ส่งเสริม | ก. เกื้อหนุน, ช่วยเหลือสนับสนุนให้ดีขึ้น, เช่น ส่งเสริมการลงทุน ส่งเสริมการศึกษา. |
การประกอบโรคศิลปะ | น. การประกอบวิชาชีพที่กระทำหรือมุ่งหมายจะกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบำบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ แต่ไม่รวมถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ. |
ค่ายอาสาพัฒนา | น. ค่ายเยาวชนที่จัดตั้งขึ้นโดยมีความมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมหรือฝึกฝนให้เยาวชนได้ร่วมมือร่วมใจกันบำเพ็ญประโยชน์ต่าง ๆ ให้แก่ชุมชน. |
เครื่องสำอาง | วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ทา ถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบ หรือกระทำด้วยวิธีอื่นใดต่อส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย เพื่อความสะอาด ความสวยงาม หรือส่งเสริมให้เกิดความสวยงาม และรวมตลอดทั้งเครื่องประทินผิวต่าง ๆ ด้วย. |
โครงการพระดาบส | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้มีสถานที่สอนความรู้วิชาชีพต่าง ๆ เช่น วิชาช่างไฟฟ้า วิชาช่างเครื่องยนต์ วิชาช่างวิทยุโทรทัศน์ ให้แก่บุคคลทั่วไป โดยไม่จำกัด เพศ วัย และวุฒิการศึกษา โดยครูที่มีความรู้และยินดีอาสาสมัครสอนให้เป็นวิทยาทาน เปรียบเสมือนพระดาบสในสมัยโบราณที่มีกุศลศรัทธาที่จะถ่ายทอดศิลปศาสตร์ให้แก่ลูกศิษย์ โดยไม่หวังผลตอบแทนใด ๆ เริ่มดำเนินการโครงการมาตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ต่อมาได้จดทะเบียนเป็นโรงเรียนผู้ใหญ่พระดาบส และจัดตั้งเป็นมูลนิธิพระดาบสเพื่อส่งเสริมการดำเนินงานของโครงการพระดาบส และกิจการของโรงเรียนผู้ใหญ่พระดาบส. |
จรรยาบรรณ | (จันยาบัน) น. ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้. |
เชียร์ | ส่งเสริมหรือสนับสนุน เช่น เชียร์ให้ลงสมัครรับเลือกตั้ง. |
ประชาสัมพันธ์ | ก. ติดต่อสื่อสารเพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันถูกต้องต่อกัน. |
โป๊ | ก. ส่งเสริมสิ่งที่บกพร่อง เช่น ยาโป๊, ทำสิ่งยังบกพร่องอยู่ให้สมบูรณ์ เช่น เอาสีโป๊ตรงที่เป็นช่องเป็นรู ก่อนทาสีเอาปูนโป๊รอยที่ชำรุด. (จ. โป้ว ว่า ปะชุนเสื้อผ้า, ซ่อมแซม, บำรุงร่างกาย). |
พาณิชย-, พาณิชย์ | ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการพาณิชย์ และกิจการทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการพาณิชย์รวมตลอดทั้งการซื้อขายและแลกเปลี่ยนสินค้า การควบคุมและส่งเสริมเกี่ยวกับกิจการค้าและการประกันภัย. |
มหาดไทย | น. ชื่อกรมที่ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือในสมัยโบราณ มีสมุหนายกเป็นประธาน, ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการปกครองท้องที่ บำบัดทุกข์บำรุงสุข การพัฒนาชนบทและชุมชน การส่งเสริมการศึกษาและการประกอบอาชีพ การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การป้องกันสาธารณภัย การผังเมือง การโยธา และการราชทัณฑ์. |
ยกยอ | ก. ยกย่อง, สรรเสริญ, พูดส่งเสริมให้ดีขึ้น |
ยุ | ก. กล่าวชักชวน ส่งเสริม หนุน หรือเป็นใจให้ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (มักใช้ในทางที่ไม่สมควร) เช่น ยุให้เขาทะเลาะกัน ยุให้โกรธ ยุให้กำเริบ. |
ยุยง | ก. ยุหรือส่งเสริมให้ทำในสิ่งที่ไม่ดีหนักขึ้น เช่น ยุยงให้หนีโรงเรียน ยุยงให้เล่นการพนัน. |
ศุลกากร | ชื่อกรมที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีอากรจากของที่นำเข้ามาและส่งออกไปนอกราชอาณาจักร และพัฒนาส่งเสริมด้านการค้าระหว่างประเทศและการส่งออก. |
สถานีอนามัย | น. สถานบริการสาธารณสุขที่ไม่มีแพทย์ประจำ ให้บริการสาธารณสุขทุกสาขา และส่งเสริมป้องกันด้านอนามัยแก่ประชาชนในระดับตำบลและหมู่บ้าน, เดิมเรียกว่า สุขศาลา. |
สนับสนุน | ก. ส่งเสริม, ช่วยเหลือ, อุปการะ, เช่น สนับสนุนการกีฬา สนับสนุนการศึกษา. |
สมาคมการค้า | น. สถาบันที่บุคคลหลายคนซึ่งเป็นผู้ประกอบวิสาหกิจจัดตั้งขึ้นเพื่อทำการส่งเสริมการประกอบวิสาหกิจอันมิใช่เป็นการหาผลกำไรหรือรายได้แบ่งปันกัน. |
สหภาพแรงงาน | น. องค์การของลูกจ้างที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการแสวงหาและคุ้มครองผลประโยชน์เกี่ยวกับสภาพการจ้างและส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่างลูกจ้างด้วยกัน. |
สัปดาห์, สัปดาหะ | (สับดา, สับปะดา, สับดาหะ) น. รอบ ๗ วัน เริ่มตั้งแต่วันอาทิตย์ถึงวันเสาร์, ระยะ ๗ วัน เช่น สัปดาห์แห่งการส่งเสริมพระพุทธศาสนา สัปดาห์แห่งการเขียนจดหมาย. |
สาธารณสุข | กิจการเกี่ยวกับการป้องกัน การบำบัดโรค การรักษา และส่งเสริมสุขภาพของประชาชน. |
