การไม่ยอมรับตั๋วเงิน, การไม่ยอมจ่ายเงินสำหรับตั๋วเงิน, Syn. disgrace |
egypt | (อีจิพทฺ) n. ประเทศอียิปต์ |
elbow | (เอล'โบ) n. ศอก, ข้อศอก, สิ่งหรือส่วนที่งอคล้ายข้อศอก, ข้อต่อท่อน้ำ vt., vi. ดันด้วยข้อศอก -Phr. (up to the elbows มีธุระยุ่ง) |
emeritus | (อิเมอ'ริเทิส) adj., n. (ผู้) ซึ่งปลดเกษียณแล้วแต่ยังคงตำแหน่ง เป็นเกียรติยศอยู่ |
enclave | (เอน'เคลฟว) n. ประเทศที่มีดินแดนทั้งหมดหรือส่วนใหญ่ที่ถูกล้อมรอบไปด้วยดินแดนของประเทศอื่น |
filibuster | (ฟิล'ละบัสเทอะ) n., v. (ผู้ที่) (การ) ปฏิบัติการที่ทหารเข้าไปในประเทศอื่นโดยพลการเพื่อสนับสนุนการปฏิวัติ, ขัดขวางการยอมรับญัตติหรือกฎหมายในสภา, , See also: filibusterer n. filibusterism n. |
forearm | (ฟอร์'อาร์ม) n. ส่วนของแขนที่อยู่ระหว่างศอกกับข้อมือ, แขนช่วงแรก |
humiliation | (ฮิวมิลลีเอ'เชิน) n. การทำให้ขายหน้า, ความอัปยศอดสู |
ignominious | (อิก'นะมิน'เนียส) adj. น่าอับอาย, อัปยศอดสู, เสียชื่อเสียง, น่ารังเกียจ, น่าดูถูก, See also: ignominiousness n., Syn. humiliating, degrading |
ignominy | (อิก'นะมินนี) n. ความน่าอับอาย, ความอัปยศอดสู, ความน่าดูถูก ความรังเกียจ, Syn. disgrace, shame |
india | (อิน' เดีย) n. ประเทศอินเดีย |
indian | (อิน' เดียน) n. ชาวอินเดีย, ชาวอินเดียนแดง, ภาษาอินเดีย, ภาษาอินเดีย, ภาษาอินเดียนแดง, สมาชิกขององค์การ. -adj. เกี่ยวกับชาวอินเดียหรืออินเดียนแดง, เกี่ยวกับภาษาอินเดียหรืออินเดียแดง, เกี่ยวกับตะวันออก, เกี่ยวกับบริเวณประเทศอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศและศรี |
indonesia | (อินโดนี'เซีย, -ชะ, เชีย) n. ประเทศอินโดนีเซีย |
iraq | (อิแรค', อิราค') n. ประเทศอิรัก ทางเหนือของชาวอุดีอารเบีย เมืองหลวงชื่อแบกแดด., Syn. Irak Cap: Baghdad |
islam | (อิส'เลิม, อิซ'เลิม) n. ศาสนาอิสลาม, อิสลามิกชน, ประเทศอิสลาม, See also: islamic, Islamitic adj. |
israel | (อิส'ซะระเอล) n. ประเทศอิสราเอล |
java | (จาวา, ชวา) 1. ชื่อเกาะชวาของประเทศอินโดนีเซีย 2. เป็นชื่อภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม บริษัท ซัน ไมโครซิสเต็ม เป็นผู้คิดขึ้น เพื่อใช้เกี่ยวกับการส่งออกผลลัพธ์จากการคำนวน ให้กันและกันเพราะอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน มีลักษณะคล้ายกับ ภาษา C++ |
kuwait | (คูเวท') n. คูเวท เป็นประเทศอาหรับ -Kuwaiti adj., n. ดูKuwait, Syn. Koweit |
nudge | (นัดจฺ) v. (การ) ถอง, ดุน, ดัน, เอาศอกดุน., See also: nudger n., Syn. elbow |
odium | (โอ'เดียม) n. ความเกลียดชังมาก, ความขยะแขยง, ความอัปลักษณ์, ความอัปยศอดสู, Syn. opprobrium |
opprobrious | (อะโพร'เบียส) adj. น่าเกลียดชัง, น่าอัปยศอดสู, น่าตำหนิ, น่าสบประมาท, น่าละอายใจ., See also: opprobriousness n. |
opprobrium | (อะโพร'เบรียม) n. การตำหนิ, การสบประมาท, ความน่าอัปยศอดสู, สิ่งที่ทำให้อัปยศอดสู |
pan- arabism | n. ลัทธิพันธมิตรระหว่างประเทศอาหรับทั้งหมด |
pneumatic | (นิวแมท'ทิค) adj. เกี่ยวกับอากาศ แก๊ส หรือลม, มีอากาศอัดอยู่, ประกอบด้วยโพรงอากาศ. n. ยางรถอัดลม. |
