หนืด | (adj) sticky, See also: gluey, Syn. เหนียวหนืด, Example: เขาได้แต่กลืนน้ำลายหนืดๆ ลงคอ ไม่อาจจะรับรู้รสชาติของสิ่งใด, Thai Definition: ดึงไม่ค่อยจะออก, เหนียวจนดึงไม่ค่อยจะออก |
หนืด | (v) be sticky and viscous, See also: be gooey, be gummy, Syn. เหนียวหนืด, Example: แม่ครัวทำขนมหวานเคี่ยวน้ำตาลจนหนืด แล้งจึงนำมาทำขนม, Thai Definition: ดึงไม่ค่อยจะออก, เหนียวจนดึงไม่ค่อยจะออก |
หินหนืด | (n) magma, Example: หินหนืดพบมากบริเวณที่มีภูเขาไฟ, Thai Definition: หินที่อยู่ในสภาพของหนืดใต้เปลือกโลก |
ความหนืด | (n) viscosity, Example: เวลาที่ใช้งานได้หลังจากเปิดเครื่องยังมากอยู่เพราะมีความหนืดในการหมุนแผ่นดิสก์ให้เร็วเป็นพันๆ รอบต่อนาที |
ตึ๋งหนืด | (adj) stingy, See also: mean, miserly, Syn. ขี้เหนียว, งก, เค็ม, Ant. สุรุ่ยสุร่าย, ฟุ่มเฟือย, Example: ฉายายายเป็นคนตึ๋งหนืดของเธอใครๆ ก็รู้กันไปทั่ว, Notes: (ปาก) |
เหนียวหนืด | (adj) very sticky, See also: glutinous, viscous, Syn. ข้นเหนียว, เหนียว, หนืด, ข้น, Example: พ่อครัวเทส่วนผสมที่เหนียวหนืดได้ที่ลงในจานเปล, Thai Definition: ที่ข้นเหนียวมาก |
หนืด | ว. อาการของสิ่งของที่เหนียวจนดึงไม่ใคร่จะออก เรียกว่า เหนียวหนืด, โดยปริยายหมายถึงตระหนี่มาก. |
หนืด | น. เรียกหินที่อยู่ในสภาพหนืดใต้เปลือกโลก ว่า หินหนืด. |
หินหนืด | น. หินที่อยู่ในสภาพของหนืด อยู่ลึกลงไปภายใต้เปลือกโลก เมื่อเปลือกโลกเกิดรอยร้าวจะอูดตัวแทรกซอนขึ้นมาสู่ผิวโลก และจะแข็งตัวเป็นหินอัคนีพวกต่าง ๆ. |
เหนียวหนืด | ว. ข้นเหนียวมาก, โดยปริยายใช้หมายถึงคนตระหนี่ถี่เหนียวมาก. |
ตืด ๒ | ว. หนืด, ตระหนี่, มักใช้ว่า ขี้ตืด. |
ภูเขาไฟ | น. ภูเขาที่เกิดขึ้นโดยการปะทุของหินหนืดร้อนแรงดันสูงใต้เปลือกโลก. |
ยางมะตอย | น. สารผสมประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอนมากชนิด และสารอินทรีย์อื่น ๆ ซึ่งเรียกรวม ๆ กันว่า สารบิทูเมน ลักษณะเป็นของเหลวข้นหนืด หรือเป็นกึ่งของแข็ง สีดำ หรือสีนํ้าตาลแก่แกมดำ เกิดตามธรรมชาติ และเป็นผลพลอยได้จากการกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียม ใช้ประโยชน์ราดทำผิวถนนหรือใช้ผสมกับหินขนาดเล็กทำพื้นถนนได้, แอสฟัลต์ ก็เรียก. |
ลาวา | น. หินหนืดใต้เปลือกโลกที่พุพุ่งไหลออกมาจากปล่องภูเขาไฟ. |
หินอัคนี | (-อักคะนี) น. หินที่เกิดจากการแข็งตัวของหินหนืด. |
Viscosity | ความหนืด, Example: หน่วยวัดความต้านทานภายในของการไหลของของเหลวหรือก๊าซ ความหนืดจะลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น [ปิโตรเลี่ยม] |
Viscosity | ความหนืด [TU Subject Heading] |
Magmatic Deposits | แหล่งแร่จากหินหนืด, Example: แหล่งแร่เกิดจากการตกผลึกของหินหนืด อาจจะเกิดก่อนหรือหลังการแข็งตัวของหินหนืดซึ่งเย็นตัวลง จากอุณหภูมิเดิม 7000-1, 5000 ซ. ภายใต้ความดันสูงมาก [สิ่งแวดล้อม] |