สุขศาลา | (สุกสาลา) น. สถานบริการสาธารณสุขที่ไม่มีแพทย์ประจำ ให้บริการสาธารณสุขทุกสาขา และส่งเสริมป้องกันด้านอนามัยแก่ประชาชนในระดับตำบลและหมู่บ้าน, ปัจจุบันเรียกว่า สถานีอนามัย. |
เสรีนิยม | ว. ชอบเสรีภาพ, ที่เป็นไปในทางส่งเสริมเสรีภาพ. |
หนุน | ส่งเสริม เช่น หนุนให้สอบชิงทุนรัฐบาล, เพิ่มเติม เช่น หนุนทัพ |
หอการค้า | น. สถาบันที่บุคคลหลายคนจัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมการค้า อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การเงินหรือเศรษฐกิจ อันมิใช่เป็นการหาผลกำไรหรือรายได้แบ่งปันกัน. |
ให้ท้าย | ก. เข้าข้างหรือส่งเสริมทำให้ได้ใจ. |
องค์การบริหารส่วนจังหวัด | น. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่มีพื้นที่ครอบคลุมทั้งจังหวัด โดยทับซ้อนกับพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบอื่น มีอำนาจหน้าที่ในการประสานและร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น รวมตลอดทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการให้บริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่อยู่ในเขตพื้นที่ของตน. (ดู ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ประกอบ) |
เอื้ออำนวย | ว. ส่งเสริมให้, เปิดโอกาสให้. |
Agricultural extension | การส่งเสริมการเกษตร [เศรษฐศาสตร์] |
Export promotion | การส่งเสริมการส่งออก [เศรษฐศาสตร์] |
Industrial extension | การส่งเสริมการขยายตัวด้านอุตสาหกรรม [เศรษฐศาสตร์] |
Empowerment evaluation | การประเมินเพื่อส่งเสริมความสำเร็จ [การจัดการความรู้] |
International Atomic Energy Agency | ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ, ไอเออีเอ, หน่วยงานสากลด้านความร่วมมือทางนิวเคลียร์ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2500 ภายใต้องค์การสหประชาชาติ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสันติภาพของโลก ป้องกันการแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ให้ความช่วยเหลือด้านการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ในทางสันติเพื่อความปลอดภัยและความมั่นคงของมนุษยชาติ [นิวเคลียร์] |
Thai Investors Association | สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย, Example: สมาคมมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความรู้และพิทักษ์สิทธิผู้ลงทุนไทย โดยเมื่อปี 2545 ได้รับการแต่งตั้งจากกระทรวงการคลัง สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยให้เป็น “องค์กรผู้ถือหุ้นรายย่อย” ทำหน้าที่ช่วยเหลือ ให้ความรู้ และเป็นแกนนำของผู้ถือหุ้นรายย่อย ในการปกป้องสิทธิประโยชน์จากการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ของไทย และเผยแพร่ข่าวสาร แก่ผู้ลงทุน ร่วมมือและประสานงานกับองค์กรอื่น ๆ เพื่อส่งเสริมการลงทุนในหลักทรัพย์และพัฒนาตลาดทุนไทย สมาคมนี้จัดตั้งขึ้นเมื่อปลายปี 2532 [ตลาดทุน] |
Institute of Directors | สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย, Example: องค์กรที่จัดตั้งขึ้นโดยได้รับการสนับสนุนจากองค์กรต่าง ๆ อันได้แก่ ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มูลนิธิกองทุนพัฒนาระบบตลาดทุน และธนาคารโลก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาและสนับสนุนกรรมการของบริษัทให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเป็นเวทีสำหรับกรรมการบริษัทในการแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่ของกรรมการ และการบริหารงานของบริษัท เพื่อนำเสนอเป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอันเป็นการช่วยยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการบริษัทให้เป็นที่น่าถือมากยิ่งขึ้น [ตลาดทุน] |
Agricultural extension work | งานส่งเสริมการเกษตร [TU Subject Heading] |
Agricultural extension workers | คนงานในการส่งเสริมการเกษตร [TU Subject Heading] |
Employee health promotion | การส่งเสริมสุขภาพลูกจ้าง [TU Subject Heading] |
Enterprise zones | เขตส่งเสริมการลงทุน [TU Subject Heading] |
Enterprise zones, Rural | เขตส่งเสริมการลงทุนในชนบท [TU Subject Heading] |
Foreign trade promotion | การส่งเสริมการค้าต่างประเทศ [TU Subject Heading] |
Forestry extension work | งานส่งเสริมการป่าไม้ [TU Subject Heading] |
Health promotion | การส่งเสริมสุขภาพ [TU Subject Heading] |
Health promotion services | บริการส่งเสริมสุขภาพ [TU Subject Heading] |
Industrial promotion | การส่งเสริมอุตสาหกรรม [TU Subject Heading] |
Extension service | การส่งเสริมการขยายกิจรรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Mass media in agricultural extension work | สื่อมวลชนในงานส่งเสริมการเกษตร [TU Subject Heading] |