proclaim | (โพรเคลม') vt. ประกาศ, แถลง, ประกาศสงคราม, ประกาศอย่างเปิดเผย, ประกาศสรรเสริญ., See also: proclaimer n., Syn. announce, declare |
scandal | (สแคน'เดิล) n., vt. (ทำให้เป็น) เรื่องอื้อฉาว, เรื่องฉาวโฉ่, เรื่องอัปยศอดสู, เรื่องน่าอาย, การนินทาป้ายร้าย., Syn. disgrace, shame |
shame | (เชม) n. ความอับอาย, ความละอายใจ, ความขายหน้า, เรื่องที่ทำให้เสียใจ vt. ทำให้รู้สึกละอายใจ, ทำให้อับอาย, ทำให้ขายหน้า, ทำให้อัปยศอดสู., See also: shamable adj. sameable adj. shameful adj. shameless adj. |
stigma | (สทิก'มะ) n.ความอัปยศอดสู, มลทิน, รอยด่างพร้อย, ตราพิมพ์, ตราหน้า, ตรานาบ, แผลเป็น, แต้ม, จุด, ตาของสัตว์เซลล์เดียวจำพวกโปรโตซัว, ทางเข้าระบบหายใจของแมลง, ส่วนของเกสรตัวเมียที่รับละอองเกสร pl. stigmata, stigmas |
stigmatise | (สทิก'มะไทซ) vt. ตีตรา, ประทับตรา, ตราหน้า, ประณาม, ทำให้มีมลทิน, ทำให้อัปยศอดสู, ทำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง., See also: stigmatis z ation n. |
stigmatize | (สทิก'มะไทซ) vt. ตีตรา, ประทับตรา, ตราหน้า, ประณาม, ทำให้มีมลทิน, ทำให้อัปยศอดสู, ทำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง., See also: stigmatis z ation n. |
alhambra decree | (n) พระราชประกาศอาลัมบรา เป็นพระราชประกาศที่ออกโดยสมเด็จพระราชินีนาถอิสซาเบลลาแห่งสเปน และสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอาราอน เมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1492 เพื่อขับไล่ชาวยิวออกจากสเปน (wikipedia.org), Syn. Edict of Expulsion |
ascot | (n) การแข่งม้าในประเทศอังกฤษ |
asl | (slang) เป็นคำที่ใช้ในห้องแช้ดบนอินเทอร์เน็ต ไว้ทำความรู้จัก ว่าเป็นใคร อยู่ที่ไหน เพศอะไร อายุเท่าไร นั้นแหละ asl เช่น ถ้าเค้าว่าว่า asl? สิ่งที่เค้าคาดหวังคำตอบคือ เช่น panda 17/f/thai ก็คือ ชื่อแพนด้า อายุ17 เป็นผู้หญิงและคนไทยแจ้ ( * w *m Power by iiiita also RYUTAZA) |
ASRoma | (name) เป็นสโมสรฟุตบอลชั้นนำของอิตาลี ตั้งอยู่ในกรุงโรมเมืองหลวงของประเทศอิตาลี |
carrara | (n) หินอ่อนคาร์รารา จากเหมืองคาร์รารา ประเทศอิตาลี เป็นหินอ่อนสีขาวหรือน้ำเงินเทา ใช้ประดับตกแต่งอาคาร |
CDM | [ซี ดี เอ็ม] (n) กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) เป็นกลไกที่กำหนดขึ้นภายใต้พิธีสารเกียวโต เพื่อช่วยให้ประเทศอุตสาหกรรมที่มีพันธกรณีในการลดก๊าซเรือนกระจกสามารถบรรลุพันธกรณีได้ และเพื่อส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศกำลังพัฒนา แนวความคิดของกลไกการพัฒนาที่สะอาดคือ โครงการที่เกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนาและสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ผู้ดำเนินโครงการจะได้รับ Certified Emission Reduction (CERs) จากหน่วยงานที่เรียกว่า CDM Executive Board (CDM EB) และ CERs ที่ผู้ดำเนินโครงการได้รับนี้ สามารถนำไปขายให้กับประเทศอุตสาหกรรม ที่สามารถใช้ CERs ในการบรรลุถึงพันธกรณี่ตามพิธีสารเกียวโตได้ |