Viscosity | ความหนืด, Example: หน่วยวัดความต้านทานภายในของการไหลของของเหลว หรือแก๊ส ความหนืดจะลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น [สิ่งแวดล้อม] |
Magma | หินหนืด, Example: สารเหลวร้อนเกิดตามธรรมชาติอยู่ภายในโลก สามารถเคลื่อนตัวไปมาได้ในวงจำกัด อาจมีของแข็งเช่นผลึกและเศษหินแข็ง และ/หรือก๊าซ รวมอยู่ด้วยหรือไม่มีเลยก็ได้ เมื่อแทรกดันขึ้นมา หรือพุพุ่งออกสู่ผิวโลกแล้ว จะเย็นและแข็งตัวเกิดเป็นหินอัคนี [สิ่งแวดล้อม] |
ดัชนีความหนืด | ดัชนีความหนืดของน้ำมันหล่อลื่นเป็นตัวบ่งชี้ว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนี้จะมี ความหนืดเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิอย่างไร ถ้าน้ำมันหล่อลื่นมีค่าดัชนีความหนืดมาก แสดงว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนี้ความหนืดจะเปลี่ยนแปลงน้อยเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน ในขณะที่น้ำมันหล่อลื่นที่มีค่าดัชนีความหนืดต่ำ แสดงว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนั้น ความหนืดจะเปลี่ยนแปลงมากเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน น้ำมันที่มีดัชนีความหนืดสูงจะเป็นน้ำมันคุณภาพดี สามารถใช้งานได้ดี แม้มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิมาก [ปิโตรเลี่ยม] |
Constant viscosity rubber | ยางธรรมชาติที่มีการเติมสารเคมี เช่น hydroxylamine ลงไปในน้ำยางก่อนที่จะเติมกรดเพื่อทำให้ยางจับตัว สารดังกล่าวจะเข้าไปทำปฏิกิริยากับหมู่อัลดีไฮด์ ป้องกันไม่ให้เกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของยางดิบที่เก็บไว้ก่อนนำมา ใช้แปรรูป ทำให้ค่าความหนืดคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาการเก็บรักษา [เทคโนโลยียาง] |
Field or Fresh latex | น้ำยางธรรมชาติที่ได้จากต้นยางพารา มีลักษณะเป็นของเหลวสีขาวคล้ายน้ำนม มีสภาพเป็นคอลลอยด์หรือสารแขวนลอย มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 0.975-0.980 กรัมต่อมิลลิลิตร มีค่า pH ประมาณ 6.5-7.0 ความหนืดของน้ำยางมีค่าประมาณ 12-15 เซนติพอยส์ โดยที่จะเติมหรือไม่เติมสารรักษาสภาพ (preservative) ก็ได้ ขึ้นกับระยะเก็บก่อนที่จะนำไปทำให้เข้มข้น หรือไปผ่านกระบวนการอื่นๆ ต่อไป [เทคโนโลยียาง] |
Liquid natural rubber | ยางธรรมชาติเหลวได้จากการนำยางธรรมชาติมาทำให้โมเลกุลของยางเกิดการ สลายตัวตรงตำแหน่งพันธะคู่หรือเป็นกระบวนการตัดสายโซ่โมเลกุลของพอลิไอโซพรี นที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงให้มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำลง จนกระทั่งยางมีความหนืดต่ำ สามารถไหลได้ที่อุณหภูมิห้องหรือที่อุณหภูมิต่ำกว่า 100 องศาเซลเซียส สามารถเตรียมได้ทั้งในรูปของน้ำยางและยางแห้ง [เทคโนโลยียาง] |