Nutrition extension work | งานส่งเสริมโภชนาการ [TU Subject Heading] |
Reading promotion | การส่งเสริมการอ่าน [TU Subject Heading] |
Sales promotion | การส่งเสริมการขาย [TU Subject Heading] |
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] |
Asia-Europe Environmental Technology Centre | ศูนย์เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมเอเชีย-ยุโรป เป็นกลไกหนึ่งภายใต้อาเซม เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิก [การทูต] |
ASEAN-EU Ministerial Meeting | การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียน-สหภาพยุโรป เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิก อาเซียน 10 ประเทศ กับรัฐมนตรีต่างประเทศของสหภาพยุโรป 15 ประเทศ จัดขึ้นทุก 18-24 เดือน เพื่อหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็นทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน [การทูต] |
ASEAN Environment Year | ปีสิ่งแวดล้อมอาเซียน กำหนดให้มีขึ้นทุก 3 ปี เพื่อสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมให้กับ ประชาชนทุกระดับในสังคม รวมทั้งส่งเสริมความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม แก่สาธารณชนในการนำไปสู่การปฏิบัติเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน [การทูต] |
ASEAN Foundation | มูลนิธิอาเซียน จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการสร้าง จิตสำนึกของความเป็นอาเซียนในหมู่ประชาชน และเพื่อให้การสนับสนุนกิจกรรม/โครงการเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมทั้งการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกอาเซียนอย่างเท่าเทียมกัน มีสำนักงานอยู่ที่กรุงจาการ์ตา [การทูต] |
ASEAN Framework Agreement on Services | กรอบความตกลงของอาเซียนว่าด้วยการบริการ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและการเปิดเสรีการค้าบริการระหว่าง ประเทศสมาชิกอาเซียน [การทูต] |
ASEAN Free Trade Area | เขตการค้าเสรีอาเซียน จัดตั้งขึ้นตามมติของที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 4 เพื่อส่งเสริม การค้าเสรีระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน โดยให้มีการลดอัตราภาษีศุลกากรที่เท่ากันตามระยะเวลาที่กำหนด เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 โดยให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ลดอัตราภาษีศุลกากรให้เหลือร้อยละ 0-5 ภายในปี พ.ศ. 2546 และมีระยะเวลาผ่อนผันสำหรับประเทศสมาชิกใหม่อีก 4 ประเทศ ตามช่วงเวลาก่อน/หลังที่เข้าเป็นสมาชิกอาเซียน [การทูต] |
ASEAN Free Trade Area - Australia-New Zealand Closer Economic Relations Trade Agreement (ANZCERTA or CER) | ความร่วมมือระหว่างเขตการค้าเสรีอาเซียนและกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจและ การค้าออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ เป็นความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เพื่อส่งเสริมการค้า การลงทุน ความร่วมมือทางวิชาการ ด้านศุลกากร การขนส่ง การแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านมาตรฐานและการรับรองระหว่างกัน [การทูต] |
Agreement on Promotion and Protection of Investments | ความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน [การทูต] |
ASEAN Investment Area | เขตการลงทุนอาเซียน จัดตั้งขึ้นตามกรอบความตกลงว่าด้วยเขตลงทุนอาเซียน ที่ลงนามเมื่อ ปี พ.ศ. 2541 เพื่อส่งเสริมให้มีภาวะการลงทุนที่โปร่งใสและเสรีในอาเซียนในอันที่จะดึงดูด การลงทุนจากภายในและภายนอกภูมิภาค โดยให้ประเทศสมาชิกเปิดให้มีการลงทุนทางอุตสาหกรรม และให้มี การประติบัติเยี่ยงคนชาติแก่นักลงทุนอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2553 และแก่นักลงทุนทั่วไปภายในปี พ.ศ. 2563 โดยครอบคลุมการลงทุนโดยตรง ทั้งหมดในสาขาอุตสาหกรรมการผลิต เกษตร ประมง ป่าไม้ และเหมืองแร่ รวมทั้งการบริการที่เกี่ยวเนื่องกับสาขาการผลิตดังกล่าว ยกเว้นการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ [การทูต] |
ASEAN Investment Area Council | คณะมนตรีเขตการลงทุนอาเซียน " เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีที่ดูแลงานด้านการส่งเสริมการลงทุน เพื่อกำหนดนโยบายและกำกับการดำเนินงานจัดตั้งเขตการลงทุน อาเซียน ปกติมีการประชุมปีละครั้ง " [การทูต] |