Cumberland | [คัม-บา-ลัน] (name) คัมบาลันด์ เป็นชื่ออดีตเขตชนบทในนอร์ทเวสต์อิงแลนด์ของประเทศอังกฤษ |
deareator | เครื่องแยกอากาศออกจากน้ำป้อน Boiler |
elbows | (n) ข้อศอก |
g8 | (org) กลุ่ม 8 ประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก, See also: group of 8 |
global positioning system | (n) GPS (global positioning system) จีพีเอส (ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก) เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกข้อมูลตำแหน่งโลก คือ จีพีเอส ที่ทำให้เราทราบค่าตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์ของโลก โดยใช้อุปกรณ์รับสัญญาณคือ อุปกรณ์จีพีเอส ดาวเทียมกำหนดตำแหน่งบนโลก มีอยู่สามค่ายคือ 1. NAVSTAR เป็นของประเทศอเมริกา 2. GLONASS เป็นของประเทศรัสเซีย 3. GALILEO เป็นของยุโรป แต่ที่เราใช้สัญญาณในปัจจุบันด้วย จีพีเอสที่สามารถหาซื้อได้ตามท้องตลาดนั้นใช้ของ NAVSTAR แต่เรานิยมเรียกของค่ายนี้ว่า ดาวเทียมจีพีเอส |
hit the road | (slang) หนีหัวซุกหัวซุน เช่น นายกอภิสิทธิ์ ตอกกลับนายใจล์เรื่องการหนีคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพในการสัมมนา ที่ oxford ประเทศอังกฤษว่า : If you are not hit the road , why do you stand here ? |
lifeguard | [คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน] (n) lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ), See also: Lifesaving, Lifesaver |
Plassey | (name) ปลาศี เป็นหมู่บ้านในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย ในปี ค.ศ. 1757 อังกฤษได้รับชัยชนะในยุทธการที่ปลาศี และเริ่มแผ่อิทธิพลครอบงำอินเดีย |
ravi | (n, name, uniq) ดวงอาทิตย์ ผู้กล้าหาญ ชื่อของนักดนตรีซิตาร์ของประเทศอินเดียชือ รวี ชางการ์, See also: rawee |
Srirangapatna | ศรีรังคปัฏนา เป็นเมืองในรัฐกรณาฏกะ ประเทศอินเดีย |
talaing | (n) คำที่ใช้เรียกตัวเองของ"มอญ" แต่พม่าเรียก"มอญ"ว่า ตะเลง (Talaings) ซึ่งเพี้ยนมาจากคำว่า Talingana อันเป็นแคว้นหนึ่ง ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย, Syn. Mon |
tamil nadu | (n, name) ทมิฬนาดู: เมืองแห่งหนึ่งในประเทศอินเดีย |
Tennis elbow | (vi, vt, aux, verb, adv, phrase, slang, ทางการแพทย์) ข้อศอกอักเสบ |
The Boot | (n, slang) ประเทศอิตาลี (รูปร่างคล้ายรองเท้าบู๊ต) |
กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอ | (adj, name, uniq) ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ (อังกฤษ: Biceps brachii muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่สำคัญมัดหนึ่งที่อยู่ในพื้นที่ด้านหน้าของต้นแขน (Anterior compartment of arm) กล้ามเนื้อมัดนี้มีหน้าที่หลายประการ แต่ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการงอแขนและการหมุนของปลายแขนโดยมีข้อศอกเป็นจุดหมุน กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ ยังเป็นกล้ามเนื้อที่ผู้คนส่วนใหญ่รู้จักกันดี เนื่องจากเป็นกล้ามเนื้อที่เห็นได้ชัดจากภายนอก และสามารถบริหารกล้ามเนื้อนี้ให้มีรูปร่างที่ต้องการได้ง่ายโดยการยกน้ำหนัก |