Mastication | ขั้นตอนการบดให้ยางนิ่ม มักใช้กับยางธรรมชาติเนื่องจากยางธรรมชาติมีน้ำหนักโมเลกุลสูงมาก (ความหนืดสูงมาก) การบดยางให้นิ่มเป็นการทำให้โมเลกุลฉีกขาด น้ำหนักโมเลกุลของยางลดลง (ใช้แรงเฉือน และออกซิเจนในอากาศ) สามารถทำได้โดยการบดยางล้วนๆ หรืออาจเพิ่มประสิทธิภาพในการบดยางได้โดยการเติมเพปไทเซอร์ลงไปเล็กน้อยและ การใช้อุณหภูมิสูง ผลที่ได้ทำให้ยางนิ่มลง เมื่อผสมสารเคมีลงไปจะทำให้สารเคมีนั้นให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกับยางได้ง่าย ขึ้น ส่วนยางสังเคราะห์ที่มีการควบคุมน้ำหนักโมเลกุลตั้งแต่ขั้นตอนการสังเคราะห์ ทำให้ความหนืดเริ่มต้นไม่สูงมาก จึงไม่จำเป็นต้องนำมาบดให้นิ่มก่อน [เทคโนโลยียาง] |
Mooney viscometer | เครื่องมือวัดความหนืดของยางคอมพาวด์หรือยางที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการ คงรูป นิยมใช้ในอุตสาหกรรมเพื่อควบคุมสมบัติการไหลของยางคอมพาวด์ ค่าความหนืดที่วัดได้จะเรียกว่าความหนืดมูนนี่ Mooney viscosity) วิธีการวัดค่าความหนืดมูนนี่ได้แสดงไว้ในมาตรฐาน ISO 289-1, ASTM D 1646, BS 1673: Part 3 [เทคโนโลยียาง] |
Mooney viscosity | ความหนืดของยางดิบหรือยางคอมพาวด์ ทดสอบด้วยเครื่องวัดความหนืด Mooney viscometer ซึ่งเครื่องวัดดังกล่าวมีจานโลหะหมุนอยู่ในห้องใส่ยางภายใต้อุณหภูมิและความ ดันตามที่กำหนดไว้ การหมุนของจานโลหะในยางทำให้เกิดแรงบิด (torque) ขึ้น และจะขับให้สปริงรูปตัวยูเกิดการเคลื่อนที่ ใช้ไมโครมิเตอร์วัดขนาดการเคลื่อนที่ให้ออกมาเป็นมาตรที่เรียกว่า Mooney Viscosity เช่น 50 ML 1+4 (100C) 50 หมายถึง ค่าความหนืดที่วัดได้ในหน่วยมูนนี่ M หมายถึง Mooney L หมายถึง จานหมุนขนาดใหญ่ (ถ้าใช้จานหมุนขนาดเล็กให้ใช้อักษร S) 1 หมายถึง ระยะเวลาที่ใช้ในการอุ่นยางก่อนทดสอบ เป็นนาที 4 หมายถึง เวลาที่ใช้ในการทดสอบ เป็นนาที 100 degree C หมายถึง อุณหภูมิที่ใช้ในการทดสอบ [เทคโนโลยียาง] |
Non-reinforcing or inert filler | สารตัวเติมไม่เสริมแรงหรือสารตัวเติมเฉื่อย คือ สารตัวเติมที่เติมลงไปในยางแล้วทำให้ความหนืดของยางเพิ่มขึ้นเล็กน้อย แต่ทำให้สมบัติเชิงกลต่างๆ ของยางคงรูปด้อยลงหรือเปลี่ยนแปลงไปเพียงเล็กน้อย ตัวอย่างสารตัวเติมไม่เสริมแรง ได้แก่ ทัลคัม แคลเซียมคาร์บอเนต และดินขาว [เทคโนโลยียาง] |
Peptizer | สารช่วยในกระบวนการผลิตที่เติมลงไปในยางเพื่อลดความหนืดของยาง โดยการย่อยหรือตัดโมเลกุลของยางโดยทางเคมี (chemical scission) ในขั้นตอนการบดยาง (mastication) ช่วยลดเวลาในการบดยางและทำให้ประหยัดพลังงานในกระบวนการผสมมากขึ้น [เทคโนโลยียาง] |
Processing aid | สารช่วยในกระบวนการผลิต คือ สารตัวเติมที่ใส่ลงไปในยางเพื่อช่วยให้กระบวนการผลิตในขั้นตอนต่างๆ เช่น การผสม (mixing) หรือการขึ้นรูป (shape forming) เป็นไปได้ง่ายยิ่งขึ้น สารบางตัวในกลุ่มนี้ช่วยลดความหนืดของยางคอมพาวด์ ทำให้ยางไหลได้ง่ายยิ่งขึ้น จึงลดระยะเวลาและพลังงานที่ใช้ในการผลิต [เทคโนโลยียาง] |
Softener | สารทำให้ยางนิ่ม คือ วัสดุที่เติมลงไปในยางปริมาณเล็กน้อยแล้วทำให้ความแข็งของยางผสมหรือยางคง รูปลดลงหรือทำให้กระบวนการผลิตเป็นไปได้ง่ายขึ้น (ปรับความหนืดของยางให้ลดลง ทำให้ยางไหลได้ง่ายขึ้น) หรือทำให้สารตัวเติมสามารถเข้าไปผสมกับยางได้ง่ายยิ่งขึ้น [เทคโนโลยียาง] |