ASEAN Industrial Cooperation Scheme | โครงการความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมอาเซียน เป็นมาตรการเพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนวัตถุดิบการผลิตในรูปสินค้าสำเร็จ รูป/กึ่งสำเร็จรูป เพื่อใช้ในการผลิตทางอุตสาหกรรมระหว่างบริษัทที่ตั้งอยู่ในประเทศอาเซียน อันจะเป็นการสนับสนุนการแบ่งกันผลิตและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของภาค อุตสาหกรรมในอาเซียน โดยจะต้องเป็นความร่วมมือตั้งแต่สองประเทศขึ้นไป และมีคนชาติประเทศสมาชิกอาเซียนมีหุ้นส่วนอยู่ในแต่ละบริษัทอย่างน้อยร้อยละ 30 สินค้าที่ได้รับอนุมัติให้อยู่ในโครงการจะได้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรใน อัตราร้อยละ 0-5 ในทันที โดยไม่ต้องรอให้เขตการค้าเสรีอาเซียนมีผลบังคับใช้ [การทูต] |
ASEAN Ministers on Energy Meeting | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านพลังงาน จัดขึ้นปีละครั้ง เพื่อกำหนดแนวนโยบายในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสมาชิกอาเซียนด้าน พลังงาน [การทูต] |
ASEAN Promotion Centre on Trade, Investment and Tourism (ASEAN Centre) | ศูนย์ส่งเสริมการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวอาเซียน (ศูนย์อาเซียน) " ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2524 ภายใต้ความตกลงระหว่างญี่ปุ่นกับประเทศสมาชิกอาเซียน มีสำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงโตเกียว เพื่อส่งเสริมการส่งออกสินค้าอาเซียนไปยังญี่ปุ่น ส่งเสริมการลงทุนของญี่ปุ่นในอาเซียน และส่งเสริมนักท่องเที่ยวญี่ปุ่นให้เดินทางไปท่องเที่ยวในประเทศสมาชิก อาเซียน " [การทูต] |
ASEAN Regional Centre for Biodiversity Conservation | ศูนย์อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของภูมิภาคอาเซียน จัดตั้งขึ้นด้วยความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรป มีสำนักงานเลขาธิการตั้งอยู่ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม [การทูต] |
ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] |
APEC Study Centers | ศูนย์ศึกษาเอเปค มีการจัดตั้งศูนย์ศึกษาเอเปคในแต่ละประเทศสมาชิก 15 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคด้วยการ ศึกษา การพัฒนาฝีมือแรงงาน และอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรม ตลอดจนส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างสมาชิกเอเปคในภูมิภาค ทั้งนี้ ศูนย์ศึกษาเอเปคได้มีบทบาทสำคัญในกิจกรรมต่าง ๆ ของประเทศสมาชิก เช่น กิจกรรมการประเมินผลการดำเนินความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการของเอเปค เป็นต้น [การทูต] |
Association of South-East Asian Nations | สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน จัดตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 เพื่อร่วมมือและส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพ ความเจริญทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์และการบริหารในภูมิภาค โดยมีสมาชิกเริ่มแรก 5 ประเทศ คือ อินโดนิเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์และไทย ต่อมาบรูไน ดารุสซาลาม ได้เข้าเป็นสมาชิกประเทศที่ 6 เมื่อปี พ.ศ. 2527 เวียดนามเป็นสมาชิกประเทศที่ 7 ในปี พ.ศ. 2538 ลาวและพม่าเข้าเป็นสมาชิกพร้อมกันในปี พ.ศ. 2540 และกัมพูชาเข้าเป็นสมาชิกอาเซียนลำดับสุดท้ายหรือประเทศที่ 10 เมื่อปี พ.ศ. 2542 [การทูต] |
ASEAN Award | รางวัลอาเซียน " แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทบุคคลและประเภทองค์กร เพื่อ ยกย่องและให้การรับรองผลงานที่มีความโดดเด่นในการส่งเสริมและการพัฒนาความ ร่วมมือในภูมิภาคอาเซียน " [การทูต] |
ASEAN Charter | กฎบัตรอาเซียน เป็นความตกลงระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ที่จะให้สถานะทางกฎหมายหรือนิติฐานะแก่อาเซียน และวางกรอบโครงสร้างองค์กรใหม่เพื่อทำให้อาเซียนเป็นหน่วยงานที่ยึดมั่นมาก ยิ่งขึ้นต่อกติกาและกฏเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ประเทศสมาชิกร่วมกันกำหนดขึ้น อันจะนำมาซึ่งการเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ กฎบัตรอาเซียนยังมีเป้าหมายเพื่อเปลี่ยนให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประชาชน เป็นศูนย์กลางของความร่วมมือมากยิ่งขึ้นด้วยการจัดตั้งองค์กรใหม่ๆ เพื่อปกป้องและส่งเสริมผลประโยชน์ของประชาชนอาเซียน เช่น องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ร่วมลงนามกฎบัตรฯ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 [การทูต] |
ASEAN-European Community Joint Cooperation Committee | คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-ประชาคมยุโรป " จัดตั้งขึ้นตามความตกลงว่าด้วยความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประชาคมยุโรป (ASEAN-EC Cooperation Agreement) ที่ลงนามกันเมื่อปี พ.ศ. 2523 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาระหว่างสองฝ่าย โดยมีคณะอนุกรรมการ 6 คณะ ได้แก่ ด้าน การค้า เศรษฐกิจอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม และยาเสพติด " [การทูต] |
Asia-Europe Foundation | เป็นกลไกหนึ่งภายใต้อาเซม เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ วัฒนธรรม และประชาชนกับประชาชน ระหว่างประเทศสมาชิก [การทูต] |
Young Ambassador of Virtue | ยุวทูตความดี " เป็นโครงการของกระทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับกระทรวงศึกษา- ธิการ เริ่มโครงการตั้งวันที่ 5 ธันวาคม 2542 เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม จริยธรรมและคุณธรรมในบรรดาเยาวชนไทย อันเป็นการเสริมคุณภาพของเยาวชนไทยให้มีครบทั้งความเก่ง ความดี และมีความสุข โดยหวังผลในที่สุดว่าคุณภาพของเยาวชนรุ่นใหม่ของไทยจะเป็นการเสริมสร้างพื้น ฐานความแข็งแกร่งแก่สังคมไทยและส่งเสริมให้ความสามารถในการแข่งขันของไทยใน โลกอนาคตมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในยุคโลกา- ภิวัฒน์ นอกจากการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีความรู้คู่คุณธรรมแล้ว โครงการยุวทูตความดียังส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนไทยและเยาวชนของ ประเทศต่าง ๆ โดยผ่านทางโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง (Sister schools - โรงเรียนในประเทศที่ต่างกันที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน) " [การทูต] |
bold measures | มาตรการเข้มข้น หมายถึง มาตรการพิเศษที่กำหนดโดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 6 เมื่อเดือนธันวาคม 2541 เพื่อส่งเสริมการค้าและการเร่งรัดลงทุนจากต่างประเทศในอาเซียน ในอันที่จะช่วยประเทศในภูมิภาคฟื้นฟูเศรษฐกิจจากวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ [การทูต] |
Confidence Building Measures | มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ เป็นมาตรการเพื่อสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างรัฐ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ทั้งด้านการเมือง ความมั่นคง และการทหาร เพื่อลดความหวาดระแวง ลดความขัดแย้ง และสร้างความมั่นใจระหว่างสองฝ่ายหรือหลาย ๆ ฝ่าย อันจะเป็นการส่งเสริมการทูตเชิงป้องกัน ทั้งนี้ CBMs เป็นกระบวนการที่สำคัญในกรอบการประชุม ARF [การทูต] |
ASEAN Coordinating Committee on Investment | คณะกรรมการประสานงานด้านการลงทุนของอาเซียน " จัดตั้งขึ้นจากความตกลงพื้นฐานว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน (AIA) โดยเป็นการประชุมระหว่างรองหัวหน้าหน่วยงานด้านการส่งเสริมการลงทุน เพื่อดูแลและประสานการดำเนินงานตามความตกลงว่าด้วย เขตการลงทุนอาเซียน " [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นคณะกรรมาธิการหลัก ซึ่งรับผิดชอบในการเสาะหามาตรการในการส่งเสริมเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเทศ ต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งตรวจสอบและสอดส่องการดำเนินการด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษย ชนในประเทศต่าง ๆ ด้วย คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 53 ประเทศ มาจากการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งวาระละ 3 ปี คณะกรรมาธิการฯ โดยจะมีการประชุมเป็นประจำทุกปี ประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ณ นครเจนีวา ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเข้าเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการฯ สำหรับวาระ พ.ศ. 2544-2546 [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
academy | (n) สมาคมส่งเสริมความรู้หรือวัฒนธรรม |
bear | (vt) พยุง, See also: ค้ำ, หนุน, ส่งเสริม |
boost | (vt) ส่งเสริม, See also: ยุยง, ยกยอ, Syn. encourage, promote |
booster | (n) การส่งเสริม, See also: เครื่องเพิ่มกำลัง, ผู้สนับสนุน, สิ่งกระตุ้น, Syn. auxiliary, helper |
boost up | (phrv) ทำให้แข็งแรง, See also: สนับสนุน, ส่งเสริม |
ecumenical | (adj) ที่ช่วยส่งเสริมความสามัคคีของคริสเตียนทั่วโลก, See also: เกี่ยวกับโบสถ์คริสเตียนทั้งหมด, เกี่ยวกับนิกายคริสเตียนทั้งหมด, Syn. universal |
ecumenicity | (n) ความเชื่อและการปฏิบัติตนเพื่อส่งเสริมความสามัคคีของคริสเตียนทั่วโลก, Syn. ecumenism |
ecumenism | (n) ความเชื่อและการปฏิบัติตนเพื่อส่งเสริมความสามัคคีของคริสเตียนทั่วโลก, Syn. ecumenicity |