Storage hardening | ปรากฏการณ์ที่ความหนืดของยางดิบหรือยางที่ยังไม่ได้ผ่านการคงรูปเพิ่ม ขึ้นระหว่างการเก็บ เนื่องจากหมู่อัลดีไฮด์ (aldehyde group) ที่มีอยู่ในยางธรรมชาติเข้าไปทำปฏิกิริยาควบแน่นกัน เกิดเป็นโครงสร้างสามมิติที่มีการเชื่อมโยง (crosslink) ระหว่างโมเลกุลยางมีผลทำให้ยางแข็งขึ้น [เทคโนโลยียาง] |
Styrene-butadiene rubber | ยางเอสบีอาร์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งผลิตโดยการเตรียมโคพอลิ เมอร์ระหว่างสไตรีนและบิวทาไดอีนด้วยวิธีพอลิเมอไรเซชั่นแบบอิมัลชัน (Emulsion polymerization) มีชื่อเรียกว่า Buna-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1) และ GR-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2) เป็นยางที่ใช้ในงานทั่วไป ราคาไม่แพง มีหลายเกรดขึ้นกับกระบวนการสังเคราะห์ ยางเอสบีอาร์เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติจะมีคุณภาพสม่ำเสมอกว่า มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และที่สำคัญคือ ไม่ต้องบดยางให้นิ่มก่อนทำการผสมเคมียางเนื่องจากยางชนิดนี้ถูกสังเคราะห์มา ให้มีน้ำหนักโมเลกุลที่ไม่สูงมากนัก จึงมีความหนืดที่เหมาะสมทำให้สารเคมีกระจายตัวได้ดี ไหลได้ง่ายในระหว่างการขึ้นรูป มีแนวโน้มที่จะเกิดยางตายในระหว่างกระบวนการผลิตน้อยกว่า มีอัตราเร็วในการคงรูปช้ากว่าและถูกออกซิไดซ์ได้ช้ากว่ายางธรรมชาติ ทำให้สามารถผสมยางในเครื่องผสมระบบปิดที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ แม้ว่ายางเอสบีอาร์จะมีค่าความทนต่อแรงดึงและความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายาง ธรรมชาติ เนื่องจากไม่สามารถเกิดการตกผลึกได้เมื่อถูกยืด แต่ถ้ามีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงลงไปก็สามารถทำให้ค่าดังกล่าวสูงใกล้ เคียงหรือต่ำกว่ายางธรรมชาติเพียงเล็กน้อย สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย เช่น การผลิตสายพาน พื้นรองเท้า ฉนวนหุ้มสายไฟ และส่วนมากจะถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางล้อยานพาหนะขนาดเล็กโดยใช้ผสมกับ ยางชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติ ยางบิวทาไดอีน [เทคโนโลยียาง] |
Viscoelasticity | สมบัติหยุ่นหนืด คือ พฤติกรรมการตอบสนองต่อความเค้นที่กระทำของวัสดุ เช่น พลาสติก ยาง เป็นต้น ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวจะแสดงสมบัติของแข็งที่ยืดหยุ่น (elastic) และของเหลวหนืด (viscous) โดยที่สมบัติทางด้านการเปลี่ยนแปลงรูปร่างดังกล่าวนี้ขึ้นอยู่กับเวลา อุณหภูมิ ความเค้น (stress) และอัตราความเครียด (strain rate) [เทคโนโลยียาง] |
Blood Viscosity | เลือด, ความหนืด;ความหนืดของเลือด [การแพทย์] |
Capillary Viscometers | เครื่องวัดความหนืดชนิดอาศัยการไหลของของเหลวผ่าน [การแพทย์] |