encourage | (vt) ส่งเสริม, สนับสนุน, เกื้อหนุน |
forward | (vt) สนับสนุน, See also: ส่งเสริม, Syn. advance, assist, promote |
further | (vt) สนับสนุน, See also: ส่งเสริม |
help | (n) การช่วย, See also: การช่วยเหลือ, การเกื้อกูล, การส่งเสริม, การสนับสนุน |
help | (vt) ช่วย, See also: ช่วยเหลือ, ให้ความช่วยเหลือ, จุนเจือ, เกื้อกูล, ส่งเสริม, สงเคราะห์, Syn. aid, assist, succor, Ant. hinder, hold back, obstruct |
help | (vi) ช่วย, See also: ช่วยเหลือ, ให้ความช่วยเหลือ, จุนเจือ, เกื้อกูล, ส่งเสริม, สงเคราะห์, Syn. aid, assist, Ant. hinder, hold back |
incite | (vt) กระตุ้น, See also: ส่งเสริม, ผลักดัน, Syn. arouse, rouse, provoke |
instigation | (n) การยั่วยุ, See also: การส่งเสริม, การกระตุ้น |
lash | (vt) กระตุ้น, See also: ยุยง, ส่งเสริม, Syn. drive, incite, encourage |
merchandise | (vt) ค้าขาย, See also: ส่งเสริมการขาย, วางแผนการขาย, Syn. market, peomote, ditribute |
merchandize | (vt) ค้าขาย, See also: ส่งเสริมการขาย, วางแผนการขาย, Syn. market, peomote, ditribute |
promote | (vt) ช่วยเหลือให้ดีขึ้น, See also: ส่งเสริม, โฆษณา, Syn. push, boost, nourish, nurture, Ant. discourage, weaken |
promoter | (n) ผู้สนับสนุน, See also: ผู้ส่งเสริม, Syn. booster, advertiser, agent |
raise | (vt) ยกระดับ, See also: ส่งเสริม, เลื่อนขึ้น, Syn. improve |
range with | (phrv) สนับสนุน, See also: ส่งเสริม |
reinforce with | (phrv) สนับสนุนด้วย, See also: ส่งเสริมด้วย |
salubrious | (adj) ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพ, See also: ซึ่งส่งเสริมสุขภาพ, Syn. healthy, sanitary |
sanitation | (n) สุขอนามัย, See also: การส่งเสริมสุขภาพ, สุขาภิบาล, Syn. sanitary science, hygiene |
subservient | (adj) ซึ่งสนับสนุน, See also: ซึ่งส่งเสริม, Syn. auxiliary, subsidiary |
supporter | (n) ผู้สนับสนุน, See also: ผู้ส่งเสริม, ผู้อุปถัมภ์, ผู้สงเคราะห์, ผู้อุปการะ, Syn. helper, adherent, patron, sponsor |
see through | (phrv) ช่วยเหลือ, See also: ส่งเสริม |
set on | (phrv) ยุยง, See also: สนับสนุนให้ทำสิ่งผิด, ส่งเสริมในทางผิด |
wholesome | (adj) ซึ่งเป็นประโยชน์, See also: ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพ, เกี่ยวกับการมีสุขภาพดี, ส่งเสริมสุขภาพ, Syn. healthful, healthy, salubrious, Ant. unhealthy |
wholesomeness | (n) การส่งเสริมสุขภาพ, Syn. healthfulness, healthiness, salubriousness, Ant. unhealthiness |
adjunctive | (อะจังคฺ' ทิฟว) adj. เป็นสิ่งประกอบหรือส่งเสริม, คำเสริม, ส่วนสังกัด |
administer | (แอดมิน' นิสเทอะ) vt., vi. จัดการ, ดำเนินการ, บริหาร, ส่งเสริม, บำรุง, เสนอ |
athenaeum | (แอธธินี'อัม) n. สถาบันส่งเสริมการเรียนรู้, ห้องสมุด., Syn. atheneum |
auxetic | (ออเซท'ทิค) adj. เกี่ยวกับหรือส่งเสริม auxesis. -n. สารที่ส่งเสริมขบวนการ auxesis (pertaining to auxesis) |
boost | (บูสทฺ) { boosted, boosting, boosts } vt., n. (การ) ยกขึ้น, เลื่อนขึ้น, ส่งเสริม, พูดจาสนับสนุน, เผยแพร่, เลื่อนตำแหน่ง, เพิ่มขึ้น, Syn. lift, raise |
complement | (คอม'พละเมินทฺ) { complemented, complementing, omplements } vt. ส่งเสริม, องค์ประกอบ, ส่วนประกอบ, สิ่งที่ทำให้เต็มหรือสมบูรณ์, จำนวนองศาที่ทำให้ครบ90องศา, See also: complementary adj. ดูcomplement, Syn. balance, match -Conf. compl |
connivance | (คะไนฟ'เวินซฺ) n. การยินยอมแบบเอาหูไปนาเอาตาไปไร่, การอนุญาตอย่างลับ ๆ , การส่งเสริมอย่างลับ ๆ, See also: connivan adj. ดูconnivance conniven adj. ดูconnivance, Syn. connivence. |
exploitation | (เอคซฺพลอยเท'เชิน) n. การใช้หาประโยชน์, การใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว, การส่งเสริมโดยการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์, Syn. manipulation |
facilitate | (ฟะซิล'ลิเทท) vt. ทำให้ง่ายขึ้น, ทำให้สะดวก, สนับสนุน, ส่งเสริม, ก่อให้เกิด., See also: facilitation n. facetiousness adj. facilitator n., Syn. expedite |
foment | (โฟเมนทฺ') vt. ปลุกปั่น, กระตุ้น, ปลุกระดม, ก่อกวน, ส่งเสริม, โลมด้วยน้ำอุ่น -fomenter n., Syn. incite |
further | (เฟอ'เธอะ) adv. ต่อไป, ไกลออกไป, นานออกไป, นอกจากนี้. adj. ไกลกว่า, ขยายออกไปอีก, เพิ่มเติม, มากขึ้น. vt. ช่วยทำให้ก้าวไปข้างหน้า, ส่งเสริม, ผลักดัน, ก้าวหน้า., See also: furtherer n., Syn. farther |
furtherance | (เฟอ'เธอะเรินซฺ) n. การก้าวต่อไปข้างหน้า, การส่งเสริม, การผลักดัน, Syn. advancement, drive |
hound | (เฮาดฺ) n. สุนัขล่าเนื้อ, คนต่ำช้า, ขี้ยา vt. ล่าสัตว์, ไล่ตาม, กระตุ้น, ส่งเสริม, Syn. harass, pursue |
impetus | (อิม' พิทัส) n., (pl. impetuses) แรงผลักดัน, แรงกระตุ้น, แรงดลใจ, การส่งเสริม |
incentive | (อินเซน' ทิฟช) n. สิ่งกระตุ้น, เครื่องกระตุ้น, สิ่งดลใจ, เครื่องส่งเสริม., See also: incentively adv., Syn. stimulating, provocative |
instigate | (อิน'สทิเกท) vt. กระตุ้น, ยุยง, ส่งเสริม, ปลุกปั่น., See also: instigatingly adv. instigative adj. instigator n., Syn. urge |
instigation | (อินสทิเก'เชิน) n. การกระตุ้น, การยุยง, การส่งเสริม, สิ่งดลใจ., Syn. agitator |
irenic | (ไอเรน'นิค) adj. เกี่ยวกับการส่งเสริมความสงบหรือสันติภาพ, สงบ, สันติ., Syn. irenical. S. peaceful |
ku klux klan | (คู'คลัคซฺ'แคลน) n. องค์การลับในอเมริกาที่มีจุดประสงค์ส่งเสริมความรักชาติอเมริกัน |
leavening | (เลฟ'เวินนิง) n. สารที่ทำให้ฟู, เชื้อหมักให้ฟู, ส่าเหล้า, ส่งเสริมใส่ |
merchandise | (เมอ'เชินไดซ) n. สินค้า, วัตถุที่ซื้อขายกัน. vi. ค้าขาย. vt. ค้าขาย, ส่งเสริมการขาย, วางแผนการขาย., See also: merchandiser n. merchandizer n. |
merchandize | (เมอ'เชินไดซ) n. สินค้า, วัตถุที่ซื้อขายกัน. vi. ค้าขาย. vt. ค้าขาย, ส่งเสริมการขาย, วางแผนการขาย., See also: merchandiser n. merchandizer n. |
promote | (พระโมท') vt. สนับสนุน, ส่งเสริม, เลื่อน, กระตุ้น, ก่อการ, ก่อตั้ง., See also: promotable adj., Syn. further, upgrade |
promotion | (พระโม'เชิน) n. การสนับสนุน, การส่งเสริม, การเลื่อน (ตำแหน่ง ฐานะหรือระดับ) , การให้กำลังใจ, การก่อการ, การก่อตั้ง., See also: promotional adj. promotive adj. |
prompter | (พรอมพฺ'เทอะ) n. ผู้บอกบทการแสดง, ผู้ส่งเสริม, ผู้กระตุ้น, สิ่งกระตุ้น |
push | (พุช) vt., vi., n. (การ) ผลัก, ดัน, ยัน, ไส, แทง (บิลเลียด) , รุกไปข้างหน้า, ทำให้ยื่นออก, สนับสนุน, ส่งเสริม, รุก, เร้า, ขายยาเสพติด, เผยแพร่, รีบเดินทาง, ยื่นหรือขยายออก -Phr. (push off จากไป ออกเดินทาง) |
raise | (เรส) vt., vi. (การ) ยก, ยกขึ้น, ชูขึ้น, ทำให้สูงขึ้น, เงย, ยกระดับ, สร้าง, ตั้งเสา, สนับสนุน, ส่งเสริม, เลื่อนขั้น, เลี้ยง (เด็ก, ไก่...) , ระดมพล, ปลุก, ยั่วยุ, ทำให้คืนชีพ, เพิ่มค่า, ทำให้ขนมฟู, รวบรวมเงิน, เก็บภาษี, เพาะปลูก, วางเงินพนันมากขึ้น, ติดต่อทางวิทยุ |
salubrious | (ซะลู'เบรียส) adj. ส่งเสริมสุขภาพ, มีสุขภาพแข็งแรง, See also: salubriousness n. salubrity n., Syn. healthful, wholesome |
salutary | (แซล'ลูทะรี) adj. ส่งเสริมสุขภาพ, มีประโยชน์, เอื้ออำนวยผล., See also: salutarily adv. salutariness n. |
sanitarian | (แซนนิแท'เรียน) adj. ถูกสุขลักษณะ, ถูกหลักอนามัย, ส่งเสริมสุขภาพ n. ผู้เชี่ยวชาญสาธารณสุขศาสตร์ |
sanitarium | (แซนนิแท'เรียม) n. สถานีอนามัย, โรงส่งเสริมสุขภาพ, สถานที่พักฟื้นคนไข้, โรงพยาบาล. pl. sanitariums, sanitaria, Syn. sanatorium |
sanitary | (แซน'นิเทอรี) adj. เกี่ยวกับสุขภาพ, เกี่ยวกับอนามัย, ส่งเสริมสุขภาพ, ถูกอนามัย, ถูกสุขลักษณะ, สะอาด., See also: sanitarily adv. |
sanitation | (แซนนิเท'เชิน) n. สุขอนามัย, สุขาภิบาล, การส่งเสริมสุขภาพ |
secondary | (เซค'เคินเดอริ) adj. ที่สอง, ลำดับสอง, ทุติยะ, อันดับรอง, รอง, สำรอง, ทีหลัง, ต่อเนื่อง, สังกัด, ได้มาจาก, ไม่สำคัญ, ส่งเสริม, ส่วนเสริม, เกี่ยวกับโรงเรียนมัธยม, เกี่ยวกับคาร์บอนอะตอมที่รวมตัวกับอีกสองคาร์บอนอะตอม, เป็นอนุพันธุ์, เกี่ยวกับอดีต, เกี่ยวกับการเน้นเสียงที่สอง |
serve | (เซิร์ฟว) vi., vt. รับใช้, บริการ, คอยรับใช้, ปรนนิบัติ, บริการอาหาร, ต้อนรับแขก, ให้ความช่วยเหลือ, ช่วยเหลือ, มีประโยชน์, อำนวย, ส่งเสริม, เหมาะกับ, ตอบแทน, ตอบรับ, ออกลูก, เสิร์ฟลูก, ชดใช้, แก้เผ็ด, แจกจ่าย, (สัตว์ตัวผู้) ผสมพันธุ์กับ, รับหน้าที่, สนองความต้องการ, ส่งหมายศาล, |
setoff | (เซท'ออฟ) n. สิ่งชดเชย, การชดเชย, การหักล้าง, การหักกลบลบหนี้, ของประดับ, สิ่งที่ใช้ส่งเสริมผลของสิ่งอื่น, Syn. offset, balance, trade-off |
sodality | (โซแคล'ลิที) n. สัมพันธไมตรี, มิตรไมตรีจิต, ความเป็นน้ำหนึ่งอันเดียวกัน, ความเป็นเพื่อน, สมาคม, สังคม, สมาคมฆราวาส เพื่อส่งเสริมวัตถุประสงค์ทางศาสนา |
speed | (สพีด) { sped/speeded, speeding, speeds } n. ความเร็ว, ความรวดเร็ว, ความสำเร็จ, ความเจริญรุ่งเรือง. vt., vi.เร่ง, กระตุ้น เร่งความเร็ว, ส่งเสริม, กระตุ้น, เร่งความเร็ว, ทำให้ประสบความสำเร็จ., ไปด้วยความรวดเร็ว, ปรับอัตราความเร็ว, ประสบความสำเร็จ, เจริญรุ่งเรือง. |