Coefficient of Viscosity | สัมประสิทธิ์ของความหนืด [การแพทย์] |
Consistency | การศึกษาซ้ำแล้วได้ผลใกล้เคียงกัน, ความแข็ง, ความกลมกลืน, ความอ่อน-แข็ง, ความสม่ำเสมอ, ความข้นเหนียว, อย่างคงเส้นคงวา, ความสอดคล้อง, ความคงที่หรือสม่ำเสมอ, ความแน่น, ความข้นหนืด, ความนุ่มแข็ง [การแพทย์] |
Falling Drop Test | การทดสอบความหนืด [การแพทย์] |
kinematic viscosity | kinematic viscosity, ความหนืดจลน์ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
viscosimeter | viscosimeter, เครื่องวัดความหนืด [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
igneous rock | หินอัคนี, หินที่เกิดจากหินหนืดใต้เปลือกโลกซึ่งจะแข็งตัวอยู่ภายในเปลือกโลกหรือพุ่งพ้นเปลือกโลกออกมาบนผิวโลกแล้วเย็นตัวลง หินอัคนีมีหลายชนิดแล้วแต่ลักษณะการเย็นตัวและส่วนผสมของซิลิกา เช่น หินแกรนิต หินบะซอลต์ หินพัมมิช เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
lava | ลาวา, หินหนืดใต้เปลือกโลกที่ไหลออกมาจากการระเบิดของภูเขาไฟ เมื่อเย็นตัวลงจะกลายเป็นหินรูปต่าง ๆ เช่น หินพัมมิช หินออบซิเดียน หินบะซอลต์ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
magma | หินหนืด, แมกมา, หินที่อยู่ภายใต้เปลือกโลกซึ่งอยู่ในสภาพหลอมเหลวและร้อนจัด มีลักษณะข้นและหนืด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
plutonic rock | หินอัคนีระดับลึก, หินอัคนีชนิดหนึ่ง ซึ่งเกิดจากหินหนืดดันตัวแทรกเปลือกโลกขึ้นมาแต่เย็นตัวก่อนถึงผิวโลก หินชนิดนี้อยู่ในระดับลึกมาก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Gelling Agents | สารเพิ่มความหนืด [การแพทย์] |
Inertial Work | งานจากความหนืด [การแพทย์] |
clingy | adj. เหนียวหนืด |
coagulate | (โคแอก'ยะเลท) vt., vi. เปลี่ยนจากของเหลวเป็นก้อนหนาหนืด., See also: coagulability n. ดูcoagulate coagulation n. ดูcoagulate coagulatory adj. ดูcoagulate coagulative adj. ดูcoagulate, Syn. solidify, clot |
coagulum | n. ก้อนหนาหนืด -pl. coagula |
stiff | (สทิฟ) adj. แข็ง, แข็งทื่อ, ตรง, ฝืด, ไม่แคล่วคล่อง, รั้น, เก้งก้าง, แข็งแรง, รุนแรง, มีกำลัง, เด็ดขาด, เข้มงวด, ยาก, ลำบาก, เมา, เหนียว, เหนียวหนืด, แพง. n. ศพ, ซากศพ, ซาก, ขี้เมา, คนเมา, เจ้าหมอนั่นหมอนี่, กรรมกร. adv. ดื้อรั้น, แข็งทื่อ, โดยสมบูรณ์, อย่างรุนแรง, อย่างสุดขีด |
stiffen | (สทีฟ'เฟิน) vt. ทำให้แข็ง, ทำให้แข็งทื่อ, ทำให้ตรง, ทำให้แน่น, ทำให้เหนียวหนืด vi. กลายเป็นแข็งทื่อ, แข็งแกร่ง, ดื้อรั้น., See also: stiffener n., Syn. harden, solidify, firm |
viscid | (วิส'ซิด) adj. เหนียว, หนืด., See also: viscidity n. viscidness n., Syn. viscous |
viscoid | (วิส'คอยดฺ) adj. ค่อนข้างเหนียว, ค่อนข้างหนืด., Syn. viscoidal |
viscosity | (วิสคอส'ซิที) n. ความเหนียว, ความหนืด, หน่วยวัดความหนืด |
viscous | (วิส'เคิส) adj. เหนียว, หนืด, ทำให้ติดแน่น., Syn. viscose |