sponsor | (สพอน'เซอะ) n. ผู้ประกัน, ผู้อุปถัมภ์, ผู้ส่งเสริม vt. ประกัน, ค้ำประกัน, อุปถัมภ์, ส่งเสริม., See also: sponsorial adj. sponsorship n. |
stimulate | (สทิม'มิวเลท) vt. กระตุ้น, เร้าใจ, เร้า, ปลุกใจ, ส่งเสริม, กระตุ้นประสาท, ชูกำลัง. vi. เป็นตัวกระตุ้น, ชูกำลัง., See also: stimulability n. stimulator n. stimulater adj. stimulation n., Syn. rouse, arouse, urge |
suborn | (ซะบอร์น') vt. ให้สินบน, ตัดสินบน, ยุยงส่งเสริม, ชักนำให้เป็นพยานเท็จ. -subornation n., See also: subornative adj. suborner n. |
subserve | (ซับเซิร์ฟว') vt. ส่งเสริม, สนับสนุน, อำนวยประโยชน์, มีประโยชน์ต่อ, ผลักดัน |
subservient | (ซับเซิร์ฟ'เวียนทฺ) adj. ส่งเสริม, ช่วย, สนับสนุน, รับใช้, ยอมจำนน, อ่อนน้อม, See also: subservience, subserviency n. subserviently adv., Syn. obsequious |
subsidiary | (ซับซิด'เดียรี) adj. เสริม, ส่งเสริม, ช่วยเหลือ, สังกัด, เป็นองค์ประกอบ, รอง, ลูกมือ, ไม่ใช่ตัวการ, บริษัทสาขา. -subsidiarily adv., See also: subsidiariness n., Syn. assisting |
supplement | (ซับ'พลิเมินทฺ) n. ส่งเสริม, สิ่งผนวก, ภาคผนวก, ส่วนเสริม, เพิ่มเติม, มุมเสริม180องศาหรือครึ่งวงกลม. vt. ทำให้สมบูรณ์, เสริม, ผนวก, เพิ่มเติม., See also: supplementation n. supplementer n., Syn. rider, postscript, additon, codici |
supplementary | (ซับพลิเมน'ทะรี) adj. เสริม, ผนวก, เพิ่มเติม, ประกอบ. n. ผู้เสริม, ส่งเสริม, ภาคผนวก, มุมเสริม180องศาหรือครึ่งวงกลม |
vitamin e | n. ของเหลวข้นเหนียวที่พบได้ในน้ำมันข้าวสาลีช่วยส่งเสริมความสามารถในการให้กำเนิดลูกได้ ป้องกันการแท้ง |
wholesome | (โฮล'ซัม) adj. เป็นประโยชน์, ส่งเสริมสุขภาพ, ดี, ดีงาม, ปลอดภัย, , See also: wholesomely adv. wholesomeness n., Syn. healthful, healthy |
working | (เวิร์ค'คิง) n. การทำงาน, การปฏิบัติการ, การกระทำ, งาน, การใช้แรงงาน, ชุดทำงาน, กระบวนการทำให้วัตถุเป็นรูปร่าง adj. เกี่ยวกับการทำงาน, ซึ่งได้ผล, ซึ่งใช้การได้, ซึ่งปฏิบัติการ, ส่งเสริมการทำงาน, เกี่ยวกับการใช้แรงงาน, เกี่ยวกับชุดทำงาน |
abet | (vt) ส่งเสริม, หนุนหลัง, ยุยง |
abetter | (n) ผู้ส่งเสริม, ผู้หนุนหลัง, ผู้ยุยง |
abettor | (n) ผู้ส่งเสริม, ผู้หนุนหลัง, ผู้ยุยง |
auxiliary | (adj) เป็นองค์ประกอบ, เป็นปัจจัยส่งเสริม |
boost | (vt) ยก, ส่งเสริม, ดัน, เลื่อนตำแหน่ง |
encourage | (vt) ส่งเสริม, ยุ, เร้าใจ, ให้กำลังใจ, สนับสนุน |
encouragement | (n) การให้กำลังใจ, ความเร้าใจ, การส่งเสริม, การสนับสนุน |
eugenics | (n) สุพันธุศาสตร์, วิชาว่าด้วยการส่งเสริมมนุษยชาติให้ดีขึ้น |
facilitate | (vt) ทำให้สะดวก, ทำให้ง่าย, สนับสนุน, ส่งเสริม |
foster | (vt) เลี้ยง, อุปถัมภ์, ส่งเสริม, สนับสนุน |
further | (vt) ส่งเสริม, ทำให้คืบหน้า, ต่อไป, ทำให้ก้าวหน้า, ผลักดัน |
furtherance | (n) ความคืบหน้า, ความก้าวหน้า, การส่งเสริม, การผลักดัน |
help | (n) ความช่วยเหลือ, ความสงเคราะห์, การส่งเสริม |
help | (vt) ช่วยเหลือ, สงเคราะห์, ส่งเสริม, เอื้อเฟื้อ |
improvement | (n) การปรับปรุง, การพัฒนา, การส่งเสริม, การแก้ไข |
incite | (vt) เร้าใจ, ยุยง, ยั่วยุ, ส่งเสริม, หนุน, กระตุ้น, ปลุกปั่น |
incitement | (n) การยุยง, การส่งเสริม, การสนับสนุน |
instigate | (vt) เร้า, กระตุ้น, ยุยง, ส่งเสริม, ปลุกปั่น |
instigation | (n) การกระตุ้น, การยุยงส่งเสริม, การรบเร้า, การปลุกปั่น |
pander | (vt) สนับสนุน, ส่งเสริม, ชักนำ |
promote | (vt) สนับสนุน, ส่งเสริม, เลื่อนชั้น, ก่อตั้ง, กระตุ้น |
promoter | (n) ผู้ส่งเสริม, ผู้จัดตั้ง, ผู้สนับสนุน, ผู้จัด |
promotion | (n) การสนับสนุน, การส่งเสริม, การเลื่อนชั้น, การเลื่อนตำแหน่ง |
prompter | (n) คนบอกบท, ผู้ส่งเสริม, ผู้กระตุ้น |
raise | (vt) ตั้งขึ้น, ยกขึ้น, เลื่อนขั้น, เลี้ยงสัตว์, เพาะปลูก, ส่งเสริม |
redound | (vt) ส่งเสริม, ให้ผล, กลับไปสู่ |
salutary | (adj) มีประโยชน์, ส่งเสริมสุขภาพ |
sanitation | (n) สุขอนามัย, การสุขาภิบาล, การส่งเสริมสุขภาพ |
sponsor | (n) ผู้ส่งเสริม, ผู้อุปถัมภ์, ผู้ค้ำประกัน |
sponsor | (vt) ส่งเสริม, อุดหนุน, ค้ำประกัน |
stimulate | (vt) ปลุกใจ, กระตุ้น, ชูกำลัง, ส่งเสริม, ปลุกเร้า |
stimulation | (n) การปลุกใจ, การกระตุ้น, การส่งเสริม, การปลุกเร้า |
suborn | (vt) ส่งเสริม, รับสินบน, ยุยง, ติดสินบน |
subserve | (vt) ส่งเสริม, เกื้อกูล, สนับสนุน, ผลักดัน, เอื้อประโยชน์ |
uphold | (vt) ยกขึ้นสูง, ค้ำจุน, สนับสนุน, ส่งเสริม |